บริษัทล้มละลาย กรรมการ รับผิดชอบ อะไรบ้าง

ว่า “หุ้น” นั้นคือ ตราสารที่ออกให้กับผู้ถือ ซึ่งก็คือตัวเราหรือใครก็ได้ที่เอาเงินไปลงทุนในบริษัทนั้นๆ ดังนั้นจึงทำให้เรามีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ ซึ่งจะมีส่วนได้เสียและสิทธิในทรัพย์สินหรือรายได้ของบริษัท  และตลอดจนการได้รับเงินปันผลมาด้วยหากกิจการบริหารงานแล้วมีกำไร ซึ่งจะมากหรือน้อยก็แล้วแต่นโยบายของบริษัท แต่หุ้นก็ยังแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ หุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิ โดยทั้งสองประเภทก็มีส่วนได้เสียไม่เหมือนกัน เราไปดูหุ้นทั้งสองประเภทกันดีกว่าว่าเป็นแบบไหนกันบ้าง

คือ ตราสารที่บริษัทมหาชนต่างๆ ต้องการระดมเงินทุนจากประชาชน ก็เลยนำหุ้นของบริษัทตัวเองมาขายให้บุคคลทั่วไปได้ซื้อหาไว้เป็นเจ้าของ โดยผู้ถือหุ้นสามัญจะมีสิทธิร่วมเป็นเจ้าของบริษัท มีสิทธิในการออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนของจำนวนหุ้นที่ถือไว้ เช่น การออกเสียงในการเพิ่มทุน การจ่ายเงินปันผล หรือการควบรวมกิจการ เป็นต้น อีกทั้งผู้ถือหุ้นสามัญยังมีสิทธิได้รับเงินปันผลหากบริษัทมีกำไร มีโอกาสได้รับส่วนต่างของราคาหุ้นที่เพิ่มขึ้น หรือแม้แต่มีโอกาสได้รับสิทธิในการจองซื้อหุ้นใหม่เมื่อบริษัทที่เรามีหุ้นอยู่นั้นทำการเพิ่มทุน

  • หุ้นบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock)

เป็นตราสารแสดงความเป็นเจ้าของในกิจการหรือบริษัทเหมือนกับหุ้นสามัญ แต่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ์ไม่มีสิทธิที่จะออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่ก็มีสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลเช่นเดียวกันกับผู้ถือหุ้นสามัญ อาจจะมากหรือน้อยกว่าก็แล้วแต่นโยบายของบริษัท แต่ที่สำคัญคือ หากบริษัทเลิกกิจการไปแล้ว และเมื่อมีเงินเหลือเพียงพอหลังจากจ่ายชำระคืนให้กับเจ้าหนี้หมดทุกรายแล้ว ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ์จะได้รับเงินส่วนที่เหลือก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ

แต่อย่าลืมหุ้นอีกประเภทหนึ่ง คือ หุ้นกู้ ที่บริษัทได้มีการระดมเงินทุนจากประชาชนทั่วไปเช่นเดียวกับหุ้นสามัญ แต่สถานะของผู้ถือหุ้นกู้จะถือเป็นเจ้าหนี้ของบริษัท ผู้ถือหุ้นกู้ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพราะไม่ได้เป็นเจ้าของ และผู้ถือหุ้นกู้จะได้รับผลตอบแทนจากบริษัทที่ออกหุ้นกู้ คือ ดอกเบี้ย นั่นเอง

ดังนั้นกับคำถามที่ว่าหากเราถือหุ้นของบริษัทที่กำลังจะเลิกกิจการ ไม่ว่าจะเลิกกิจการด้วยเหตุผลทางกฎหมายหรือด้วยความเต็มใจของผู้ถือหุ้นทั้งหมด สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาสำหรับผู้ถือหุ้นประเภทต่างๆ

คือ เมื่อบริษัทแจ้งความประสงค์และจดทะเบียนเลิกกิจการกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเรียบร้อยแล้ว บริษัทก็จะแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี เพื่อมาทำการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินทั้งหมดของบริษัท หากมีลูกหนี้อยู่ก็ตามเก็บหนี้มาให้ครบ ถ้ามีทรัพย์สินที่ไม่ต้องการก็ต้องนำออกขายให้หมด

