การพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธ

พุทธศาสนานั้นช่างวิเศษสุดจริง ๆ ไม่ว่าเรื่องใดก็สามารถนำมาปรับใช้ได้แม้กระทั่งเรื่องสิ่งแวดล้อม กล่าวคือ มนุษย์ต้องมีทัศนคติและความสำนึกในจิตใจที่สมดุลหรือรู้จักพอ

ความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมจึงจะเป็นผล ซึ่งหนังสือเล่มนี้จะแสดงให้เห็นความสำคัญของมิติด้านจิตใจที่ลึกซึ้งทางพระพุทธศาสนาเป็นกรณีศึกษา เช่น

ความไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ความมีสัจจะ ความมีจริยธรรมตลอดจนความรักในธรรมชาติล้วนมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง นอกจากนี้ยังมีบทบรรยายธรรมที่ทรงคุณค่าของ

ท่านพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี และแพทย์หญิง ดร.อมรา มลิลา ที่จะเอื้อประโยชน์ให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงหลักธรรมและแนวทางปฏิบัติเชิงพุทธได้อย่างถ่องแท้ยิ่งขึ้น

        6 ทฤษฎีทั้งสองไม่ได้เป็นเศรษฐกิจแบบระบบปิด ที่รัฐบาลของ เผด็จการนิยมทำกันด้วยการปิดประเทศของตนเอง เพื่อต้องการตัดการติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศ ด้วยเหตุผลทางการเมือง เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่เศรษฐกิจแบบทุนนิยมและบริโภคนิยม ที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมการบริโภคที่ไร้ขอบเขตจนเกิดการทำลายธรรมชาติ ซึ่งส่งผลให้เกิดก่อให้เกิดพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ 

พระพุทธศาสนากับการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

การพัฒนาแบบยั่งยืน  เป็น ขบวนการสร้างความเที่ยงธรรมความมีประสิทธิภาพและโครงสร้างที่มีส่วนร่วม เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งด้านต่างๆให้กับชุมชนและภูมิภาคโดยรอบ

การพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธ

ลักษณะทั่วไปของการพัฒนาแบบยั่งยืน

* คนสัมพันธ์กับคนอย่างมีความสุด (ไม่มีมัจฉริยะ ๕)

* คนสัมพันธ์กับสังคมอย่างมีความสุข (วิพรหมหาร ๔)

* คนสัมพันธ์กับธรรมที่จริงแท้อย่างรู้ดท่ากัน

* คนสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน

* คนสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีสติ

การพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธ

การพัฒนาอย่างยั่งยืนมีองค์ประกอบพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน   คือ

1. สิ่งแวดล้อม  ทำให้มีมากขึ้นจาการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และอนุรักษ์ทรัพยากรพื้นฐาน                                 2. สังคม  จัดสรรความเท่าเทียมกันในการใช้ทรัพยากรที่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่เพียงพอและจำกัดจำนวนประชากร

3. เศรษฐกิจ ควรเติบโตอย่างเหมาะสมไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและความสมดุลในระบบนิเวศ

เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการสร้างความสมดุลระหว่างองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่                                              1. การพัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูระบบนิเวศ

การพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธ

สังขารทั้งหาย ไม่เที่ยง

พัฒนายังไง ก็ยั่งยืนไม่นานครับ

คนดี สำคัญกว่า คนเก่งนะครับ

คนดี 100 คน เก่งเล็กน้อย ถึงแม้เจริญน้อย แต่สังคมไม่วุ้นวาย

คนเก่ง 1 คน แต่เลว ถึงจะทำให้เจริญเร็ว สังคมก็วุ้นวายไม่สิ้นสุด

ข้อใดคือลักษณะการพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธ

การพัฒนา แบบยั่งยืน การพัฒนาแบบยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คนสัมพันธ์กับคนอย่างมีความสุข โดยปราศจากการเห็นแก่ตัว คนสัมพันธ์กับธรรมที่แท้จริง ไม่เชื่องมงายจนคลั่งลัทธิศาสนา คนสัมพันธ์กับสังคมอย่างมีความสุข โดยมีหลักธรรมปฏิบัติในชีวิตประจ าวัน ชีวิตประจ าวัน

การพัฒนาแบบยั่งยืนหมายความว่าอย่างไร และการพัฒนาแบบยั่งยืนเชิงพุทธควรมีลักษณะอย่างไร

การพัฒนาแบบยั่งยืน Sustainable Development หมาย ถึง “รูปแบบของการพัฒนาที่สนองความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบันโดยไม่ทำให้คนรุ่น ต่อไปในอนาคต ต้องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการที่จะตอบสนองความต้องการของตนเอง” การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

หลักธรรมใดในพระพุทธศาสนามาใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนในสังคมไทย

นอกจากนี้หลักธรรมะในพุทธศาสนา ที่สามารถน ามาประยุกต์เพื่อช่วยในการให้เกิด การพัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่ มรรคมีองค์แปดใน อริยสัจสี่ที่เป็นหลักปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์ หากน้อมน ามาปฏิบัตินั้นจะน ามาซึ่งความสุข สงบทั้งทางร่างกายและจิตใจได้ เช่น หลักปฏิบัติ ของมรรคมีองค์๘๖ บางข้อที่ครอบคลุมและ เกี่ยวข้องกับลักษณะแนวทางการ ...

การพัฒนาแบบยั่งยืนมีความหมายว่าอย่างไร

“การพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ท าให้คนรุ่นต่อไปในอนาคตต้องประนีประนอมยอมลดทอนความสามารถในการที่จะ ตอบสนองความต้องการของตนเอง