การผสมผสานดนตรีกับทัศนศิลป์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 มี 3 เรื่อง

การเปรียบเทยี บองค์ประกอบ
ดนตรีในงานศิลปะ

สร้างสรรค์
องค์ประกอบดนตรี

การเปรียบเทยี บความ การเลือกใช้องค์ประกอบ
แตกต่างของบทเพลง ดนตรีในการสร้างสรรค์

บทเพลง 1

ชั่วโมงที่ 2

การเปรียบเทยี บองค์ประกอบ
ดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

2

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี

3

เลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว

1. แสง สีใดเหมาะทจี่ ะใช้ประกอบการบรรเลงเพลงอตั รา
จงั หวะ 3 ช้ัน
ก แสง สีแดง
ข แสง สีน้ำเงิน
ค แสง สีสม้ เหลือง
ง ถกู ทกุ ขอ้

คาอธิบาย: ข ถูกตอ้ ง เพรำะแสง สีน้ำเงินเป็นสีในวรรณะสีเยน็ ใหค้ วำมรู้สึกเยน็ สบำย จึงเหมำะ
ท่ีจะนำมำใชป้ ระกอบกำรบรรเลงเพลงอตั รำจงั หวะ 3 ช้นั เนื่องจำกเป็นจงั หวะชำ้

4

2. “tempo” หมายถงึ ข้อใด
ก เสียง
ข ทำนอง
ค อตั รำจงั หวะ
ง กำรประสำนเสียง

คาอธิบาย: ค ถูกตอ้ ง เพรำะอตั รำจงั หวะ หมำยถึง “tempo”

5

3. ข้อใดเกยี่ วข้องกบั “เมโทรโนม”
ก เสียง
ข ทำนอง
ค อตั รำจงั หวะ
ง กำรประสำนเสียง

คาอธิบาย: ค ถูกตอ้ ง เพรำะเมโทรโนมเป็นเคร่ืองกำหนดควำมชำ้ –เร็วของอตั รำจงั หวะ

6

4. ข้อใดคือองค์ประกอบของดนตรี
ก จุดเด่น
ข ทำนอง
ค ผแู้ สดง
ง ควำมกลมกลืน

คาอธิบาย: ข ถูกตอ้ ง เพรำะทำนอง คือ องคป์ ระกอบของดนตรี เช่น ทำนองสนุกสนำน เป็นตน้

7

5. “เสียง” เปรียบเทยี บได้กบั องค์ประกอบทศั นศิลป์ ข้อใด
ก สี
ข จุดเด่น
ค รูปร่ำง รูปทรง
ง ควำมกลมกลืน

คาอธิบาย: ก ถูกตอ้ ง เพรำะสีเปรียบเทียบไดก้ บั เสียง

8

6. “ทำนอง” เปรียบเทยี บได้กบั องค์ประกอบนาฏศิลป์ ข้อใด
ก ผแู้ สดง
ข กำรเคล่ือนไหว
ค อำรมณ์และควำมรู้สึก
ง นำฏยศพั ทแ์ ละภำษำท่ำ

คาอธิบาย: ข ถูกตอ้ ง เพรำะกำรเคล่ือนไหวเปรียบเทียบไดก้ บั ทำนอง

9

7. ถ้านักเรียนเห็นวงดนตรีไทยใช้ตะโพนเป็ นเครื่องกาหนดจงั หวะ
แสดงว่าวงดนตรีวงน้ันกาลงั บรรเลงด้วยจงั หวะอะไร
ก จงั หวะฉิ่ง
ข จงั หวะสำมญั
ค จงั หวะ 3 ช้นั
ง จงั หวะหนำ้ ทบั

คาอธิบาย: ง ถูกตอ้ ง เพรำะจงั หวะหนำ้ ทบั เป็นกำรกำหนดจงั หวะดว้ ยเคร่ืองดนตรีท่ีขึงดว้ ยหนงั
เช่น กลอง ตะโพน เป็นตน้

10

8. ความหมายว่า “ชำ้ มำก ๆ” ตรงกบั คาศัพท์ข้อใด
ก grave
ข allegro
ค andante
ง moderato

คาอธิบาย: ก ถูกตอ้ ง เพรำะ grave มีควำมหมำยวำ่ “ชำ้ มำก ๆ”

