หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

ผู้จัดการ/รองผู้จัดการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางอัญชุลี ถ้ำกลาง

รองผู้จัดการรักษาการแทนผู้จัดการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางพิมพ์ปวีน์ ปรีดีวงษ์

รองผู้จัดการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวพิชญา แพทย์เกาะ

รักษาการรองผู้จัดการ

ฝ่ายสินเชื่อ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางบุษมาศ พันธุ์ขุนแก้ว

หัวหน้าฝ่ายสินเชื่อ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

ว่าที่ ร.ต.หญิงปาลิตา กรีย์สันเทียะ

เจ้าหน้าที่สินเชื่อ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวพรพรรณ ธิติธนรัชต์

เจ้าหน้าที่สินเชื่อ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวศศิธร ติชัยพะเนา

เจ้าหน้าที่สินเชื่อ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวยุวดี ฤาชา

เจ้าหน้าที่สินเชื่อ

ฝ่ายธุรการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางศิชัญญา แตงอยู่

หัวหน้าฝ่ายธุรการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางชฎาณิศ จีรรัศมิ์สกุล

เจ้าหน้าที่ธุรการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางพิมพ์พิศา เพชรรัตน์

เจ้าหน้าที่ธุรการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายกิตติ์ชพณจ์ พันธ์สง่า

เจ้าหน้าที่ธุรการ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายไชยเชษฐ์ สีสังบุญ

พนักงานขับรถยนต์

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายทวีผล ชุมศรี

นักการภารโรง

ฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายโสพล สงสันเทียะ

หัวหน้าฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายภรต วรจิตติ

เจ้าหน้าที่สมาชิกสัมพันธ์

ฝ่ายการเงิน

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางจิตตรี วงกรต

หัวหน้าฝ่ายการเงิน

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวพัชราภรณ์ เพิ่มพูลบุญ

เจ้าหน้าที่การเงิน

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาววารุณี เข็มกลัดทอง

เจ้าหน้าที่การเงิน

ฝ่ายบัญชี

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวลาวัลย์ ดีกระโทก

รักษาการหัวหน้าฝ่ายบัญชี

ฝ่ายทะเบียนหุ้นหนี้

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวปวีร์ลดา วงศ์อรัญวัตร

รักษาการหัวหน้าฝ่ายทะเบียนหุ้นหนี้

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวสุพรรณี น้อยสุวรรณ์

เจ้าหน้าที่ทะเบียนหุ้นหนี้

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวสุกัญญา ชุ่มขุนทด

เจ้าหน้าที่ทะเบียนหุ้นหนี้

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายเจษฎา จันทร์ฉาย

หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นายวรวิช เขาโคกกรวด

เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาววัชรากร เรียนไธสง

เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ

นิติกร

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวภูพิงค์ สร้างกลาง

นิติกร

ศูนย์ประสานงานสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขนครราชสีมา จำกัด

หน้าที่เจ้าหน้าที่สินเชื่อ สหกรณ์

นางสาวสุภาวดี สงสันเทียะ

เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงาน

แชร์เนื้อหานี้ :

