ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

สามารถทำประกันภัย พ.ร.บ. ได้ที่ บริษัทกลางฯทุกสาขาทั่วประเทศ/ ที่ตัวแทนประกันภัย/ ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11 และ ที่ธนาคารเพื่อการเกษตร (ธ.ก.ส.) ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ สามารถทำพ.ร.บ.ออนไลน์ได้ที่ Line @iRVP ลิงค์ https://lin.ee/nqn660A

Show
ทำประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง

เอกสารที่ต้องเตรียมคือ
    1. สำเนาทะเบียนรถ

    2. บัตรประจำตัวประชาชน

กรณีเจ้าของรถจักรยานยนต์ไม่สามารถไปทำ พ.ร.บ.ด้วยตัวเอง ฝากให้คนอื่นทำแทนได้หรือไม่ ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง

การจัดทำประกันภัย พ.ร.บ. สามารถทำได้ง่ายนิดเดียว

โดย ผู้ขอซื้อเป็นเป็นใครก็ได้ แต่สำหรับกรณีของ  ผู้เอาประกันภัยต้องมีการแสดงตนว่าใครเป็นผู้เอาประกันภัย

เพื่อเป็นข้อมูลที่ถูกต้องในหน้าตารางกรมธรรม์ พ.ร.บ.
เอกสารที่ต้องเตรียมคือ
    1. สำเนาทะเบียนรถ
    2. บัตรประจำตัวประชาชน

จะนำส่วนไหนของ พ.ร.บ.ไปใช้ในการต่อภาษี

สามารถฉีกส่วนท้าย หรือส่วนหาง พ.ร.บ. เพื่อนำไปต่อภาษีที่กรมการขนส่งทางบกได้

รถเก่า ทำประกันภัย พ.ร.บ.ได้หรือไม่

รถเก่าสามารถทำประกันภัยพ.ร.บ.ได้ โดยต้องเตรียมเอกสารดังนี้

    1.สำเนาทะเบียนรถ

    2. บัตรประชาชน หากไม่มีสำเนาทะเบียนรถสามารถนำรถไปให้เจ้าหน้าที่ขูดเลขตัวถังรถเพื่อยืนยันว่าเป็นรถคันที่เอาประกันภัยเพียงเท่านี้ก็สามารถ
ทำพ.ร.บ.ได้

เจ้าของรถที่ไม่ทำประกันภัยพ.ร.บ.มีโทษหรือไม่ อย่างไร

การทำประกันภัย พ.ร.บ. คือ การประกันภัยภาคบังคับ  หน้าที่ของเจ้าของรถทุกคันต้องจัดทำ ถ้าฝ่าฝืนมีโทษปรับ สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท

ขั้นตอนการทำประกันภัย พ.ร.บ.รถจักรยานยนต์ง่ายๆ ที่ Line @iRVP

1. เพิ่มเพื่อน โดยการแอดไลน์ @iRVP

2. คลิกไปที่เมนู “ ซื้อพ.ร.บ.”  กดที่ภาพอินโฟ ซื้อพ.ร.บ.ที่แสดงบนหน้าจอ 

3. กดเลือกขนาดเครื่องยนต์ของรถจักรยานยนต์   หน้าจอมือถือจะแสดงรายละเอียดความคุ้มครอง เลื่อนหน้าจอลงด้านล่าง กด “ซื้อ พ.ร.บ.”

4. ลงทะเบียน รายละเอียดผู้ซื้อ รายละเอียดรถจักรยานยนต์ กด ถัดไป จนถึงหน้ายืนยันข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว กด ยืนยันข้อมูล

5. เลือก วิธีชำระเงิน และชำระเงิน

6. ตรวจสอบความคุ้มครอง กดที่เมนู  “พ.ร.บ.ของฉัน”  หากการลงทะเบียนนั้นมีเลขบัตรประชาชนตรงกับที่เคยทำ พ.ร.บ. กับบริษัทกลางฯ ไว้  ระบบจะแสดงข้อมูลกรมธรรม์ที่เป็นปัจจุบัน โดยอัติโนมัติ

7. เอกสารกรมธรรม์ จะถูกส่งไปทางเมลที่ลูกค้าลงทะเบียนไว้

ผู้เอาประกันภัย รถจักรยานยนต์ ที่ทำประกันภัย พ.ร.บ. กับ บริษัทกลางฯ จะตรวจสอบระยะเวลาความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. ด้วยตนเองได้อย่างไร ?