11

9. การประสานเสียงโดยใช้เคร่ืองดนตรีพบได้ในวงดนตรีประเภทใด
ก วงดนตรีไทย
ข วงดนตรีสำกล
ค วงดนตรีพ้นื บำ้ น
ง ถูกทุกขอ้

คาอธิบาย: ง ถูกตอ้ ง เพรำะท้งั วงดนตรีไทย วงดนตรีสำกล และวงดนตรีพ้นื บำ้ น เป็นวงที่มีกำร
ประสำนเสียงโดยใชเ้ ครื่องดนตรีไดท้ ้งั หมด

12

10. เคร่ืองดนตรีในข้อใดทอี่ ยู่ในประเภทเดยี วกบั เปี ยโน
ก ทูบำ
ข ปิ กโกโล
ค แทมบูรีน
ง อิเลก็ โทน

คาอธิบาย: ง ถูกตอ้ ง เพรำะอิเลก็ โทนเป็นเคร่ืองลิ่มนิ้วเหมือนกบั เปี ยโน

13

ดนตรี ม. 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1
การเปรียบเทยี บองค์ประกอบ
ดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

เวลา 2 ชั่วโมง

14

นาเข้าสู่บทเรียน

องค์ประกอบของดนตรี ได้แก่อะไรบ้าง

แนวคาตอบ: องค์ประกอบ
ดนตรี เช่น เสียง ทานอง อตั ราจงั หวะ
การประสานเสียง เป็ นต้น

15

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

องค์ประกอบดนตรี

การเปรียบเทยี บ องค์ประกอบนาฏศิลป์
องค์ประกอบดนตรีใน
งานศิลปะแต่ละแขนง

องค์ประกอบทศั นศิลป์

16

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ ทานอง
(melody)
1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

องค์ประกอบดนตรี

เสียง
(tone)

อตั ราจงั หวะ การประสาน
(tempo) เสียง

(harmony)

17

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

เสียง (tone)

เกิดจากการส่ันสะเทือนของวัตถุ ถูกส่ งไปยังหูโดยผ่านช้ัน
บรรยากาศ เสียงท่ไี ด้ยนิ จะเป็ นอย่างไรน้ันขึน้ อยู่กบั แหล่งกาเนิดเสียง

ทานอง (melody) 18

ตัวโน้ตที่ประกอบรวมกันเป็ นประโยค
คล้ายกับภาษาพูด ทานองมีความหลากหลาย
แต กต่ า ง กัน ออกไ ป ต า ม จิน ต น า กา รข อง
ผู้ประพนั ธ์

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

อตั ราจังหวะ (tempo)
• บทเพลงจะมีการเคล่ือนท่ีของ
ทานองแตกต่ างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ
ผู้ประพนั ธ์ว่าจะให้มคี วามช้า–เร็วเท่าไร
• เครื่องกาหนดความช้า–เร็ว เรียกว่า
“เมโทรโนม”

การประสานเสียง (harmony)

การผสมผสานของเสียงมากกว่า 1 เสียง
ในแนวต้ังหรือในเวลาเดยี วกนั

19

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

ให้นักเรียนจบั คู่องค์ประกอบดนตรีกบั ความหมายให้ถูกต้อง

เสียง บทเพลงจะมกี ารเคล่ือนทีข่ องทานอง
ทานอง แตกต่างกนั ออกไป
อตั ราจังหวะ
การผสมผสานของเสียงมากกว่า 1 เสียง
ในแนวต้งั หรือในเวลาเดยี วกนั

เกดิ จากการสั่นสะเทือนของวตั ถุ ถูกส่งไป
ยงั หูโดยผ่านช้ันบรรยากาศ

การประสานเสียง ตวั โน้ตท่ปี ระกอบรวมกนั เป็ นประโยค
คล้ายกบั ภาษาพูด

20

บูรณาการอาเซียน

งานแสดงคอนเสิร์ต “The Born This Way Ball” ของ Lady Gaga
ศิลปิ นระดับโลกที่เดินทางแสดงไปท่ัวโลกรวมถึงประเทศสมาชิก
อาเซียน เช่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย เป็ นต้น

