วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

ตอบ ไม่จริง แม้ว่านมที่ผ่านกระบวนการทำลายชื้อโรคและวิธีการผลิต จะทำให้สูญเสียไวตามินซี เช่น นมพาสจอร์ไรซ์ ใช้อุณหภูมิต่ำ (60 C) จะสูญเสียน้อยที่สุด นมสเตอริไรส์หรือนมยูเอชที อาจแทบไม่เหลือเลย แต่การดื่มนมก็ไม่นับเป็นสาเหตุของโรคขาดไวตามินซี นมถือเป็นอาหารสำคัญ และมีคุณค่าสำหรับเด็กจนถึงวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่

คำแนะนำ

  • ควรรับประทานอาหารหลักให้ครบ 3 มื้อ ควรมีผักและผลไม้ด้วย
  • เด็กควรได้รับไวตามินซีวันละ 25 – 50 มิลลิกรัม แล้วแต่อายุ หรือเทียบกับน้ำส้มครึ่งแก้วก็เพียงพอแล้ว
  • เด็กดื่มนมได้เต็มที่ แต่ไม่ควรให้เกินกว่า 30 ออนซ์ต่อวัน เน้นบริโภคนมชนิดจืด งดเว้นนมชนิดหวาน เพราะเสี่ยงต่อภาวะอ้วน
  • นมผงที่ใช้เลี้ยงทารก จะมีการเติมไวตามินให้ตามความเหมาะสมอยู่แล้ว
  • การชงนมผทรก ไม่ควรใช้น้ำร้อน เพราะความร้อนจะทำลายไวตามินซี
  • ในนมแม่ที่เลี้ยงตามรรรมชาติก็มีไวตามินซี แต่ถ้านำไปทำลายเชื้อด้วยความร้อน ไวตามินซีก็ถูกทำลายเช่นกัน
  • การให้อาหารเสริมตามวัย และอาหารหลัก หลัง 1 ปี ก็จะได้ไวตามินซีพียงพอต่อความต้องการที่ใช้ต่อวัน

ข้อมูล ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2562

ที่มา : ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ

ทุกคนรู้กันดีอยู่แล้วว่า วิตามินเป็นสิ่งจำเป็นต่อร่างกายมีแต่คุณประโยชน์ แต่รู้ไหมว่าวิตามินต่าง ๆ มีความลับซ่อนอยู่ที่หากคุณได้รู้จะช่วยให้คุณดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและดีต่อร่างกายยิ่งขึ้นได้

 

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

ปริมาณวิตามินซีที่ควรได้รับ

ในทางศาสตร์ชะลอวัยคนเราควรทานวิตามินซีวันละ 1,000 มิลลิกรัมต่อวันที่จะช่วยในเรื่องภูมิต้านทานร่างกายและการบำรุงผิวพรรณ แต่สำหรับผู้ที่ป่วยเป็นโรคหวัดหรือภูมิแพ้บ่อย ควรทานวิตามินซี 2,000 มิลลิกรัมหรือมากกว่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล ซึ่งหากอยากรู้แน่ชัดว่าร่างกายเราต้องการวิตามินเท่าไรต้องปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ

ข้อควรระวัง

  • ควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานวิตามินซีในปริมาณที่สูง

รู้จักชนิดและรูปแบบวิตามินซี

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

1) แบบอัดเม็ด

วิตามินซีประเภทนี้โดยทั่วมีขนาดตั้งแต่ 25 – 1,000 มิลลิกรัม แต่ขนาดยอดนิยมทั่วไปคือ 500 และ 1,000 มิลลิกรัม ซึ่งหากเป็นไปได้ควรเลือกทานที่ระบุว่าเป็นแบบ Buffered, Sustained Release หรือ Slow Release เพราะตัววิตามินซีจะค่อย ๆ ปล่อยจากเม็ดยาช้า ๆ ทำให้วิตามินซีออกฤทธิ์ได้นานขึ้น อีกทั้งช่วยให้ไม่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร แต่ระดับวิตามินซีในกระแสเลือดที่ได้รับนั้นไม่แตกต่างจากรูปแบบเม็ดทั่วไปที่ปล่อยวิตามินซีแบบทันที