การเป็นเจ้าหน้าที่สินเชื่อของสหกรณ์ สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อที่จะทำให้เงินกู้ที่จ่ายไปมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้วก็ต้องรอบคอบตั้งแต่การคัดเลือกผู้กู้ คือตั้งแต่เริ่มรับสมัครคนเข้ามาสมาชิกก็ต้องช่วยกันพินิจพิจารณาคัดเลือกผู้ที่จะเข้ามาเป็นสมาชิกให้ได้ตามคุณสมบัติที่ข้อบังคับและระเบียบกำหนดไว้ จะต้องไม่มีการเล่นพรรคเล่นพวกว่าเป็นคนของคนโน่นคนนี้ หรือลากเข้ามาลวก ๆ เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกให้ได้ตามแผนงาน โดยไม่ดูคุณภาพคนที่จะเข้ามาเป็นสมาชิก หรือเพื่อขอกู้เงินเพียงอย่างเดียว ผู้ที่จะเข้ามาเป็นสมาชิกและขอกู้เงินนั้นก็ต้องยินยอมพร้อมใจที่จะรับเอาระเบียบข้อบังคับของสหกรณ์มาปฏิบัติตามกติกาของสหกรณ์โดยสัตย์จริง และเมื่อถึงเวลากู้เงิน การทำคำขอกู้และหนังสือกู้เงินก็ต้องใช้ความรอบคอบระมัดระวังในการสอบสวนดูแลว่า มีความจำเป็นต้องกู้จริง ๆ และจำนวนเงินกู้ก็ต้องไม่สูงเกินกำลังความสามารถของผู้กู้ที่ส่งชำระคืนได้ตามสัญญา ก่อนทำ เอกสารการค้ำประกัน ใด ๆ ก็ต้องมีการตรวจสอบให้ถูกต้องเรียบร้อยตามที่กำหนดกติกาไว้ ต้องลงไปตรวจสอบสภาพที่ดิน กรณีที่สมาชิกนำที่ดินมาจำนองค้ำประกัน ก็ต้องละเอียดกันหน่อย ในการการตรวจสอบหลักประกันเงินกู้ โดยเฉพาะการประเมินราคาที่ดินก็ต้องทำตามรูปแบบหรือตามหลักวิชาการด้วย และควรทำแผนที่สังเขปที่ตั้งของที่ดินหลักทรัพย์ที่จะนำมาค้ำประกันเงินกู้ เสร็จแล้วก็รวบรวมเอกสารเสนอขออนุมัติเงินกู้ต่ออนุกรรมการหรือคณะกรรมการแล้วแต่กรณี เมื่อผ่านการอนุมัติแล้วก็นัดให้ผู้กู้มารับเงินกู้ พร้อมกันจะมีการประชี้แจงเรื่องสินเชื่อสหกรณ์ ให้ความรู้ธุรกิจสหกรณ์ที่แตกต่างจากธุรกิจทั่วไปหรือทบทวนคำมั่นสัญญาที่จะชำระคืนหรือหากวันหนึ่งวันใด ชำระหนี้ไม่ได้ตามข้อตกลงผู้กู้จะต้องปฏิบัติอย่างไร สหกรณ์จะทำการเตือนหรือให้ความช่วยเหลืออย่างไร ในวันรับเงินกู้นอกจากสมาชิกผู้กู้จะรับเงินจากเจ้าหน้าที่การเงินแล้ว ก็ควรจัดให้มีการตรวจการรับเงินกู้เป็นการสอบทานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะ เจ้าหน้าที่สินเชื่อก็ควรจะออกไปตรวจสอบการใช้เงินกู้ในพื้นที่ ถึงแปลงทำกินและบ้านอยู่อาศัยของผู้กู้ เพื่อดูความก้าวหน้าของการใช้เงินกู้ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และจำได้ทราบด้วยว่าผู้กู้ได้นำเงินกู้ไปใช้ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ จะได้ทำการบันทึกการติดตามตรวจสอบไว้เป็นหลักฐานและรายงานต่อสหกรณ์ หากมีการใช้เงินกู้ผิดวัตถุประสงค์ก็ควรแจ้งให้ผู้กู้ทราบและไปทำการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ของการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องต่อไป เมื่อหนี้ใกล้จะถึงกำหนดชำระ ก็จะต้องทำการแจ้งเตือนการชำระหนี้ให้ผู้กู้ทราบล่วงหน้าตามที่กำหนดไว้ในสัญญา โดยออกเป็นหนังสือเตือนหนี้ ควรจะส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับจะเป็นการยืนยันได้ดี ถ้าสมาชิกผู้กู้ปฏิบัติตามสัญญาก็ไม่น่าจะมีปัญหาอะไร แต่อาจจะมีบ้างที่ไม่รักษาสัญญา จึงเป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สินเชื่อสหกรณ์จะต้องวางแผนตรวจสอบการแจ้งชำระหนี้ รายงวด รายครบกำหนดสัญญา ครบกำหนดผ่อนเวลา ตรวจสอบการแบ่งชั้นหนี้และออกติดตามเร่งรัดหนี้ลูกหนี้ที่ผิดสัญญาแต่ละราย อาจจะไปปฏิบัติงานโดยลำพัง หรือตั้งทีมเร่งรัดหนี้ขึ้นมาก็ได้ ทุกครั้งที่มีการออกเร่งรัดหนี้เมื่อพบลูกหนี้ก็ให้มีการบันทึกถ้อยคำไว้เป็นหลักฐานรายงานเหตุผิดปกติที่เกิดขึ้นกับลูกหนี้

