การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี สาเหตุ

การผุพังอยู่กับที่เกิดจากหินได้รับการทำลายจากกรรมวิธีต่างๆจากธรรมชาติเช่นความร้อน ความเย็น ฝนเป็นต้นสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ขึ้น

เนื้อหาบทเรียน
การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทำลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้าอากาศกับน้ำฝน รวมทั้งการกระทำของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
ประเภทของการผุพังอยู่กับที่ การผุพังอยู่กับที่แบ่งไก้เป็น 2 ประเภทคือ
1.การผุพังเชิงกล
2.การผุพังเชิงเคมี
ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่เมื่อผ่านไปนานๆก็สามารถทำให้หินหรือสสารอื่นๆพังทลายลงได้
1. การผุพังอยู่กับที่เชิงกล (Mechanical Weathering) คือกระบวนการอยู่กับที่ที่ทำให้หินหือสสารอื่นๆแตกออกเป็นชิ้นๆได้ ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงกล
(1).ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด่านนอกของหินหลุดออกมาเป็นแผ่นๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนตัวเย็นลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้
(2.)การแข็งตัวและการละลาย เกิดจากน้ำที่อยู่ในรอยแตกของหินแข็งตัว น้ำจะขยายตัวออกทำให้รอยแยกของหินใหญ่มากขึ้นทำให้ถนนเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ
(3).เกิดเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยเกิดจากการไชชอนของรากต้นไม้ไปตามรอยแยกของหิน เมื่อรากต้นไม้ใหญ่ขึ้น ก็สามารถทำให้หินแตกออกได้
(4).การครูดถู เป็นการเสียดสีกันระหว่างหินกับทรายและเศษหินเล็กๆ ที่มากับน้ำ น้ำแข็ง ลมและแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
(5).การกระทำของสัตว์ พบว่าสัตว์ที่ขุดรูอยู่ในพื้นดิน เช่น หนู ตัวตุ่น แมลงบางชนิด ช่วยทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
(6).การกัดเซาะของแม่น้ำ แม่น้ำมักมีแหล่งต้นน้ำอยู่บริเวณภูเขาสูงซึ่งอาจไหลมาจากธารน้ำแข็งละลายหรือมีฝนตกหนักในเขตป่าเขา แม่น้ำตอนบนจะมีกระแสไหลเชี่ยว เกิดการกัดเซาะพื้นดินในแนวตั้งทำให้มีฝั่งเป็นหุบเขารูปตัววีเกิดขึ้น ตอนกลางของแม่น้ำเป็นระยะหน่วง ทำให้หุบเขากว้างขึ้น ฝั่งชันน้อยลง มีคุ้งน้ำมากขึ้น ในขณะที่แม่น้ำไหลไปตามคุ้งกระแสน้ำทางฝั่งด้านนอกของวงโค้ง จะไหลเร็ว จึงเกิดการกัดเซาะ
การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี สาเหตุ

2.การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี(Chemical Weathering) เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี ได้แก่
1. น้ำเป็นตัวการสำคัญที่สุด ที่ทำให้เกดการผุพังโดยการละลาย
2. แก็สออกซิเจน หินที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบจะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในสภาวะที่มีน้ำอยู่ด้วย และเกิดเป็นสนิม สนิมทำให้หินอ่อนตัวลงและแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และให้สีน้ำตาลหรือสีแดง
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สนี้จะเละลายรวมตัวกับน้ำฝนและน้ำที่อยู่ในชิ่งอากาศในดินทำให้เกิดเป็นกรดอ่อน เรียกว่า กรดคาร์บอร์นิก ซึ่งจะทำให้หินอ่อนและหินปูนผุพังลงได้
4. สิ่งมีชีวิต พบว่ารากพืชที่เติบโตขึ้นจะผลิตกรดอ่อนที่ละลายหินรอบๆรากได้และสิ่งที่คลายพืชที่เรียกว่า ไลเคน ที่เติบโตบนหิน จะสร้างกรดอ่อนที่ทำให้หินผุพังได้
ปัจจัยสำคัญต่ออัตราการผุพังอยู่กับที่ ขึ้นกับสิ่งต่อไปนี้
1.ภูมิอากาศ การผุพังอยู่กับที่เกิดขึ้นได้เร็วในภูมิอากาศร้อนชื้น และมีฝนตกอยู่เสมอ
2.ชนิดของหิน หินที่มีแร่ธาตุที่ละลายน้ำยากเป็นองค์ประกอบจะผุพังช้ากว่าหินที่มีแร่ธาตุที่ละลายน้ำง่ายเป็นองค์ประกอบเช่น หินชนวนจะคงทนหารผุพังได้ดีกว่าหินอ่อน
        ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ  ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ  เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้หินเกิดการผุพังทางเคมีขึ้นได้   เช่น  ในบรรยากาศจะมีก๊าซบางชนิดเช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อฝนละลายก๊าซดังกล่าวจะทำให้ฝนมีสมบัติเป็นกรดคาร์บอนิก  เมื่อน้ำดังกล่าวไหลไปตามลักษณะภูมิประเทศที่ประกอบด้วยหินที่มีสารประกอบแคลเซี่ยมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ เช่น หินปูน น้ำที่มีคุณสมบัติเป็นกรดคาร์บอนิกจะทำปฏิกิริยากับสารแคลเซียมคาร์บอเนต  จนทำให้หินกร่อนลงและมีลักษณะเว้าแหว่งหรือมีลักษณะตะปุ่มตะป่ำ   มีภูมิลักษณ์ที่มีลักษณะดังกล่าว คาสต์(karst)   ดังภาพ 4.9  และทำน้ำที่มีคุณสมบัติเป็นกรดคาร์บอนนิกไหลซึมลงสู่ใต้ดินและทำปฏิกิริยากับหินที่มีสารประกอบแคลเซี่ยมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ   ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นจะก้อนหินดังกล่าวจนทำให้เกิดเป็นโพรงหรือถ้ำใต้ดิน  และถ้ำพื้นที่ด้านบนของโพรงหรือถ้ำใต้ดินยุบหรือพังทลายลงเกิดเป็นหลุมยุบขึ้น

การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทำลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้าอากาศกับน้ำฝน รวมทั้งการกระทำของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ

ประเภทของการผุพังอยู่กับที่ การผุพังอยู่กับที่แบ่งไก้เป็น 2 ประเภทคือ

1.การผุพังเชิงกล

2.การผุพังเชิงเคมี

ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่เมื่อผ่านไปนานๆก็สามารถทำให้หินหรือสสารอื่นๆพังทลายลงได้

1. การผุพังอยู่กับที่เชิงกล (Mechanical Weathering) คือกระบวนการอยู่กับที่ที่ทำให้หินหือสสารอื่นๆแตกออกเป็นชิ้นๆได้ ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่เชิงกล

- ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด่านนอกของหินหลุดออกมาเป็นแผ่นๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนตัวเย็นลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้

- การแข็งตัวและการละลาย เกิดจากน้ำที่อยู่ในรอยแตกของหินแข็งตัว น้ำจะขยายตัวออกทำให้รอยแยกของหินใหญ่มากขึ้นทำให้ถนนเกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ

- เกิดเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยเกิดจากการไชชอนของรากต้นไม้ไปตามรอยแยกของหิน เมื่อรากต้นไม้ใหญ่ขึ้น ก็สามารถทำให้หินแตกออกได้

- การครูดถู เป็นการเสียดสีกันระหว่างหินกับทรายและเศษหินเล็กๆ ที่มากับน้ำ น้ำแข็ง ลมและแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้

- การกระทำของสัตว์ พบว่าสัตว์ที่ขุดรูอยู่ในพื้นดิน เช่น หนู ตัวตุ่น แมลงบางชนิด ช่วยทำให้หินที่ถูกเสียดสีเกิดการเปลี่ยนแปลงได้

- การกัดเซาะของแม่น้ำ แม่น้ำมักมีแหล่งต้นน้ำอยู่บริเวณภูเขาสูงซึ่งอาจไหลมาจากธารน้ำแข็งละลายหรือมีฝนตกหนักในเขตป่าเขา แม่น้ำตอนบนจะมีกระแสไหลเชี่ยว เกิดการกัดเซาะพื้นดินในแนวตั้งทำให้มีฝั่งเป็นหุบเขารูปตัววีเกิดขึ้น ตอนกลางของแม่น้ำเป็นระยะหน่วง ทำให้หุบเขากว้างขึ้น ฝั่งชันน้อยลง มีคุ้งน้ำมากขึ้น ในขณะที่แม่น้ำไหลไปตามคุ้งกระแสน้ำทางฝั่งด้านนอกของวงโค้ง จะไหลเร็ว จึงเกิดการกัดเซาะ

2. การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี(Chemical Weathering) เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี ได้แก่

- น้ำเป็นตัวการสำคัญที่สุด ที่ทำให้เกดการผุพังโดยการละลาย

- แก็สออกซิเจน หินที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบจะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในสภาวะที่มีน้ำอยู่ด้วย และเกิดเป็นสนิม สนิมทำให้หินอ่อนตัวลงและแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และให้สีน้ำตาลหรือสีแดง

- แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สนี้จะเละลายรวมตัวกับน้ำฝนและน้ำที่อยู่ในชิ่งอากาศในดินทำให้เกิดเป็นกรดอ่อน เรียกว่า กรดคาร์บอนิก ซึ่งจะทำให้หินอ่อนและหินปูนผุพังลงได้