จากนั้นจะต้องนำเงินที่มีทั้งหมดมาจ่ายให้เจ้าหนี้การค้าก่อน ถ้าบริษัทมีการออกหุ้นกู้ที่ยังไม่ครบกำหนดชำระเงินคืนก็จะต้องนำเงินไปคืนให้กับผู้ถือหุ้นกู้เป็นลำดับถัดมา เหลือเงินเท่าไรก็ค่อยแบ่งคืนให้กับผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ สุดท้ายถ้ายังมีเงินเหลือก็ถึงจะให้กับผู้ถือหุ้นสามัญ ซึ่งก็คือ เราหรือคนอื่นๆ ที่มีการซื้อหุ้นของบริษัทนั้นไว้นั่นเอง แต่ถึงอย่างไรก่อนที่บริษัทจะปิดกิจการไปก็มักจะมีข้อมูลข่าวสารออกมาเป็นระยะๆ ให้เราเลือกตัดสินใจขายหุ้นทิ้งในราคาที่อาจจะไม่สวยหรูสักเท่าไร แต่ก็อาจจะดีกว่าถือไว้จนเลิกกิจการแล้วไม่ได้อะไรเลย

username/password ไม่ถูกต้อง กรุณาทำการกรอกใหม่

session ของการเข้าสู่ระบบได้สิ้นสุดแล้ว กรุณา reload หน้าเว็บอีกครั้งและเข้าสู่ระบบใหม่อีกครั้ง

ท่านได้เข้าสู่ระบบอยู่แล้ว กรุณาออกจากระบบก่อนหากท่านต้องการเปลี่ยน user

  ��ػ��� ����繡�����ú���ѷ����դ�������§�����ҧ�Ф�Ѻ �����Ҩ��ͧ�Ѻ�Դ��ͺؤ������������ҷӸ�áԨ�Ѻ����ѷ ��з�駵�ͺ���ѷ��м������鹢ͧ����ѷ�ͧ���� �Ҩ���·���Թ ���·������ ���˹觴������ ������Ѻ�Դ�ͺ��������ѹ�������������������¤�Ѻ �ѧ��� ��͹ŧ�����ͪ�����͡�������� ������ͺ�ͺ ��ҹ��͹�ѡ�Դ�֧�Ф�Ѻ

ณัฐชา ส.ส.บางขุนเทียน และณัฐพงษ์ ส.ส.บางแค ของพรรคก้าวไกล ปูดไว้ตั้งแต่เมื่อกลางเดือนแล้ว ให้ชาวเน็ตระวังไว้ให้จงดี “ประกาศกระทรวงฉบับนี้ แม้ยังไม่ถูกบังคับใช้ แต่ก็ไม่สามารถทราบได้เลยว่าจะถูกใช้ในลักษณะใด”

สอง ส.ส.แจ้งว่า กรรมาธิการพัฒนาการเมืองฯ เคยได้รับการร้องเรียนจากสื่อมวลชนว่าถูกกีดกัน “ไม่สามารถใช้สิทธิเสรีภาพในการทำข่าว” เห็นได้จากช่วงหลังนี่ ไอทู้บนายกฯ ขี้ฉุน กลับมาแสดงอารมณ์เสียใส่พวกนักข่าวบ่อยๆ อีกแระ

บริษัทล้มละลาย กรรมการ รับผิดชอบ อะไรบ้าง

จึงไม่แปลกที่ “ผู้สื่อข่าวประจำทำเนียบรัฐบาล ตั้งฉายารัฐบาลประจำปี ๒๕๖๕ ว่า หน้ากากคนดี” ส่วนตัว พล.อ.ประยุทธ์ เอง ได้รับฉายาน่าขยะแขยง ว่า แปดเปื้อนอันนี้ @weeranan นักข่าวว้อยซ์ทีวี ให้คำอธิบาย ทั้งที่ ขี้ตู่ ยกก้นตนเองเป็นคนดีย์เสมอ