บนเวทมี ีการจัดฉาก แสง สีได้เหมาะสมกบั รูปแบบการแสดง และ
บทเพลง มีความงดงามตระการตา ซึ่งทาให้งานแสดงคอนเสิร์ตของ
ศิลปิ นระดับโลกท่านนี้มีความสมบูรณ์แบบ และสามารถสร้างความ
ประทบั ใจให้กบั ผู้ชมได้เป็ นอย่างมาก

21

ชั่วโมงที่ 3

การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรี
ในงานศิลปะแต่ละแขนง (ต่อ)

22

นาเข้าสู่บทเรียน

องค์ประกอบนาฏศิลป์ และทศั นศิลป์ มีอะไรบ้าง

แนวคาตอบ: องค์ประกอบนาฏศิลป์ ได้แก่
ผู้แสดง การเคล่ือนไหว อารมณ์และความรู้สึก
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า

ส่วนองค์ประกอบทศั นศิลป์ ได้แก่ สี
รูปร่าง รูปทรง จุดเด่น ความกลมกลืน เป็ นต้น

23

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ การ
เคล่ือนไหว
1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

องค์ประกอบนาฏศิลป์

ผู้แสดง

อารมณ์และ นาฏยศัพท์
ความรู้สึก และภาษาท่า

24

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

ผู้แสดง

บุคคลทถี่ ่ายทอดเร่ืองราวการแสดงหรือบทบาททีไ่ ด้รับมอบหมาย
ผ่านกริ ิยา ท่าทาง การเคลื่อนไหวสู่ผู้ชม

การเคลื่อนไหว 25

การแสดงออกทางลีลาท่ารา เป็ นการ
เคลื่อนไหวร่ างกายท่ีมีแบบแผนและ
สวยงาม การเคล่ือนไหวถือว่าเป็ นหัวใจ
สาคัญในการแสดงนาฏศิลป์ เพราะเป็ นสื่อ
ในการถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ แทนคาพูด

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

อารมณ์และความรู้สึก

การแสดงออกทางสีหน้าท่าทาง
เพื่อให้ผู้ชมได้รับรู้และเกิดอรรถรส
ร่วมในการชมการแสดง

นาฏยศัพท์และภาษาท่า

การแสดงท่าทางแทนคาพดู ทใ่ี ช้
สื่อให้เห็นถงึ อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ

26

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ รูปร่าง
รูปทรง
1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

องค์ประกอบทศั นศิลป์

สี

จุดเด่น ความ
กลมกลืน

27

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

สี

สีท่เี กดิ จากการสร้างสรรค์ของศิลปิ น
โดยการถ่ายทอดตามความเป็ นจริงใน
ธรรมชาตทิ าให้ผลงานมีมติ ิตื้น–ลกึ มี
ระยะใกล้–ไกล

รูปร่าง รูปทรง
รูปร่าง รูปทรงทเ่ี กดิ จากการ

สร้างสรรค์ของศิลปิ นตามจนิ ตนาการ
หรือการเลยี นแบบในส่ิงแวดล้อม

28

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

จุดเด่น
การให้ความรู้สึกเป็ นจุดดงึ ดูดความ
สนใจ สามารถทาได้หลายลกั ษณะด้วยกนั
เช่น การเน้นจุดเด่นด้วยสี เส้น แสง ขนาด
รูปร่าง รูปทรง

ความกลมกลืน

การสร้ างสรรค์ของศิลปิ นโดยการนา
ทัศนธาตุต่าง ๆ มาจัดวางในผลงานทัศนศิลป์
ให้กลมกลืน เข้ากนั ได้ดี ไม่ขดั แย้งกัน

29

1. การเปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

ตารางเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานศิลปะแต่ละแขนง

ดนตรี นาฏศิลป์ ทศั นศิลป์

เสียง ผู้แสดง สี

ทานอง การเคล่ือนไหว รูปร่าง รูปทรง

อตั ราจังหวะ อารมณ์และความรู้สึก จุดเด่น

การประสานเสียง นาฏยศัพท์และภาษาท่า ความกลมกลืน

30

1. การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะ

1.1 การเปรียบเทยี บองค์ประกอบดนตรีในงานศิลปะแต่ละแขนง

เตมิ คาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

ตารางเปรียบเทยี บองค์ประกอบในงานศิลปะแต่ละแขนง

ดนตรี นาฏศิลป์ ทศั นศิลป์

เสียง ผู้แสดง สี

ทานอง การเคลื่อนไหว รูปร่าง รูปทรง

อตั ราจังหวะ อารมณ์และความรู้สึก จุดเด่น

การประสานเสียง นาฏยศัพท์และภาษาท่า ความกลมกลืน

31

บูรณาการอาเซียน

ให้นักเรียนช่วยกันค้นคว้าข้อมูลงานแสดงคอนเสิร์ต ดนตรี หรือ
การแสดงของประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีการสร้างฉาก แสง สีอย่าง
โดดเด่นและน่าสนใจ

