วิทยาลัย เทคนิค ฉะเชิงเทรา ประวัติ

วิทยาลัย เทคนิค ฉะเชิงเทรา ประวัติ

�ӹѡ�ҹ��С�����á���Ҫ���֡��
��з�ǧ�֡�Ҹԡ�� �.�Ҫ���Թ�͡ ࢵ���Ե ��ا෾� 10300�Ѻ��Ѥ� :��ѡ�ҹ�Ҫ���          ���˹� :��ѡ�ҹ�����÷����� (���) �Է�����෤�Ԥ���ԧ����Թ��͹ :18000 �ҷ������ :�����÷�����ӹǹ :1 ���˹��дѺ����֡�� :��ԭ�ҵ��
�س���ѵ�੾������Ѻ���˹� :��������´�����С���Ѻ��Ѥ��ѡɳЧҹ��軯Ժѵ� :��������´�����С���Ѻ��Ѥ��Ըա�����͡��� :- ��������������ö
��������´�����С���Ѻ��Ѥ�
�Ըա�û����Թ : ��������´�����С���Ѻ��Ѥ�

- �ѡ��
��������´�����С���Ѻ��Ѥ�
�Ըա�û����Թ : ��������´�����С���Ѻ��Ѥ�

- ���ö��
��������´�����С���Ѻ��Ѥ�
�Ըա�û����Թ : ��������´�����С���Ѻ��Ѥ�

ࡳ���û����Թ :��������´�����С���Ѻ��Ѥ��Դ�Ѻ��Ѥ� :�ѹ�ѹ����� 26 �ѹ��¹ �.�. 2565 �֧ �ѹ�ء���� 30 �ѹ��¹ �.�. 2565��С���Ѻ��Ѥ� :
วิทยาลัย เทคนิค ฉะเชิงเทรา ประวัติ
���䫵� :
วิทยาลัย เทคนิค ฉะเชิงเทรา ประวัติ

���˹觧ҹ��蹷���Ѻ��Ѥâͧ˹��§ҹ��� 0 ���͵��˹�

— วันที่ 21 มีนาคม 2476 เป็นวันเกิดของสถานศึกษาที่มีชื่อเสียง “โรงเรียนประถมช่างไม้” อาคารเรียนหลังแรกตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำบางปะกง อันเป็นที่ของวัดเมือง ( วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฏิ์ ) ซึ่งปัจจุบันก็คือ วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา

— ครั้งแรกนักเรียนที่จบป. 4 เข้าเรียนต่อประถมปีที่ 5 – 6 ก็จบวิชาที่เรียนก็เป็นงานช่างไม้เบื้องตอนเช่น เจาะ เข้าเดือย ไสไม้ ลับกบ ลับสิ่ว .. เกี่ยวกับงบประมาณแผ่นดินก็มีไม่มากนัก หรือแม้ตัวอาคารก็อาศัยประชาชนคือ บริษัทเอื้อวิทยา ได้บริจาคไม้มาปลูกสร้างกันเองโดย ครูฟื้น เมฆกระพัฒน์ เป็นครูใหญ่คนแรก ท่านไม่มีวุฒิทางช่าง แต่มีความชำนาญทางช่างไม้เป็นอยางดีมีครูเพียงสองคนเท่านั้น

— ปี พ.ศ. 2477 ได้เปิดช่างต่อผ้าอีกแขนงหนึ่ง มีหลักสูตร 2 ปี นักศึกษา 35 คน มีครู 4 คน ซึ่งช่างทอผ้าก็สอนวิชาช่างทอผ้าเบื้องต้น เช่น ย้อมผ้า เข้าด้าย หลอดเดินด้ายเข้าพับหวี ทอยดอกลวดลาย ..

— ปี 2478 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนหัตถกรรม” (เอื้อวิทยาบูรณะ) ได้ครูเพิ่มอีกหลายคนและผู้ปกครองสนใจส่งบุตรหลานเข้าเรียนมีจำนวนมากขึ้น

— ปี พ.ศ. 2480 ได้ย้ายมาอยู่ที่ ถนนมหาจักรพรรดิ์ (ที่อยู่ปัจจุบัน) รับเฉพาะวิชาช่างไม้ สอนวิชาช่างทอผ้าที่เรียนเดิม ที่ใหม่มีเนื้อที่ 16 ไร่ เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนช่างไม้ฉะเชิงเทรา” คุณครู วินัย วัยวุฒิ เป็นครูใหญ่

— พ.ศ. 2490 คุณครู วินัย วัยวุฒิ ได้ย้ายไปเป็นครูใหญ่โรงเรียนช่างไม้นนทบุรี คุณครูสุรินทร์ สิกขากุล เป็นครูใหญ่แทนจน พ.ศ.2492 ท่านก็ย้ายไปสอนที่โรงเรียนก่อสร้างอุเทนถวาย และ คุณครูสำเนียง รักสัตย์ มาเป็นครูใหญ่แทน