เมื่อปัญหาใต้พรมถูกขุดคุ้ยขึ้น ใกล้ตัวเกินกว่าจะปัดความเกี่ยวโยงได้...แม้แต่นักการเมืองใกล้ตัว นายทหารใกล้ชิด ที่ได้ไปนั่งอยู่ในบอร์ดบริหารบริษัทพลังงาน แม้พิสูจน์กันทางกฎหมายไม่ได้ แต่ก็ทำให้ถูกมองว่า ไม่ได้ใสสะอาด ผุดผ่องอีกต่อไป”

 พวกรัฐมนตรีลิ่องจักรซักล้าง ดอน ปรมัตถ์วิลัย –ลุ่มๆ ดอนๆ สุพัฒน์พงษ์ พันธุ์มีเชาว์ –Powerblank สุชาติ ชมกลิ่น –รัฐมนตรีแรงลิ้น เป็นต้น

สำหรับประกาศกระทรวงดิทัลนั่น ส.ส.ก้าวไกลชี้ความไม่ชอบมาพากล ว่าเป็นการประกาศโดยไม่ผ่านสภา ลักไก่ใช้อำนาจ “ปิดปากประชาชน” แม้กฎหมายเดิม (ปี ๖๐) จะมีเนื้อหาทำนองนี้ แต่ให้เวลา ๗ วัน นี่ประกาศใหม่ให้ลบข้อมูลภายใน ๒๔ ชั่วโมง

เมื่อดูเนื้อหาในประกาศฉบับใหม่นี่แล้ว “อาจขัดรัฐธรรมนูญ” เพราะข้อ ๙ ในประกาศบ่งถึงความจงใจ เอาผิด ผู้ประกอบการ เจ้าของแพล้ทฟอร์ม ตรงก้าวไกลเขาว่า

กรรมการ บริษัท มีความรับผิดชอบอะไรบ้าง

กรรมการบริษัทต้องรับผิด ในการกระทำของตนเพียงใดอยู่กับข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยกรรมการต้องรับผิดชอบ ดังนี้ 1.รับผิดชอบต่อบริษัท 2.รับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น 3.รับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก

บริษัทเป็นหนี้ใครรับผิดชอบ

ผู้ถือหุ้นในบริษัทจำกัดรับผิดในมูลหนี้ของบริษัทเฉพาะมูลค่าหุ้นที่ยังส่งใช้ไม่ครบ ส่วนกรรมการบริษัทจะรับผิดในมูลหนี้ของบริษัทอย่างไรนั้นให้ดูข้อเท็จจริงว่า การที่กรรมการไปก่อหนี้ดังกล่าวนั้นได้กระทำในฐานะส่วนตัวหรือกระทำในนามตัวแทนของบริษัท ซึ่งผู้ถือหุ้นได้ให้ความเห็นชอบแล้ว หากข้อเท็จจริงปรากฏว่ากรรมการได้กระทำในนาม ...

เป็นกรรมการบริษัท เสี่ยงไหม

สรุปว่า การเป็นกรรมการบริษัทนั้นมีความเสี่ยงอยู่บ้างนะครับ เพราะอาจต้องรับผิดต่อบุคคลอื่นๆที่เข้ามาทำธุรกิจกับบริษัท และทั้งต่อบริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัทเองด้วย อาจเสียทั้งเงิน เสียทั้งเวลา ตำแหน่งดูโก้หรู แต่ความรับผิดชอบที่ตามมามันก็ไม่ใช่น้อยๆเลยใช่มั้ยครับ ดังนั้น ก่อนลงลายมือชื่อในเอกสารใดๆก็ตาม ดูให้รอบคอบ อ่าน ...

ฟ้อง บริษัท ฟ้อง ใคร ได้บ้าง

ผู้ที่มีอำนาจฟ้องกรรมการให้รับผิดในทางแพ่ง มี 2 คน คือ 1. บริษัทสามารถฟ้องเรียกร้องค่าเสียจากกรรมการได้ 2. ถ้าบริษัทไม่ฟ้อง ผู้ถือหุ้น คนใดคนหนึ่งสามารถฟ้องกรรมการให้รับผิดต่อบริษัทได้ โดยในการฟ้องของผู้ถือหุ้น ฟ้องได้ 2 แบบ คือ 1.1 การฟ้องคดีด้วยสิทธิของตนเอง