กรณีผู้เอาประกันภัยที่เคยลงทะเบียนผ่านไลน์ @iRVP สามารถตรวจสอบระยะเวลาความคุ้มครองของ พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ได้ที่เมนู พ.ร.บ.ของฉัน หรือ หากผู้เอาประกันภัยยังไม่เคยลงทะเบียนผ่านไลน์ ให้ทำการ เพิ่มเพื่อน โดยค้นหาไอดีไลน์ @iRVP เพื่อลงทะเบียน เมื่อยืนยันตัวตน จะสามารถตรวจสอบความคุ้มครองได้ที่เมนู พ.ร.บ. ของฉัน เช่นกัน

การทำประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ออนไลน์ผ่านช่องทางไลน์แอด @iRVP หรือช่องทาง www.rvp.co.th ผู้ซื้อจะได้รับเอกสารกรมธรรม์ทางอีเมล์ที่ลงทะเบียนไว้ โดยคุณลูกค้าสามารถปริ้นเอกสารกรมธรรม์เพื่อนำไปต่อภาษีประจำปี หรือเก็บเป็นหลักฐานได้

แจ้งเพื่อทราบ: พรบ.มอเตอร์ไซค์ หากผลิตแล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้ กรณีต้องการแก้ไข ลูกค้าต้องส่งเอกสารตัวจริงกลับมาเพื่อยกเลิกและออกใหม่เท่านั้น กรณีออกใหม่ ไม่สามารถคุ้มครองย้อนหลังได้ เพื่อลดความผิดพลาดให้น้อยที่สุด กรุณาตรวจทานข้อมูลต่างๆ เช่น ทะเบียนรถ เลขตัวถัง ฯลฯ ให้ถูกต้อง ตอนกรอกข้อมูลสั่งซื้อ

  • เราขายเฉพาะ พรบ. ไม่มีบริการต่อภาษีครับ (ไม่มีป้ายสี่เหลี่ยม/ป้ายวงกลมให้)
  • หากลูกค้าต้องการใบกำกับภาษีเต็มรูปแบบ ลูกค้าต้องนำกรมธรรม์ตัวจริงที่ได้รับ ไปขอที่บริษัทกลางฯ สาขาใดก็ได้ (ข้อแนะนำ: กรณีนี้ไปซื้อที่บริษัทกลางฯ ด้วยตัวเองอาจสะดวกกว่า)
  • ให้บริการได้เฉพาะบุคคลธรรมดา ไม่สามารถให้บริการผู้เอาประกันที่เป็นนิติบุคคล, บริษัท, หน่วยงานราชการ, วัด, ฯลฯ ได้ในขณะนี้
ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ
คุณอาจสนใจ

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ
เราไม่มีบริการต่อภาษี ต้องขออภัยด้วยครับ


ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ
  • ชำระเงินสะดวกที่สุดด้วย PayPal บัตรเครดิต หรือ โอนเงินเข้าบัญชี
  • กรอกข้อมูลครบถ้วน ไม่ต้อง fax เอกสารใดๆ รอรับ พ.ร.บ. ที่บ้านได้เลย
  • จัดส่งฟรี ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
<< กลับไปหน้าที่แล้ว

พรบ รถยนต์ หรือ ประกันรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance) คือ ประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ 5 เมษายน 2536 โดยกำหนดให้รถยนต์รวมถึงรถจักรยานยนต์ทุกคัน ทุกชนิดที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบก และรถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ ไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น ต้องทำประกันภัยภาคบังคับตาม พรบ รถยนต์ นี้