จากน้ันนามาวิเคราะห์ และบอกถึงแนวทางการประยุกต์ ใช้ ในการ
จัดงาน หรือกิจกรรมการแสดงในวันสาคัญของโรงเรียน แล้วจัดป้าย
นิเทศเพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้กบั ผู้ทสี่ นใจ

32

สรุป • เสียง
เช่น • ทานอง
องค์ประกอบดนตรี
• อตั ราจงั หวะ
• การประสานเสียง

การเปรียบเทยี บ • ผ้แู สดง
องค์ประกอบ ได้แก่
ดนตรีในงานศิลปะ องค์ประกอบนาฏศิลป์ เช่น • การเคล่ือนไหว
แต่ละแขนง • อารมณ์และความรู้สึก

• นาฏยศัพท์และภาษาท่า

องค์ประกอบทศั นศิลป์ • สี
เช่น • รูปร่าง รูปทรง
จุดเด่น
• ความกลมกลืน

33


ดนตรีและศิลปะเกี่ยวข้องกันอย่างไร *

ดนตรีเป็นศิลปะที่ต้องอาศัยเสียงเพื่อเป็นสื่อในการถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สึก ผู้ฟังไม่สามารถมองเห็นหรือจับต้องเสียงได้เหมือนศิลปะ แขนงอื่น มนุษย์เราต้องอาศัยการฟังโดยใช้หูเท่านั้นจึงจะสามารถรับรู้ และซาบซึ้งถึงความไพเราะของเสียงที่เกิดจากบทเพลงต่างๆได้ โดยบทเพลงต่างๆ จะต้องอาศัยองค์ประกอบซึ่งเป็นส่วนสาคัญของดนตรี และ ...

องค์ประกอบทางดนตรีและศิลปะมีความสําคัญอย่างไร

องค์ประกอบดนตรีมีความส าคัญต่อ บทเพลง เพราะเป็นสิ่งที่ท าให้บทเพลง มีความสมบูรณ์ ไพเราะ น่าฟัง อีกทั้ง เป็นสิ่งที่ท าให้ผู้ฟังเข้าใจบทเพลงมากขึ้น องค์ประกอบทางศิลปะเป็นสิ่งที่ใช้ในการ สร้างสรรค์งานศิลปะ เมื่อมีการน าดนตรีมา เกี่ยวข้อง จะท าให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงาน ด้านศิลปะที่น่าสนใจ

การแสดงดนตรี เป็นงานศิลปะแบบใด

ดนตรี ถือว่าเป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่มนุษย์นำเสียงมาเรียบเรียงและสอดประสานเข้าไว้รวมกันด้วย ความคิดสร้างสรรค์อย่างมีตรรกะและเป็นระบบแบบแผน โดยเสียงต่าง ๆ เหล่านั้นทําหน้าที่เป็นตัวกลางใน การสื่อสารเรืองราว และถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกถึงผู้ฟัง ดังนั้น ดนตรีจึงถูกนิยามให้เป็นโสดศิลป์ ๆ

ดนตรีจัดอยู่ในศิลปะประเภทใด

2. โสตศิลป์ (Aural Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการฟัง ได้แก่ ดนตรี และวรรณกรรม (ผ่านการอ่านหรือร้อง) 3. โสตทัศนศิลป์ (Audio Visual Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการฟังและการเห็นพร้อมกัน ได้แก่ นาฎกรรม การแสดง ภาพยนตร์ ซึ่งเป็นการผสมกันของวรรณกรรม ดนตรี และทัศนศิลป์ บางแห่งเรียกศิลปะสาขานี้ว่าศิลปะผสม (Mixed Art)