ลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย

ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม

  1. 1. ความหลากหลาย ในสังคมพหุวัฒนธรรม โดย อาจารย์ชนากานต์ โสจะยะพันธ์
  2. 2. เรื่องของวัฒนธรรมเป็นเรื่องของวิถีชีวิตของมนุษย์ในแต่ละแห่งหรือแต่ละ ชุมชนหรือแต่ละสังคมที่มีการปฏิบัติ เลือกสรร ปรับเปลี่ยน ประยุกต์ และถ่ายทอดสืบๆ ต่อๆ กันมา ดังนั้นในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละสังคมจึงมี วัฒนธรรมย่อย สังคมพหุวัฒนธรรม
  3. 3. สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ วิถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนา และประเพณีปฏิบัติที่มีความแตกต่าง กัน เนื่องมาจากกระบวนการคิดและสัญลักษณ์ที่เกิดจากการสร้างของ วัฒนธรรม ปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้นทางสังคม และ การศึกษาซึ่งเป็นตัวกาหนดให้บุคคลมีความคิดความเชื่อ ความรู้สึก และ การกระทาในลักษณะที่แตกต่างกัน ความหมายของสังคมพหุวัฒนธรรม
  4. 4. โลกปัจจุบันอยู่ในศตวรรษที่ 21 ที่มีประชากรหลายพันล้านคนอาศัยอยู่ใน หลายร้อยประเทศ จึงมีความหลากหลาย (พหุ)ทางเชื้อชาติและความ หลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่บนโลกนี้มี ทั้งความแตกต่างและคล้ายคลึงกัน เช่น ประเทศอินเดีย ประเทศจีน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ประเทศต่างๆ ที่มีประชากรจานวนมากนี้ มีประชากรที่มีเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างมาก ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  5. 5. สาหรับในประเทศไทยนั้น เรามีวัฒนธรรมไทยเป็นหลักของประเทศ แต่ ในวัฒนธรรมไทยนั้น ก็อยู่บนความหลากหลายและความแตกต่างของ วัฒนธรรม เนื่องจากประเทศไทยมีประชากรทั่วราชอาณาจักร จานวน 63,878,267 คน (สารวจเมื่อเดือนธันวาคม 2553 สานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) ประกอบด้วยกลุ่มคนไทยเชื้อสาย ไทย จีน ญวน ลาว เขมร ไทยทรงดา ไทยพวน มลายู ฯลฯ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  6. 6. ภาพชาวไทยทรงดา
  7. 7. ภาพชาวไทยพวน
  8. 8. ภาพชาวไทยเชื้อสายจีน
  9. 9. ประชากรไทยจึงประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม หลากหลายภาษา หลากหลายขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งมีปัญหา เรื่องผลประโยชน์และเป้ าหมายต่างๆ กันไป ส่งผลให้ประเทศไทยเป็น ประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเทศหนึ่งของโลก แต่ทุก วัฒนธรรมของกลุ่มต่างๆ ย่อมมี อัตลักษณ์ ของแต่ละวัฒนธรรม ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  10. 10. ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า สังคมไทยมีสภาพความเป็นพหุวัฒนธรรมตลอด มา ผู้คนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างมีความสุขนั้น มีความ หลากหลายหรือมีความเป็นพหุ ทั้งในด้านชาติพันธุ์ ศาสนา และ วัฒนธรรม การเข้าใจถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายจึงเป็นสิ่งจาเป็นของการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  11. 11. บุคคลแต่ละคนจะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซึ่งมีลักษณะวัฒนธรรมที่เป็นของ ตนเอง หรือที่เรียกว่า อัตลักษณ์ และหลาย ๆ กลุ่มจะรวมตัวกันเป็น สังคมใหญ่ การอยู่รอดของกลุ่มเกิดจากการเห็นคุณค่าและการยอมรับ ในอัตลักษณ์ของวัฒนธรรม ปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้น ทางสังคม และการศึกษา จะเป็นตัวสาคัญที่กาหนดเกี่ยวกับความเชื่อ ความรู้สึก และการกระทาของบุคคล ในลักษณะของการรวมกลุ่มต่าง ๆ ของสังคมใหญ่ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  12. 12. พิธีแต่งงานแบบไทย
  13. 13. พิธีแต่งงานแบบคริสต์
  14. 14. คาว่า “อัตลักษณ์” ไม่มีบันทึกไว้ในพจนานุกรม แต่มีตาราหลายเล่มให้ ความหมายคาว่า “อัตลักษณ์” ไว้ว่า คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัว บ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของตัวบุ คล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้นๆ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ ทั่วไปหรือสากลกับสังคม อื่นๆ กล่าวคือ ลักษณะที่ไม่เหมือนกับของคน อื่นๆ ซึ่งคาว่า “อัตลักษณ์” มาจากภาษาบาลีว่า อตฺต + ลักษณ โดยที่ “อัตตะ” มีความหมายว่า ตัวตน, ของตน ความหมายของอัตลักษณ์
  15. 15. การไหว้เป็นอัตลักษณ์ของชาวไทย
  16. 16. การใช้ตะเกียบเป็นอัตลักษณ์ของชาวจีน
  17. 17. ชุดกิโมโนเป็นอัตลักษณ์ของชาวญี่ปุ่น

ลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย

สังคมพหุวัฒนธรรม (Multicultural society) ก็เป็นเหมือนกับทุกเรื่อง มันมี “ด้านที่ดี” และ “ด้านที่ไม่ดี” มันแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะพบสถานที่ๆ มีเพียงวัฒนธรรมที่แตกต่างกันเพียงไม่กี่ชนิด โลกเสรีที่เราอาศัยอยู่ทำให้เรามีทางเลือกมายในการใช้ชีวิต ซึ่งมีประโยชน์มากมาย แต่มีข้อเสียเช่นกัน บางอย่างก็อาจเพิ่มคุณค่าชีวิตของเรา ในขณะที่บางอย่างก็อาจทำให้เราอยู่ในความเสี่ยง

ข้อดีของสังคมแบบพหุวัฒนธรรม

ลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย
อยู่สังคมร่วมกันอย่างมีความสุข

1.นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย ผู้อพยพจากประเทศต่างๆ จะนำแหล่งความรู้ประสบการณ์ที่หลากหลายเข้ามาเผยแพร่ พวกเขาช่วยปรับปรุงการค้า นำความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมมาสู่ประเทศ

2.การเติบโตทางเศรษฐกิจ การทำธุรกิจกับผู้คนต่างวัฒนธรรม เช่น ผู้อพยพ อาจเป็นสิ่งที่นำทักษะใหม่มาใช้ในธุรกิจ สิ่งนี้จะช่วยให้ธุรกิจเข้าสู่ตลาดทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ

3.เข้าใจผู้คนมากขึ้น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น มันช่วยให้เราทราบวิธีที่จะโต้ตอบกับผู้คนจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

4.การซึมซับวัฒนธรรม เราจะได้เห็นประเพณีใหม่ๆ ที่มีความงดงาม มีความหมายต่อผู้คน เป็นโอกาสที่จะเฝ้าดูเพื่อนำมาปรับใช้ร่วมกับวัฒนธรรมของประเทศ

5.เรียนรู้ภาษาที่แตกต่าง คุณสามารถเป็นเพื่อนกับผู้คนจากประเทศต่างๆ เมื่อได้สนทนากับพวกเขา คุณจะมีโอกาสที่จะเรียนรู้ภาษาของพวกเขาด้วย

6.แรงงานข้ามชาติที่มีทักษะ ประเทศที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ เป็นบ้านของผู้อพยพที่ส่วนใหญ่เป็นแรงงานที่มีทักษะสูง พวกเขาเหล่านี้มีความสามารถที่จะมาเป็นแรงงานที่ดีให้แก่ประเทศ หรือเป็นผู้สอนบุคคลากรที่ดี

7.โอกาสทางการศึกษา ถือเป็นเรื่องที่ดีเมื่อเด็กๆ จะได้เรียนรู้ถึงความแตกต่างของผู้คน ช่วยให้มองเห็นมุมมองที่ต่างกันออกไป ลดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ

8.ได้รู้จักประเพณีใหม่ๆ สังคมพหุวัฒนธรรมช่วยให้เราได้มีส่วนร่วมกับประเพณีใหม่ วัฒนธรรมใหม่ ได้เข้าถึงวิถีชีวิตของคนต่างถิ่น

ข้อเสียของสังคมแบบพหุวัฒนธรรม

1.ความขัดแย้งทางศาสนา ด้วยความเชื่อทางศาสนาที่แตกต่างกัน นำมาซึ่งความขัดแย้งมากมายภายในชุมชน จากตัวอย่างที่เห็นมากมายในประวัติศาสตร์