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

2) แบบเม็ดอม

มีตั้งแต่ 25 – 500 มิลลิกรัม เหมาะกับผู้ที่ไม่ชอบกลืนเป็นเม็ด แต่พึงระลึกไว้เสมอว่า การอมวิตามินซีแบบเม็ดบ่อย ๆ กรดที่ออกมาจะทำให้เคลือบฟันบางจนฟันกร่อนได้

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

3) แบบเม็ดเคี้ยว

โดยปกติมีขนาด 30 มิลลิกรัม เหมาะกับเด็ก เพราะมีรสหวานชวนทาน แต่ต้องระวังไว้ว่า ด้วยน้ำตาลที่มีปริมาณสูงอาจส่งผลให้เกิดฟันผุได้เมื่อรับประทานเป็นประจำ

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

4) แบบเม็ดฟู่

มักมาในขนาด 500 และ 1,000 มิลลิกรัม วิธีการทานที่ถูกต้องควรนำไปละลายในน้ำจนฟองหมด เพราะฟองแก๊สที่เกิดขึ้นเมื่อรับประทานเข้าไปอาจเกิดการแน่นท้องในภายหลังได้ วิตามินซีชนิดนี้เหมาะกับผู้ที่ไม่สามารถกลืนยาเม็ดขนาดใหญ่ได้ ข้อดีคือเหมาะกับผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องการดูดซึม

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

5) แบบแคปซูล

มีทั้งแบบแคปซูลแข็งและแคปซูลนิ่ม แต่ละแคปซูลมีขนาด 500 มิลลิกรัม ข้อดีคือกลืนง่ายสบายคอกว่าวิตามินซีรูปแบบอัดเม็ด

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

6) แบบสารละลายเพื่อฉีด

ขนาดจะอยู่ที่ 500 มิลลิกรัม เป็นวิตามินซีแบบที่เหมาะกับการป้องกันหวัดที่ดีที่สุด แต่ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเข้ารับการฉีด ข้อดีก็คือ ออกฤทธิ์เร็วและร่างกายสามารถเอาวิตามินซีไปบำรุงซ่อมแซมได้ทันที เพราะไม่ต้องผ่านการย่อยจากกระเพาะอาหาร


สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการทานวิตามินซี

  • วิตามินซีมีจุดอิ่มตัวในการดูดซึม การดูดซึมของวิตามินซีมีจุดอิ่มตัวและขึ้นอยู่กับปริมาณในการรับประทานเข้าไป หากทานเกินจุดอิ่มตัวของการดูดซึม ร่างกายก็ไม่สามารถดูดซึมไปใช้เพิ่มได้ จึงควรทานวิตามินซีในปริมาณที่ต่ำกว่า 1 กรัม แต่ทานหลายครั้งจะดูดซึมได้ดีกว่าทานปริมาณมากในครั้งเดียว ยกตัวอย่างเช่น การรับประทานวิตามินซีครั้งละ 1,000 – 1,500 มิลลิกรัม มีข้อมูลระบุว่า ร่างกายดูดซึมวิตามินซีได้เพียง 50% เป็นต้น

วิตามินซี กิน กับนม ได้ ไหม

ทานวิตามินซีให้ได้คุณค่าสูงสุด

  • ทานพร้อมอาหารมื้อเช้าและมื้อเย็น เพราะวิตามินซีจะถูกขับออกภายใน 2 – 3 ชั่วโมง ดังนั้นการรักษาระดับวิตามินซีในเลือดให้สูงเป็นสิ่งสำคัญต่อสุขภาพ
  • บรรเทาหวัด ทานวิตามินซี 1,000 มิลลิกรัม วันละ 2 เวลา ช่วยให้ระดับฮิสตามีน สารที่ทำให้น้ำตาน้ำมูกไหลลดลงได้ถึงร้อยละ 40
  • ผู้ที่เป็นเบาหวาน ควรรับประทานวิตามินซีวันละ 1,000 มิลลิกรัม เพราะวิตามินซีจะเข้าไปช่วยลดสารอนุมูลอิสระและการอักเสบของหลอดเลือด อีกทั้งช่วยป้องกันอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคไตวาย เป็นต้น
  • เพิ่มประสิทธิภาพวิตามินซี ด้วยการทานร่วมกับแคลเซียม แมกนีเซียม และไบโอฟลาโวนอยด์
  • สัญญาณเมื่อได้รับวิตามินซีเกิน เช่น อาการท้องเสีย เป็นต้น ซึ่งอาจเกิดได้กับคนที่ทานวิตามินซีในปริมาณที่สูงมาก ๆ เช่น 8,000 มิลลิกรัมขึ้นไป ซึ่งไม่ใช่ทุกคนจะเป็น เพราะร่างกายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนก็สามารถย่อยวิตามินซีได้วันละหลายกรัมเลยทีเดียว