ทำไมถึงต้องทำ พ.ร.บ. รถยนต์

เพื่อคุ้มครองตัวเรา คู่กรณี ผู้โดยสาร และบุคคลภายนอก ที่ประสบอุบัติเหตุจากการใช้รถซึ่งให้ความคุ้มครองในรูปแบบของเงินชดเชย และค่าดูแลรักษาพยาบาลตามที่กำหนด ไม่ว่าจะซื้อพรบ หรือ ต้องการต่อพรบรถยนต์ ที่วิริยะประกันภัย เรามีแผนความคุ้มครองให้เลือกอย่างเหมาะสมตามด้านล่างนี้

ตารางความคุ้มครอง

ความคุ้มครอง

จำนวนเงินจำกัดความรับผิด

คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น ได้รับเลยไม่รอการพิสูจน์ถูก/ผิด

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)30,000 บาท- การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง35,000 บาท

คุ้มครองค่าเสียหายที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น จะได้รับหลังจากพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นผู้ที่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)80,000 บาท- การเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง500,000 บาท- การสูญเสียอวัยวะ200,000 - 500,000 บาท- ค่าชดเชยรายวัน (จ่ายตามจำนวนวันที่เข้ารักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน)

200 บาท/วัน (สูงสุดไม่เกิน 20วัน)

 

  • *จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุด ไม่เกิน 500,000 บาทต่อคน
  • *วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง ไม่เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 5,000,000 บาท/ครั้ง
  • *วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 10,000,000 บาท/ครั้ง

เงื่อนไขและความคุ้มครอง กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ คลิก

ไขข้อข้องใจ ประกันรถยนต์

รถชนิดใดบ้างที่ต้องทำประกันรถยนต์ภาคบังคับ (พ.ร.บ.)

รถทุกชนิดที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบก ไม่ว่าจะเป็นรถส่วนบุคคล รถโดยสาร รถบรรทุก รถราชการ รถบดถนน รถอีแต๋น รถพ่วง และรถที่ใช้พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทน ต้องทำประกันรถยนต์ภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ทั้งหมด

ทำไมต้องซื้อประกันรถยนต์ภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ผ่านออนไลน์

วิริยะประกันภัย มีผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่หลากหลาย คุ้มค่า คุ้มครอง ครอบคลุมทุกความต้องการ ตอบสนองทุกการใช้ชีวิต ซื้อง่ายๆ ใน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เช็คเบี้ยประกันภัยและความคุ้มครอง ขั้นตอนที่ 2 กรอกรายละเอียด ขั้นตอนที่ 3 ชำระเบี้ยประกันภัย รอรับกรมธรรม์ตามรูปแบบที่ระบุ

การจัดส่งกรมธรรม์

ท่านจะได้รับกรมธรรม์หลังจากชำระเงินเรียบร้อยแล้ว โดยจัดส่งตามรายละเอียดข้อมูลที่ระบุในขั้นตอนการซื้อ สำหรับลูกค้าที่เลือกรับกรมธรรม์อิเล็กทรอนิกส์ ท่านจะได้รับกรมธรรม์ในทันที วิริยะประกันภัยขอขอบคุณที่ท่านร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ

ช่องทางการชำระเงิน

ลูกค้าที่ซื้อประกันรถยนต์ภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ผ่านออนไลน์ เลือกช่องทางการชำระเงินได้ดังนี้

  1. ชำระด้วย บัตรเดรดิต Visa / MasterCard
  2. ใช้ Rabbit Line Pay จากโปรแกรม LINE
  3. สแกน QR Code เพื่อชำระผ่าน Mobile Application ของสถาบันการเงินต่างๆ ที่รองรับ

ช่องทางการแจ้งอุบัติเหตุ

กรณีประสบอุบัติเหตุ ท่านสามารถติดศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์วิริยะประกันภัย หมายเลขโทรศัพท์ 1557 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