— พ.ศ. 2494 โรงเรียนได้รับการช่วยเหลือจาก องค์การปรับปรุงการศึกษาของชาติ โดยมี มิสเตอร์เอ็ม.อาร์ แวนไวท์ ผู้เชี่ยวชาญการอาชีว ศึกษาแห่งองค์การวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

— พ.ศ. 2495 อาจารย์ บูรณะ วงษ์ประดิษฐ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นครูใหญ่แทนพร้อมด้วย มิสเตอร์โยเยอร์ วิลสัย มาประจำ ทำให้ชื่อเสียงของโรงเรียนเป็นที่รู้จักกันทั่วประเทศ เพราะกิจการของโรงเรียนได้เจริญก้าวหน้าอย่างมาก เกือบจะกล่าวได้ว่าเป็นโรงเรียนตัวอย่างระดับประเทศทีเดียว จนปีต่อ ๆ มาต้องมีการสอบเข้าเรียน ( เดิมขอร้องให้มาเรียนโดยไปขอนักศึกษาที่จบ ป.4 จากโรงเรียนประชาบาลมาเรียน ) จน พ.ศ. อาจารย์ บูรณะ วงษ์ประดิษฐ์ ได้รับทุนไปดูงานที่สหรัฐอเมริกา 1 ปี นับเป็นความก้าวหน้าอีกขั้นหนึ่งที่เราได้รับ

— พ.ศ. 2496 อาจารย์ ธนู แสวงศักดิ์ ได้มารับหน้าที่ครูใหญ่ พร้อมกับผู้เชี่ยวชาญคนใหม่ คือ มิสเตอร์แคนนี่ นักเรียนเพิ่มจำนวนเป็น 216 คน มีครู 10 คน การศึกษาได้ก้าวหน้ามากขึ้นถึงมีเจ้าหน้าที่จากต่างประเทศ เช่น ลาว เขมร อเมริกัน มาชม และโรงเรียนก็ได้เปิดสอนวิชาช่างโลหะขึ้นอีก แผนกหนึ่ง ได้รับนักเรียนที่จบ ม.3 (ม.1 สมัยนี้ ) มาเรียนต่อ ในปีต่อ ๆ มา ครูก็ได้รับทุนไปดูงานจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เช่น อาจารย์ ธนู แสวงศักดิ์ได้ไปศึกษาต่อที่อเมริกา

— พ.ศ. 2499 อาจารย์ วิสูตร พลาชีวิน ได้มาดำรงตำแหน่งแทน พ.ศ. 2500 อาจารย์ วิสูตรได้ไปศึกษาต่อที่อเมริกา 3 ปี จน พ.ศ. 2501 อาจารย์ สมจริง กนกนาก ได้มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ ครูได้เพิ่มขึ้นเป็น 30 คน มีนักเรียนถึง 318 คน ปีนี้ได้เลิกรับนักเรียนที่จบ ป.4 รับเฉพาะผู้จบ ม.3 และ ม . 6 เพื่อเรียนต่อในระดับ ปวช. ในระยะนี้ครูได้รับทุนไปศึกษาต่อหลายท่าน

— ปี พ.ศ. 2503 เป็นปีที่ครบสัญญา ที่องค์การยูเนสโก แต่เราก็เข้าอยู่ในองค์การ ด.พ.ศ. และโครงการ พ.ศ.ภ. และยังได้รับอุปการะจากศูนย์ช่างฝีมือของซีโต และได้ตัดระดับมัธยมการช่างตอนปลาย เหลือแต่ระดับ ปวช. ปลายปี 2503 อาจารย์ เพี้ยน หล่อนิ ได้มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่แทน

ปัจจุบันสถานศึกษาเปิดทำการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และหลักสูตรปริญญาตรี ประเภทวิชาที่ทำการเปิดสอน คือ ช่างอุตสาหกรรม 9 สาขาวิชา ดังนี้

เทคนิคฉะเชิงเทราเปิดมากี่ปีแล้ว

วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา จัดตั้งเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2476 บนเนื้อที่ 14 ไร่ 1 งาน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรามีกี่สาขา

วัตถุประสงค์ของวิทยาลัย คือ เพื่อจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 3 สาขาวิชา คือ บริหารธุรกิจ คหกรรม และศิลปกรรม และการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี แก่เยาวชน และผู้ประกอบอาชีพอยู่ในโรงงานภายในจังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัด ใกล้เคียง

เทคนิคฉะเชิงเทรามีสายอะไรบ้าง

- ช่างยนต์( ระบบทวิภาคี) - ช่างกลโรงงาน - ช่างเชื่อมโลหะ - ช่างเชื่อมโลหะ ( ระบบทวิภาคี) - ช่างไฟฟ้ากาลัง - ช่างไฟฟ้ากาลัง ( ระบบทวิภาคี) - ช่างอิเล็กทรอนิกส์ - โทรคมนาคม - ช่างก่อสร้าง