ทานวิตามินซีเพื่อผิวสวย VS ทานวิตามินซีเพิ่มภูมิต้านทาน

สำหรับการทานวิตามินซีให้ผิวสวย เสริมสร้างคอลลาเจนให้แข็งแรง ผิวขาวใสเปล่งปลั่ง โดยทั่วไปต้องทานวิตามินซีในปริมาณ 1,000 มิลลิกรัมต่อวันขึ้นไป ซึ่งเป็นปริมาณที่มากกว่าการป้องกันโรคหวัด และควรต้องเป็นวิตามินซีที่สกัดจากธรรมชาติ ซึ่งหากเป็นการรับวิตามินซีปริมาณสูง จะให้ดีควรปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการด้านผิวพรรณหรือชะลอวัยเพื่อรับคำแนะนำในการรับปริมาณวิตามินซีที่เหมาะกับร่างกายจะได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า

ห้ามกินวิตามินซีกับอาหารอะไร

วิตามินบี 12 เพราะวิตามินซีอาจทำปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์กับวิตามินบี 12 อีกทั้งยังอาจขัดขวางการดูดซึมวิตามินบี 12 ด้วย ดังนั้นหากจำเป็นต้องกินวิตามินซี และวิตามินบี 12 ด้วยกันทั้งคู่ ควรเว้นช่วงสัก 2-3 ชั่วโมง หรือกินวิตามินแต่ละชนิดคนละมื้ออาหารก็ได้ ยารักษาโรคเบาหวาน เพราะยาอาจลดประสิทธิภาพลงเมื่อเจอวิตามินซี

วิตามินซีกินคู่กับอะไรได้บ้าง

สารอาหารคู่วิตามิน C การทานวิตามินซึ ถึงจะทานมากแต่จะมีจุดอิ่มตัวที่ร่างกายรับได้อยู่ จึงไม่ได้ดึงเข้าไปในร่างกายได้ 100% อาจต้องทานสารอาหารอื่นควบคู่กันเพื่อให้วิตามินซีแสดงผลลัพธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิตามินซี ควรทานร่วมกับแคลเซียม แมกนีเซียม หรือไบโอฟลาโวนอยด์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมให้มากขึ้น

กินยาแล้วกินวิตามินซีได้ไหม

ยาที่ไม่ควรทานพร้อมวิตามิน C. 1. ยาที่มีส่วนผสมของอลูมินัม เช่น ยาโรคกระเพาะ ยาโรคไต เพราะอาจทําให้ร่างกายดูดซึมอลูมินัมมากเกินไป และเป็นผลต่อไตได้ 2. ยาในกลุ่มคีโม เพราะวิตามินซีอาจไปส่งผลต้านการออกฤทธิ์ของยา 3. ยาที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน เพราะอาจส่งผลให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายเพิ่มขึ้น

ใครไม่ควรกินวิตามินซี

ข้อควรระวังในการกินวิตามินซี.
ผู้ที่กินยาลดเบาหวานอยู่ หากทานวิตามินซีร่วมด้วย จะทำให้ประสิทธิภาพยารักษาเบาหวานลดลง.
ผู้ที่กินยาคุมกำเนิดอยู่ ควรเพิ่มปริมาณการกินวิตามินซี.
หากรับประทานยาแอสไพลินอยู่ ควรเพิ่มปริมาณการกินวิตามินซี เพราะยาแอสไพลินจะทำให้วิตามินซีถูกขับออกไวขึ้น.