เงื่อนไขการยกเลิกกรมธรรม์

กรณีผู้เอาประกันภัยบอกยกเลิกกรมธรรม์

  • กรณีแจ้งยกเลิกกรมธรรม์ในวันเดียวกับที่ซื้อและแจ้งให้บริษัทฯทราบไม่เกิน 17.00 น. เมื่อบริษัทฯได้รับเอกสารพร้อมตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว จะดำเนินการประสานงานกับธนาคารเจ้าของบัตรเครดิตให้ปรับยอดคืนเครดิตให้กับท่าน ทั้งนี้เป็นไปตามเงื่อนไขของบริษัทฯ และธนาคารที่ท่านใช้บริการ
  • กรณีแจ้งยกเลิกโดยที่กรมธรรม์ยังไม่เริ่มคุ้มครอง ท่านจะได้รับการคืนเบี้ยประกันภัยภายใน 7 วันทำการ ทั้งนี้หลังจากที่บริษัทฯได้รับเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว
  • กรณีแจ้งยกเลิกโดยที่กรมธรรม์เริ่มความคุ้มครองแล้ว บริษัทฯจะคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบี้ยประกันภัยตามระยะเวลาที่กรมธรรม์ใช้บังคับ แล้วคืนเบี้ยประกันภัยตามสัดส่วนให้ตรงตามเงื่อนไขของกรมธรรม์ โดยท่านจะได้รับการคืนเบี้ยประกันภัยภายใน 7 วันทำการ ทั้งนี้หลังจากที่บริษัทฯได้รับเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว

 

กรณีบริษัทเป็นฝ่ายยกเลิกกรมธรรม์

บริษัทฯจะส่งหนังสือบอกกล่าวไม่น้อยกว่า 30 วัน ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้เอาประกันภัย และจะคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบี้ยประกันภัยตามสัดส่วนที่ระบุตามเงื่อนไขกรมธรรม์

* หมายเหตุ บริษัทฯขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และการยกเลิกกรมธรรม์จะพิจารณาเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกำหนดของกรมธรรม์นั้นๆ ที่บริษัทฯได้จัดทำขึ้นและถือเป็นที่สิ้นสุด

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur consectetur consectetur sit amet.

Posted at 04 Feb, 2017

ให้คุณท่องเที่ยวสุขใจไร้กังวลด้วยเบี้ยประกันภัยเริ่มต้นเพียง 165 บาท ให้คุณท่องเที่ยวสุขใจไร้กังวลด้วยเบี้ยประกันภัยเริ่มต้นเพียง ให้คุณท่องเที่ยวสุขใจไร้กังวลด้วยเบี้ยประกันภัยเริ่มต้นเพียง

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur.

Posted at 04 Feb, 2017

ซื้อประกันภัยอุบัติเหตุช่วงสงกรานต์ รับฟรี! ถุงผ้ารักษ์โลก

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur.

Posted at 04 Feb, 2017

คุ้มค่า! เดินทางเที่ยวต่างประเทศได้ไร้กังวล

×

รายละเอียดของรถยนต์

ปีที่จดทะเบียน : ยี่ห้อรถยนต์ : รุ่นรถยนต์ :

  • ปีที่จดทะเบียน
  • ยี่ห้อรถยนต์
  • รุ่นรถยนต์

2022 (พ.ศ.2565)

2021 (พ.ศ.2564)

2020 (พ.ศ.2563)

2019 (พ.ศ.2562)

2018 (พ.ศ.2561)

2017 (พ.ศ.2560)

2016 (พ.ศ.2559)

2015 (พ.ศ.2558)

2014 (พ.ศ.2557)

2013 (พ.ศ.2556)

2012 (พ.ศ.2555)

2011 (พ.ศ.2554)

2010 (พ.ศ.2553)

2009 (พ.ศ.2552)

2008 (พ.ศ.2551)

เช็คเบี้ย

×

รายละเอียดการเดินทาง

วันเริ่มต้นเดินทาง : วันสิ้นสุดเดินทาง : ประเทศปลายทาง :

  • วันเริ่มต้นเดินทาง
  • วันสิ้นสุดเดินทาง
  • ประเทศปลายทาง

เช็คเบี้ย

×

ยานพาหนะของคุณเป็นประเภทไหน?

