บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ตัวอย่าง

การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์การสร้างเว็บบล็อกด้วยWordpress เรื่องแท็บเล็ต นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเว็บบล็อกด้วย WordPress และค้นคว้าเรื่องที่สนใจ เกี่ยวกับแท็บเล็ต เพื่อให้ผู้จัดทำโครงงานสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดำเนินงานโครงงาน ดังนี้

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.2 ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 ผลการสร้างเว็บบล็อก

การสร้างเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่องแท็บเล็ต นี้ ผู้จัดทำได้เริ่มดำเนินงานตามขั้นตอนการดำเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ

http://www.wordpress.com จากนั้นได้นำเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นำเผยแพร่ที่เว็บบล็อกชื่อ piyakorn ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับสื่อสังคมในรูปแบบของ Social Media ประเภทเว็บไซต์ facebook ของผู้จัดทำที่ชื่อ (http://ปิยากร พจนารุ่งฤกษ์) ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็นอย่างดี โดยทั้งครูที่ปรึกษา เพื่อนๆในห้องเรียนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรูปแบบของการนำเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทาให้เกิดการเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ว

4.2 ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้น ดังนี้

ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ ตามเกณฑ์ 80%

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียน

ผู้วิจัยได้ทดลองภาคสนามกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 8 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แล้วนำมาหาค่าประสิทธิภาพตามลำดับ ดังแสดงในตาราง 1 – 3

ตาราง 1 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบฝึกหัดบทเรียน (Ea)

 คะแนนแบบฝึกหัด(A = 100 คะแนน)

จำนวนนิสิต(N)

คะแนนรวม()

ร้อยละ

A

90

1

90

3.33

0.86

95

1

95

3.33

0.90

96

1

96

5.49

5.49

97

2

194

6.67

1.85

99

2

198

6.67

1.89

100

1

100

3.33

0.95

รวม

8

773

29

11.93

คะแนนเฉลี่ย

95.40

20.14

0.11

จากตาราง 1 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบฝึกหัด  เท่ากับ 95.40 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน คิดเป็นร้อยละ  20.14 และค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบฝึกหัด (Ea) เท่ากับ 0.11

ตาราง 2 ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบทดสอบบทเรียน (Eb)

คะแนนแบบสอบ

(B = 40 คะแนน)

จำนวนนิสิต

(N)

คะแนนรวม

(ΣX)

ร้อยละ

ΣΧ

Β

32

1

96

10.00

2.40

33

3

198

20.00

4.95

34

2

136

13.34

3.40

35

1

350

33.33

8.75

36

1

108

10.00

2.70

37

1

111

10.00

2.775

38

1

38

3.33

0.95

รวม

10

1037

100

25.925

คะแนนเฉลี่ยรวม

34.57

86.42

0.8642

จากตาราง 2 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบ () เท่ากับ 34.57 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.42 และค่าเฉลี่ยอัตราส่วนของคะแนนแบบทดสอบ (Eb) เท่ากับ 0.8642

ตาราง 3 ค่าประสิทธิภาพของบทเรียน

จำนวนนักเรียน

คะแนนแบบฝึกหัด

(105 คะแนน)

คะแนนแบบทดสอบ

(40 คะแนน)

ประสิทธิภาพ

EaEb

8

5.40

3.47

0.9086

34.57

1.59

0.8642

88.64

จากตาราง 3 พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีค่าเท่ากับ 88.64 หมายความว่า บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนที่ได้เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เฉลี่ยร้อยละ 88.64

 

ตาราง 4 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อโปรแกรม

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ตัวอย่าง

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ตัวอย่าง

จากตาราง 4 พบว่านักเรียนกลุ่มทดลองมีความคิดเห็นที่ดีต่อบทเรียนอยู่ใน ระดับเห็นด้วยมากถึงระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งและมีความคิดเห็นโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (= 4.24, S = 0.70) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ข้อ 13 “เมื่อทำแบบทดสอบเสร็จผู้เรียนรู้คะแนนทันที(= 4.60)” ข้อ 18 “ผู้เรียนต้องการบทเรียนออนไลน์ในวิชาอื่นๆ ด้วย (= 4.60)” ข้อ 7 “บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง(= 4.25)” ข้อ 10 “บทเรียนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนอยากเรียนคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น(= 4.43)” ข้อ 10 “บทเรียนออนไลน์สร้างบรรยากาศใหม่ในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ (= 4.37)” ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อ 8 “ภาษาที่ใช้ในบทเรียนออนไลน์เข้าใจง่าย (= 3.83)”

จากตารางที่ 2 พบว่า ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมินที่มีต่อการทำขนมลูกชุบ อันดับที่ 1 ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ โดยมีความพึงพอใจเฉลี่ย 4.83 อันดับที่ 2 เจ้าหน้าที่สนับสนุนและสิ่งที่ท่านได้รับจากโครงการ มีความพึงพอใจเฉลี่ย 4.82 อันดับที่ 3 ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะ โดยมีความพึงพอใจเฉลี่ย 4.78