วิธีคํานวณเงินบริจาค นิติบุคคล

ข้อควรทราบเกี่ยวกับการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา (หักลดหย่อนภาษีได้สองเท่า)

ผู้รับบริจาค สิทธิบริจาค สิทธิประโยชน์ หมายเหตุ
บุคคลธรรมดา บริจาคเป็นเงินได้เพียงอย่างเดียว สามารถหักลงหย่อนได้ 2 เท่า ของเงินบริจาคแต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่นตามกฏหมายแล้ว มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกำหนดให้เป็นสถาณศึกษาที่สามารถหักลดหย่อนเงินบริจาคได้
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริจาคเป็นเงินหรือทรัพย์สิน สามารถหักลดหย่อนได้ 2 เท่า ของเงินที่บริจาคแต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย เพื่อการกุศลสาธารณประโยชน์ และเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมาลรัษฎากร

การออกใบเสร็จรับเงิน ระบุรายการดังนี้ "เงินบริจาคให้มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา"

ข้อมูลอ้างอิง

  1. มาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร
  2. มาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร
  3. ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง (ฉบับที่ 33) พ.ศ.2538
  4. ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 44) พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 54) พ.ศ.2538

เรียน ท่านผู้มีอุปการคุณที่เคารพ

ท่านผู้มีอุปการคุณท่านใดมีความประสงค์จะรับใบเสร็จรับเงินบริจาค
เพื่อลดหย่อนภาษีประจำปี 2564

” กรุณาแจ้งความจำนงในการบริจาคภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2564 เวลา 16.00 น.
ถ้าบริจาคหลังเวลา 16.00 น. ใบเสร็จรับเงินบริจาคจะออกเป็นปี 2565 “

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและขอบพระคุณอย่างสูง
(กลุ่มงานการเงินแลบัญชี โรงพยาบาลราชวิถี)

มาตรการภาษีหนุนผู้บริจาคเงินให้โรงพยาบาลรัฐ ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล นำไปลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่า มีผลย้อนหลังตั้งแต่ยอดบริจาคที่เกิดขึ้นตั้งแต่ 1 ม.ค.61

กำหนดให้บุคคลธรรมดาหรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่บริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่สถานพยาบาลซึ่งดำเนินการโดยกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจสถาบันการศึกษาของรัฐ หน่วยงานอื่นของรัฐ สภากาชาดไทย และสถานพยาบาลอื่นที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี

(1) บุคคลธรรมดา ให้หักลดหย่อนได้เพิ่มอีก 1 เท่า รวมหักได้เป็นจำนวน 2 เท่าของจำนวนเงินที่บริจาค แต่เมื่อรวมกับการบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษาแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนอื่น ๆ แล้ว

(2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ให้หักเป็นรายจ่ายเพิ่มอีก 1 เท่า รวมหักได้เป็นจำนวน 2 เท่าของรายจ่ายที่บริจาค ไม่ว่าจะได้จ่ายเป็นเงินหรือทรัพย์สิน แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อสนับสนุนการศึกษา และรายจ่ายที่กำหนดแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา

(3) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการโอนทรัพย์สิน หรือการขายสินค้า หรือสำหรับการกระทำตราสารอันเนื่องมาจากการบริจาคข้างต้น
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด และสำหรับการบริจาคที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561

1 การคานวณภาษ เง นได น ต บ คคลจากกาไรส ทธ เม อส นรอบระยะเวลาบ ญช บร ษ ทหร อห างห นส วนน ต บ คคลได คานวณกาไรส ทธ ตามเง อน...

การคานวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจากกาไรสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้คานวณกาไรสุทธิตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากรแล้ว ให้นากาไร สุทธิดังกล่าวคูณกับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จะได้ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชาระถ้าคานวณกาไรสุทธิออก มาแล้วปรากฏว่าไม่มีกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ บริษัทไม่ต้องคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล กล่าวคือไม่ต้องเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคลนั่นเอง ซึ่งในการคานวณกาไรสุทธิตามหลักกฎหมายภาษีอากรนั้น กิจการจะต้องปรับปรุง รายการในส่วนที่เกี่ยวกับรายได้และรายจ่าย เฉพาะรายการที่มีการบันทึกรายการตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไปแตกต่างไปจากที่กฎหมายภาษีอากรกาหนดไว้ ให้ถูกต้องและสอดคล้องกับกฎหมายภาษี อากร การปรับปรุงบัญชีการเงินให้ถูกต้องและสอดคล้องกับกฎหมายภาษีอากร สามารถแสดงได้ดังนี้ กาไรสุทธิทางบัญชีการเงิน บวก รายจ่ายที่ต้องห้ามหรือส่วนที่เกินเงื่อนไข รายได้ท่กี ฎหมายภาษีอากรกาหนดขึ้น รายได้ฝ่ายทุน (Capital Gain) เงินบริจาคเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการ สาธารณประโยชน์ เงินบริจาคเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา รวม หัก รายได้ท่ไี ด้รับยกเว้นภาษี รายจ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้นทางภาษี ผลขาดทุนสุทธิย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี กาไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเงินบริจาค หัก เงินสนับสนุนการศึกษา (จ่าย 1 ได้ 2) กาไรสุทธิ (ทางภาษี) ก่อนหักรายจ่ายเงินบริจาค (ทั่วไป 2%).........(1) เงินบริจาคเพื่อการกุศลฯ 2/104 xกาไรสุทธิ.......(1) เงินบริจาคเพื่อการศึกษาฯ 2/104 xกาไรสุทธิ.....(1) [กรณีมีรายจ่ายเงินบริจาคประเภทเดียวจะคูณด้วย 2/102] กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 20% ของกาไรสุทธิ

xx xx xx xx xx xx

xx xx

Xx xx

xx xx

xx xx xx xx xx xx xx

1

ตัวอย่างที่ 1 บจ. LOVE YOU จ.ก. มีเงินทุนจดทะเบียนชาระแล้ว 4 ล้านบาท มีกาไรสุทธิตามงบกาไรขาดทุน สิน้ สุด ณ 31 ธันวาคม 2557 เป็นจานวน 300,000 บาท ปรากฎว่า รายการในบัญชีกาไรขาดทุนที่กิจการถือเป็นรายได้ รายจ่ายที่มีรายการต่อไปนี้ รวมอยู่ด้วย ดังนี้ (หน่วยเป็นบาท) 1. ค่าใช้จ่ายส่วนตัวของกรรมการ 2. เงินบริจาคให้กับ ร.พ.ของรัฐ 3. ค่าของขวัญงานแต่งงาน 4. ค่าต่อเติมอาคารเสร็จเมื่อ 1 ก.ค.51 (ลงบัญชี ค่าซ่อมแซมไว้) 5.( ค่ารับรองในส่วนที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ใ นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า รอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ บริษัทฯ มีผลกาไรขาดทุน ดังนี้ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550

กาไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ ขาดทุนสุทธิ กาไรสุทธิ

= = = =

= = = = =

5,000 10,000 3,000 20,000 5,000

100,000 70,000 60,000 80,000

วิธีคานวณกาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี กาไรสุทธิตามบัญชี บวก ค่าใช้จ่ายส่วนตัวของกรรมการ บริจาคค่าการกุศล ค่าของขวัญงานแต่งงาน ค่าต่อเติมอาคาร ค่ารับรองในส่วนที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ กาไรสุทธิหลังปรับรุงรายจ่ายต้องห้าม หัก ค่าเสื่อมค่าอาคารต่อเติม (20,000 x 5% x 184/365) ขาดทุนสะสมยกมา กาไรสุทธิก่อนหักบริจาคการกุศล 2% หัก บริจาคการกุศล 2 x 292,495.89 102 กาไรสุทธิต้องเสียภาษี

300,000.00 5,000.00 10,000.00 3,000.00 20,000.00 5,000.00 343,000.00 504.11 50,000.00 292,495.89 5,735.21 286,760.68 2

ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 บริษัท LOVE YOU จ.ก มีกาไรสุทธิทางภาษี จานวน 286,760.68 บาท ในระหว่างปี ถูกหัก ภาษี ณ ที่จ่ายไว้แล้ว 750 บาทและชาระภาษีครึ่งปี (แบบ ภ.ง.ด.51) ไว้แล้ว จานวน 3,000 บาท บริษัทฯ จะต้อง ชาระภาษีเงินได้นิติบุคคลในสิน้ ปี (แบบ ภ.ง.ด.50) เป็นจานวนเงินเท่าใด การคานวณภาษี กาไรสุทธิทางภาษี x อัตราภาษี = ภาษีท่ตี ้องชาระ กาไรสุททธิ 300,000 บาทแรก ยกเว้นภาษี = หัก - ภาษี หัก ณ ที่จ่าย = - ชาระแล้วตามแบบ ภ.ง.ด.51 = ภาษีชาระเกิน (ขอคืน) =

0 (ไม่มีภาษีต้องชาระ) 750 3,000 3,750

3

ตัวอย่างที่ 3 หจก. ไตรรัตน์ มีทุนจดทะเบียนในวันสุดท้ายของรอบบัญชี 5 ล้านบาท มีผลการดาเนินงานตามบัญชีกาไรขาดทุน ตั้งแต่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้ รายได้ บาท รายจ่าย บาท รายได้จากการขาย กาไรจากการขายทรัพย์สิน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล

รวมรายได้

25,500,000 340,000 160,000 1,000,000

ต้นทุนขาย เงินเดือนผู้บริหาร ค่ารับรอง ค่าน้า ค่าไฟฟ้าสานักงาน ค่าโทรศัพท์สานักงาน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเบี้ยประกันภัยสานักงาน ค่าสอบบัญชี ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินสานักงาน ค่าบริจาคการกุศลสาธารณะฯ ค่าบริจาคสนับสนุนการศึกษา ค่าบริจาคการศึกษาหรือเพื่อกีฬา ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 27,000,000 รวมรายจ่าย

กาไรสุทธิตามบัญชี

14,000,000 2,100,000 130,000 70,000 84,000 250,000 50,000 25,000 1,000,000 250,000 500,000 50,000 91,000 18,600,000

8,400,000

ข้อมูลเพิ่มเติม : • บริษัทถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (ม.3 เตรส) จานวนเงินรวม 100,000 บาท • มีภาษียื่นตามแบบ ภ.ง.ด.51 จานวน 700,000 บาท • มีค่าเสื่อมราคารถยนต์นั่ง ที่เกินกว่ากฎหมายกาหนด จานวน 200,000 บาท • เงินปันผลรับจากบริษัทจดทะเบียนฯ ซึ่งมีระยะเวลาการถือหุ้นและโอนหุ้นครบตามหลักเกณฑ์ท่กี ฎหมายกาหนด

4

จากโจทย์ การคานวณกาไร(ขาดทุน)สุทธิทางภาษี ตามเงื่อนไขของมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรีแห่งประมวลรัษฎากร สรุปเป็นกระดาษทาการ การคานวณกาไรสุทธิทางภาษีและภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนี้