รถเก๋ง / กระบะ 4 ประตู

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

สำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ไม่เกิน 7 คน (รย.1)

รถกระบะตอนครึ่ง

(บรรทุกไม่เกิน 3 ตัน)

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

สำหรับรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (รย.3)

รถตู้

(จดทะเบียนมากกว่า 7 ที่นั่ง)

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

สำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2)

ซื้อ พรบ ออนไลน์ รถจักรยานยนต์ วิริยะ

หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติมติดต่อได้ที่ : 0 2129 7474

×

รถเก๋ง/กระบะ 4 ประตู

645 บาท

ประกันภาคบังคับ (พ.ร.บ.)

ความคุ้มครอง

จำนวนเงินจำกัดความรับผิด

คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น ได้รับเลยไม่รอการพิสูจน์ถูก/ผิด

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)30,000 บาท- การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง35,000 บาท

คุ้มครองค่าเสียหายที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น จะได้รับหลังจากพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นผู้ที่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)80,000 บาท- การเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง500,000 บาท- การสูญเสียอวัยวะ200,000 - 500,000 บาท- ค่าชดเชยรายวัน (จ่ายตามจำนวนวันที่เข้ารักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน)200 บาท/วัน (สูงสุดไม่เกิน 20วัน)

* จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุด ไม่เกิน 500,000 บาทต่อคน

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง ไม่เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 5,000,000 บาท/ครั้ง

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 10,000,000 บาท/ครั้ง

×

รถกระบะ 2 ประตู(ไม่เกิน 3 ตัน)

967 บาท

ประกันภาคบังคับ (พ.ร.บ.)

ความคุ้มครอง

จำนวนเงินจำกัดความรับผิด

คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น ได้รับเลยไม่รอการพิสูจน์ถูก/ผิด

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)30,000 บาท- การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง35,000 บาท

คุ้มครองค่าเสียหายที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น จะได้รับหลังจากพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นผู้ที่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)80,000 บาท- การเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง500,000 บาท- การสูญเสียอวัยวะ200,000 - 500,000 บาท- ค่าชดเชยรายวัน (จ่ายตามจำนวนวันที่เข้ารักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน)200 บาท/วัน (สูงสุดไม่เกิน 20วัน)

* จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุด ไม่เกิน 500,000 บาทต่อคน

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง ไม่เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 5,000,000 บาท/ครั้ง

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 10,000,000 บาท/ครั้ง

×

รถตู้(จดทะเบียนมากกว่า 7 ที่นั่ง)

1,182 บาท

ประกันภาคบังคับ (พ.ร.บ.)

ความคุ้มครอง

จำนวนเงินจำกัดความรับผิด

คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น ได้รับเลยไม่รอการพิสูจน์ถูก/ผิด

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)30,000 บาท- การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง35,000 บาท

คุ้มครองค่าเสียหายที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น จะได้รับหลังจากพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นผู้ที่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

- ค่ารักษาพยาบาล (ตามจริง)80,000 บาท- การเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง500,000 บาท- การสูญเสียอวัยวะ200,000 - 500,000 บาท- ค่าชดเชยรายวัน (จ่ายตามจำนวนวันที่เข้ารักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน)200 บาท/วัน (สูงสุดไม่เกิน 20วัน)

* จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุด ไม่เกิน 500,000 บาทต่อคน

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง ไม่เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 5,000,000 บาท/ครั้ง

* วงเงินความรับผิด สำหรับรถยนต์นั่ง เกิน 7 ที่นั่งรวมผู้ขับขี่ ไม่เกิน 10,000,000 บาท/ครั้ง

×

กรุณากรอกข้อมูลติดต่อกลับ

* ชื่อ

* นามสกุล

* เบอร์โทรศัพท์

* อีเมล

* ช่วงเวลาให้ติดต่อกลับ

ข้าพเจ้ายินยอมให้ บมจ.วิริยะประกันภัย ทำการเก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลที่ข้าพเจ้าให้ไว้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการนำเสนอขายผลิตภัณฑ์อื่นๆ และ/หรือนำเสนอสิทธิประโยชน์อื่นๆ แก่ข้าพเจ้าได้