หรือจะทำทำหนังสือรับสภาพหนี้กรณีที่หนี้ใกล้จะหมดอายุความ หรือ หนังสือรับใช้หนี้ก็กรณีผู้กู้เสียชีวิต หรือหมดอายุความ การเร่งรัดหนี้อีกวิธีหนึ่งที่สหกรณ์นิยมปฏิบัติก็คือการประชุมเร่งรัดหนี้และให้การศึกษาอบรมกลุ่มสมาชิกไปพร้อม ๆ กัน ถ้าหนี้ได้รับการชำระหรือได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องตามระเบียบแล้วก็หมดปัญหา แต่ถ้ามีการดื้อแพ่ง ไม่ยอมชำระหนี้ มีการหนีหนี้ หรือเจตนาไม่ชำระ แม้จะใช้เทคนิคในการติดตามจนสุดความสามารถและหมดวิธีแล้ว ลูกหนี้ก็ยังคงดื้อไม่ยอมเจรจา หาคนไปช่วยพูดแล้วก็ไม่ฟัง ขั้นสุดท้ายก็จำเป็นจะต้องพิจารณาดำเนินคดีตามกฎหมาย ให้เป็นเยี่ยงอย่าง โดยเริ่มต้องแต่การจัดจ้างทนายความ เพื่อช่วยดำเนินการขั้นต้นในการยื่นโนตีส การบังคับคดี รวบรวมหลักฐานฟ้องร้องดำเนินคดี

จนถึงที่สุด สำหรับหนี้ที่จะสูญจริง ๆ ก็ต้องพิจารณาเสนอขอตัดหนี้สูญ ให้เป็นไปตามหลักการบัญชี แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่พยายามติดตามเรียกชำระหนี้คืน ซึ่งหนี้เหล่านี้ก็ยังคงเป็นรายได้ของสหกรณ์

บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สหกรณ์มีอะไรบ้าง

1. ปฎิบัติงานประจำของสหกรณ์ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ลุล่วงด้วยดี 2. ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายของคณะกรรมการดำเนินการ โดยศึกษานโยบายคณะกรรมการ ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ที่ผู้จัดการกำหนดไว้ รวมทั้งเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 เจ้าหน้าที่สหกรณ์เป็นภาพลักษณ์ขององค์กรในสายตามของสมาชิกและบุคคลทั่วไป

รองผู้จัดการมีหน้าที่อะไรบ้าง

ข้อ 4. รองผู้จัดการ มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ ปฏิบัติหน้าที่ตามคณะกรรมการดำเนินการหรือผู้จัดการมอบหมาย ในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการ ให้รองผู้จัดการทำหน้าที่ผู้จัดการ ในกรณีที่ผู้จัดการไม่อยู่ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองผู้จัดการเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน

สหกรณ์การเกษตร ทําอะไรบ้าง

สหกรณ์การเกษตรในรูปแบบหนึ่ง ที่มีการดำเนินการจัดสรรที่ดินทำกินให้ราษฎร การจัดสร้างปัจจัยพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกให้ผู้ที่อยู่อาศัยควบคู่ไปกับการดำเนินการจัดหาสินเชื่อ ปัจจัยการผลิตและสิ่งของที่จำเป็น การแปรรูปการเกษตร การส่งเสริมอาชีพ รวมทั้งกิจการให้บริการสาธารณูปโภคแก่สมาชิก

สหกรณ์มีบทบาทอย่างไรต่อการสนับสนุนเกษตรกร

โดยสหกรณ์จะจัดหาเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำมาให้สมาชิกกู้ไปลงทุนเพื่อการเกษตร ซึ่งสหกรณ์จะพิจารณาจากแผนดำเนินการหรือแผนการใช้เงินกู้ของสมาชิกประกอบ การให้เงินกู้ เช่น สหกรณ์อาจให้เงินกู้แก่สมาชิกเพื่อนำไปซื้อวัสดุการเกษตรค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในครอบครัว หรือเพื่อนำไปบุกเบิกปรับปรุงที่ดิน หรือจัดซื้อที่ดินการเกษตร