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีดังต่อไปนี้ • ค่ารับรองที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขจะนามาหักเป็นรายจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 0.3% ของยอดรายได้ (รายได้ทางภาษี ซึ่งต้องหักรายได้ท่ไี ด้รับยกเว้นภาษีก่อน) หรือเงินทุน ณ วันสิน้ รอบบัญชี แล้วแต่อย่างไหนจะมากกว่า แต่ สูงสุดไม่เกิน 10 ล้านบาท (ม.65 ตรี(4)) • รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาหรือกีฬา ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขจะนามาหักเป็นรายจ่ายได้ 2 เท่า แต่ไม่ เกิน 10%ของกาไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายการกุศลทั้งหมด (พรก. 420 พ.ศ.2547) • การกุศลสาธารณะ และค่าบริจาคเพื่อการศึกษาหรือกีฬา กฎหมายให้หักเป็นรายจ่ายได้ 2% ของกาไรสุทธิ ก่อนหักค่า การกุศลทั้ง 2 อย่าง (ม.65 ตรี(3)) • เงินปันผลที่บริษัททั่วไปได้รับจากบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้รับยกเว้นกึ่งหนึ่ง (ม.65 ทวิ(10)) • อัตราภาษีของ SMEs (ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้าน และรายได้ไม่เกิน 30 ล้าน)ที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป ตาม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 530) แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 555) และ (ฉบับที่ 564) เป็นดังนี้ กาไรสุทธิ 0 - 300,000 ได้รับยกเว้น เกิน 300,000 – 1,000,000 เสียภาษี 15% เกิน 1,000,000 ขึน้ ไป เสียภาษี 20% วิธีการคานวณ : (ตามหมายเหตุ ) (1) ค่ารับรองที่หักเป็นรายจ่ายได้ = (27,000,000-500,000*) x 0.3% = 26,500,000 x 0.3% = 79,500 ค่ารับรองส่วนที่เกินกว่าที่กฎหมายกาหนด = 130,000 – 79,500 = 50,500 (เป็นยอดที่ต้องบวกกลับ) *เงินปันผลที่ได้รับจากบริษัทจดทะเบียนฯ ได้รับยกเว้นกึ่งหนึ่ง = 1,000,000 x 50% = 500,000 (2) บวกกลับค่าบริจาคสนับสนุนการศึกษา 500,000บาท ก่อนแล้วค่อยคานวณภายหลัง (3) บวกกลับค่าบริจาคการกุศลสาธารณะฯ 250,000 บาท ก่อนแล้วค่อยคานวณภายหลัง (4) บวกกลับค่าบริจาคการศึกษาหรือเพื่อกีฬา 50,000บาท ก่อนแล้วค่อยคานวณภายหลัง (5) เงินปันผลได้รับยกเว้นกึ่งหนึ่ง =1,000,000 x ½ = 500,000 (6) ค่าบริจาคสนับสนุนการศึกษา ที่หักเป็นรายจ่ายได้ = 8,950,500 x 10/110 = 813,681.82 - ค่าบริจาคการกุศลทั้ง 2 อย่าง ที่หักเป็นรายจ่ายได้ = 8,136,818.18 x 2/104 = 156,477.27 - นายอดที่คานวณได้ 156,477.27 ไปเทียบกับยอดการกุศลทั้ง 2 อย่างดูว่าเกินกว่าที่คานวณได้หรือไม่ ? (7) ค่าบริจาคการศึกษาหรือเพื่อกีฬา 50,000บาทต้องนาไปรวมกับค่าบริจาคสนับสนุนการศึกษา ที่เหลือจากที่ หักได้ตามข้อ 6 แล้ว = 500,000 – (813,681.82/2) = 500,000 – 406,840.91 = 93,159.09 - รวมเป็นค่าบริจาคเพื่อการศึกษาหรือกีฬาทั้งสิน้ = 50,000 + 93,159.09 = 143,159.09 - จะเห็นได้ว่าไม่เกินกว่าที่คานวณได้ ดังนั้นค่าบริจาคเพื่อการศึกษาหรือกีฬาจึงหักได้เต็มจานวน 143,159.09 5

(8) ค่าบริจาคการกุศลสาธารณะ 250,000 ซึ่งเกินกว่าที่คานวณได้จึงต้องคานวณยอดที่หักได้ใหม่ - ค่าบริจาคการกุศลสาธารณะ ที่หักเป็นรายจ่ายได้ = 8,136,818.18 x 2/102 = 159,545.45 (9) การคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา SMEs. จากกาไรสุทธิทางภาษี 7,834,113.64 บาท 300,000.00 X 0% ได้รับยกเว้น = 0.00 700,000.00 X 15% = 105,000.00 6,834,113.64 X 20% = 1,366,822.73 รวมภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งสิน้ 7,834,113.64 = 1,471,822.73

6

7

8