2.อุปสรรคทางภาษา ผู้คนที่มาจากต่างวัฒนธรรม ย่อมมีภาษาท้องถิ่นเป็นของตัวเอง บางครั้งก็เป็นอุปสรรคสำคัญในการสื่อสารให้เข้าใจ เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะสามารถพูดภาษาต่างถิ่นได้

3.วัฒนธรรมที่แตกต่าง เป็นเรื่องยากที่คนทั่วไปจะรับมือกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพื่อที่จะทำทำความเข้าใจความเชื่อและบรรทัดฐานของพวกเขา

4.ความเสี่ยงจากความขัดแย้งทางสังคม อาจเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลักความเชื่อที่ต่างกัน วิถีชีวิตบางอย่างอาจทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างคนสองกลุ่ม

5.นำความแตกต่างมาสู่สังคม คนจากต่างถิ่นมักจะนำข้าวของจากบ้านเกิดมาด้วย มีแนวโน้มที่คนท้องถิ่นจะไม่พอใจกับสิ่งเหล่านี้

6.การจัดการแรงงานที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็นเรื่องยาก มันเป็นเรื่องที่ท้าทายที่จะควบคุมแรงงานจากต่างถิ่น โดยเฉพาะผู้ที่มีความเชื่อแตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องยากที่จะให้แรงงานทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มันเป็นเรื่องที่ดีที่ผู้คนจะได้พบเจอกับความหลากหลาย ทำให้พวกเขาได้มีมุมมองที่แตกต่างออกไป แต่บ้างครั้งหลายคนก็เกิดความกลัวว่า วัฒนธรรมดั้งเดิมของพวกเขาจะถูกกลืนกินหรือเปล่า แม้ว่าทุกวันนี้เราจะเห็นผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนาอยู่ร่วมกัน แต่ในความคิดของพวกเขาก็ยังคงมีความแตกต่างตามหลักคำสอนของแต่ละวัฒนธรรม มีเพียงสิ่งเดียวที่ทุกคนมีร่วมกัน คือ “ความเป็นเพื่อนมนุษย์ที่ดีต่อกัน” ที่ทุกสังคมและศาสนาสอนให้เป็น สมัคร betflix

Post navigation

การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมควรดำเนินในลักษณะใด

หลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม คือการร่วมกันของชุมชนชาวพุทธ คือการให้ทาน พูดจาที่ไพเราะ ทำตนให้เป็นประโยชน์ ชุมชนชาวอิสลามส่งเสริมให้มีการพัฒนาเปิดกว้างแต่ละชุมชนสู่สังคมอย่างเท่าเทียมกัน ให้ทุกคนในสังคมหันมาเข้าใจความแตกต่าง และสนใจเรียนรู้ความแตกต่างกับความรู้ที่มีอยู่ 3. การอยู่ร่วมกัน ...

ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรมมีอะไรบ้าง

3. สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ วิถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนา และประเพณีปฏิบัติที่มีความแตกต่าง กัน เนื่องมาจากกระบวนการคิดและสัญลักษณ์ที่เกิดจากการสร้างของ วัฒนธรรม ปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้นทางสังคม และ การศึกษาซึ่งเป็นตัวกาหนดให้บุคคลมีความคิดความเชื่อ ความ ...

พหุวัฒนธรรม มีอะไรบ้าง

พหุวัฒนธรรม (MULTICULTURAL) คือ การอยู่รวมกลุ่มของคนที่มีความหลากหลายทางด้านต่างๆ เช่น ภาษา ศาสนา การแต่งกาย หรือสิ่งที่มีความหลาหลายมาผสมกลมกลืนกัน แต่อาจจะไม่กลมกลืนกันสักทีเดียว ซึ่งพหุวัฒนธรรมถูกนำมาเปรียบเทียบเป็นสิ่งต่างๆเพื่อให้เกิดภาพอย่างชัดเจน เช่น มีการเปรียบเทียบว่าเป็น พิซซ่า ที่มีการผสมโดยใช้ส่วนผสมต่างๆ ...

สังคมพหุวัฒนธรรมคืออะไรมีความสำคัญอย่างไร

ข้อดีของสังคมแบบพหุวัฒนธรรม อยู่สังคมร่วมกันอย่างมีความสุข 1.นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย ผู้อพยพจากประเทศต่างๆ จะนำแหล่งความรู้ประสบการณ์ที่หลากหลายเข้ามาเผยแพร่ พวกเขาช่วยปรับปรุงการค้า นำความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมมาสู่ประเทศ