- สิ่งมีชีวิต พบว่ารากพืชที่เติบโตขึ้นจะผลิตกรดอ่อนที่ละลายหินรอบๆรากได้และสิ่งที่คลายพืชที่เรียกว่า ไลเคน ที่เติบโตบนหิน จะสร้างกรดอ่อนที่ทำให้หินผุพังได้

ปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้

1. การผุพังทางกายภาพ เป็นกระบวนการที่ทำให้แร่และหินแตกตัวมีขนาดเล็กลง เช่น การผุพังเนื่องมาจากการหายไปของความดันที่เคยกดทับ ทำให้หินแตกเป็นกาบมน (พบมากกับหินแกรนิต) - การผุพังเนื่องจากน้ำมีการแข็งตัว เกิดในสภาพภูมิอากาศหนาว น้ำเมื่อเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง ปริมาตรจะขยายตัว 9%

                                                                   

                                                                                 

การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี สาเหตุ
       
การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี สาเหตุ

2. การผุพังทางเคมี เป็นกระบวนการผุพังที่ทำให้แร่และหิน เปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี และ/หรือละลายจากวัสดุต้นกำเนิด บริเวณสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นกระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ดี ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการดังกล่าว จะได้ตะกอน (แร่ใหม่) และสารละลาย    

ปฎิกิริยาที่เกิดจากกระบวนการผุพังทางเคมี ที่พบโดยทั่วไป คือ

 - ปฎิกิริยาการละลาย และปฎิกิริยาจากน้ำฝนที่เป็นกรดอ่อน เป็นปฎิกิริยาระหว่าง แร่ประกอบหิน เป็นแร่ที่สามารถละลายน้ำได้ (แร่เฮไลต์ ในหินเกลือ หรือแร่ยิปซัม ในหินยิปซั่ม) หรือแร่ แคลไซต์ ในหินปูน เช่น เกลือสินเธาว์ และแร่ยิปซั่ม ที่ละลายโดยน้ำใต้ดิน หินปูน ที่ละลายจากน้ำฝน และน้ำใต้ดิน 

- ปฎิกิริยาไฮโดรไลซิส เป็นปฎิกิริยาระหว่างแร่ประกอบหิน กับน้ำฝน หรือน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดแร่ใหม่ที่มีความแข็งแรงน้อยลง เช่น การเปลี่ยนของแร่โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ เปลี่ยนไป เป็นแร่เคลย์  

- ปฎิกิริยาออกซิเดชัน เป็นปฎิกิริยาที่ธาตุโลหะที่เป็นส่วนประกอบของแร่ ทำปฎิกิริยากับออกซิเจน เกิดเป็นแร่ใหม่ เช่น การเปลี่ยนของแร่แมกนีไทต์ ไปเป็นแร่ฮีมาไทต์ และการเปลี่ยนแปลงของแร่ไพไรต์ ไปเป็น ไลมอไนต์ (ข้าวตอกพระร่วง ) เป็นต้น

  3. การผุพังทางชีวะ กระบวนการผุพังทางชีวะ เป็นกระบวนการผุพังที่เป็นผลมาจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิต ที่เคลื่อนย้ายวัตถุต้นกำเนิด ออกจากบริเวณเดิม และ/หรือ การย่อยสลายวัถุต้นกำเนิด  กระบวนการผุพังทางชีวะสามารถจำแนก เป็น 2 กลุ่มตามขนาดของสิ่งมีชีวิต
                 - กระบวนการผุพังทางชีวะจากสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กไม่สามารถมองเห็นด้วยตา เช่นไลเคนที่เจริญเติบโตบนหิน

ตัวการที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ทางเคมีคือข้อใด

2. การผุพังอยู่กับที่เชิงเคมี(Chemical Weathering) เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ทางเคมี ได้แก่ น้ำเป็นตัวการสำคัญที่สุด ที่ทำให้เกดการผุพังโดยการละลาย

ตัวการที่ทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่มีอะไรบ้าง

การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทำลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้าอากาศกับน้ำฝน รวมทั้งการกระทำของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ

การผุพังทางกายภาพ มีอะไรบ้าง

การผุพังทางกายภาพ (physical weathering) การผุพังทางกายภาพ เป็นการผุพังที่เกิดขึ้นกับมวลหินแร่ในเชิงกล เช่น การแตกหักของหินที่เกิดจากการหด ขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง การแตกหักด้วยแรงน้ำ คลื่นลม เป็นต้น

การผุพังทางเคมี (Chemical Weathering) มีอะไรบ้าง

การผุพังทางเคมี (Chemical Weathering) เป็นกระบวนการผุพังของหิน จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน โดยอาศัยการทำปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างแร่ธาตุภายในหินและปัจจัยต่าง ๆ ในธรรมชาติ เช่น การสัมผัสกับน้ำ (น้ำฝน) ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศซึ่งสามารถทำให้เกิดสนิมหรือเกิดกรดชนิดต่าง ๆ ที่สามารถกัดกร่อนและย่อยสลาย ...