คู่มือหลักสูตร ปฐมวัย 2560

คู่มือหลักสูตร ปฐมวัย 2560
คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ดาวน์โหลดได้เลย !! ครูตอเต่า

Table of Contents

  • ลิ้งก์ดาวน์โหลดอยู่ด้านล่าง
  • ดาวน์โหลดที่ลิ้งก์ด้านล่าง
  • เกี่ยวกับเรา

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ดาวน์โหลดได้เลย !! ครูตอเต่า

ลิ้งก์ดาวน์โหลดอยู่ด้านล่าง

คู่มือหลักสูตร ปฐมวัย 2560
คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

ดาวน์โหลดที่ลิ้งก์ด้านล่าง

>> ดาวน์โหลดไฟล์ <<


และขอขอบคุณที่มา

เนื้อหาเพิ่มเติม

>> ดาวน์โหลดไฟล์อื่นๆ <<

เกี่ยวกับเรา

ครูตอเต่า และ krutortao.com ครูตอเต่าแบ่งปัน สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แจกฟรี สื่อการสอน แนะนำ สื่อการสอนฟรี สำหรับครู ดาวน์โหลดไฟล์ ใบงาน ใบความรู้ สื่อออนไลน์ แบบฝึกหัด ข้อสอบ ทุกรายวิชา แผนการสอน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไฟล์เอกสารฟรี ไฟล์หน้าปกฟรี บทความ เอกสารทางการศึกษา ไฟล์เอกสารประเมินวิทยฐานะ อบรมออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ รายงานการรอบรม เกียรติบัตร เพื่อให้ครูนำไปใช้เป็นในการจัดการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามข่าวการศึกษา ข่าวทั่วไป อัพเดททันต่อเหตุการณ์ สอบครูผู้ช่วย แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย รวมทั้งหมดไว้ที่นี่ krutortao.com เว็บไซต์เพื่อการศึกษา และยังสามารถติดตามได้ทางแฟนเพจ ครูตอเต่า อีกช่องทาง เพื่อพัฒนาการศึกษาไทย โดยไม่แสวงหาผลกำไรแต่อย่างใด

เข้าร่วมกลุ่มข่าวครูตอเต่า ไม่มีค่าใช้จ่าย !! “ครูตอเต่า” โปรดแตะลิงก์ด้านล่างเพื่อเข้าร่วมโอเพนแชทนี่

ชื่อเรื่อง : คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี ชื่อเรื่อง :

{{setMessages['title']}}

คำอธิบาย : คำอธิบาย : คำสำคัญ : - คำสำคัญ :ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :

{{setMessages['author']}}

ผู้แต่งร่วม :  สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ผู้ปกครอง, ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป สื่อสำหรับบุคคลประเภท :  

{{setMessages['relation.level']}}

ระดับชั้น :  

ปฐมวัย, ป.ตรี , ป.โท, ป.เอก, ปวช., ปทส., ปวส., การศึกษาตามอัธยาศัย

ระดับชั้น :  

{{setMessages['relation.level']}}

สาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาขาวิชาของสื่อ :  

{{setMessages['relation.subject']}}

ลักษณะของสื่อ :   หนังสือ ลักษณะของสื่อ :  

{{setMessages['relation.media']}}

URL : - URL : :

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๑. การสรา งรอยเชือ่ มตอ ระหวา งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กบั ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองนําเสนอรายละเอียดในการบริหารจัดการเกี่ยวกับ
การสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ โดยกําหนดบทบาทของ
บุคลากรที่เกีย่ วขอ ง วิธีการและการสรางความตระหนกั ใหผูทเี่ กย่ี วของไดเหน็ ความสาํ คญั และใหก ารชวยเหลือ
สนับสนุนเพื่อใหเด็กปฐมวัยปรับตัวพรอมรับการเปลี่ยนแปลง เชน ผูสอนระดับปฐมวัยมีการเตรียมความพรอม
ในการจดั กจิ กรรม เพอื่ นาํ ไปสกู ารจดั การเรยี นรใู นระดบั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ อยา งไร และผสู อนระดบั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑
ไดวางแผนเตรียมความพรอมสําหรับเด็กที่ขึ้นมาจากระดับปฐมวัยอยางไร ผูบริหารสถานศึกษามีการสนับสนุน
ชวยเหลืออยางไร ผูปกครองสงเสริมชวยเหลือบุตรหลานอยางไร เพราะการสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษา
ระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ มีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูของเด็ก หากเด็กสามารถ
ปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นได เด็กจะสามารถเรียนรูและมีพัฒนาการที่กาวหนา ถาหากเด็ก
ไมสามารถปรับตัวไดอาจกลายเปนอุปสรรคในการเรียนรูของเด็กในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ได เน่ืองจาก
รปู แบบและลกั ษณะในการจดั การเรยี นรขู องทงั้ สองระดบั ชน้ั มคี วามแตกตา งกนั จงึ จาํ เปน ตอ งไดร บั การสนบั สนนุ
และชว ยเหลอื ที่เหมาะสมจากผสู อน พอแม ผปู กครอง ชุมชน ตลอดจนบุคลากรอ่ืนๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง

๑๒. ภาคผนวก

สถานศกึ ษาสามารถนาํ เอกสารอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั การดาํ เนนิ การจดั ทาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
60 มาไวใ นภาคผนวกตามความเหมาะสม เชน ประกาศการใชห ลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั คาํ สงั่ แตง ตง้ั คณะกรรมการ

จัดทาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ฯลฯ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

บทที่ ๔

การจดั ประสบการณ

การจัดประสบการณสาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป เปน การจดั กิจกรรมในลกั ษณะการบรู ณาการผาน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การเลน ดว ยการลงมือปฏิบตั จิ ริงโดยใชป ระสาทสมั ผสั ทง้ั หา เพ่ือใหเ ดก็ ไดรับประสบการณต รงอยางหลากหลาย
เกดิ การเรยี นรู ไดพ ฒั นาทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา การจดั ประสบการณจ ะตอ งครอบคลมุ 61
ประสบการณสําคัญและสาระที่ควรเรียนรูท่ีกําหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และ
ควรยืดหยุนใหมีสาระท่ีควรเรียนรูที่เด็กสนใจและสาระท่ีควรเรียนรูท่ีผูสอนกําหนด การกําหนดกิจกรรม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ใหเด็กในแตละวันไมจัดเปนรายวิชา และอาจใชชื่อเรียกกิจกรรมแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน สําหรับ
การนําแนวคิดจากนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยตางๆ มาประยุกตใชในการจัดประสบการณ ผูสอน
ตองทําความเขาใจแนวคิดนวัตกรรมนั้นๆ ซ่ึงแตละนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยจะมีจุดเดนของตนเอง
แตโ ดยภาพรวมแลว นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาปฐมวยั สว นใหญย ดึ เดก็ เปน สาํ คญั การลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว ยตวั เดก็
จะเปน หัวใจสําคัญของการพฒั นาเดก็ โดยองครวม นอกจากน้ี ผสู อนตองศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในหลกั การจดั
ประสบการณ แนวทางการจดั ประสบการณ และการจัดกจิ กรรมประจาํ วัน ดงั นี้

๑. หลักการจดั ประสบการณ

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดกาํ หนดหลกั การจัดประสบการณไว ดงั น้ี
๑.๑ จัดประสบการณการเลนและการเรียนรูอยางหลากหลาย เพ่ือพัฒนาเด็กโดยองครวม
อยางสมดลุ และตอ เนอื่ ง
๑.๒ เนนเด็กเปนสําคัญ สนองความตองการ ความสนใจ ความแตกตางระหวางบุคคลและ
บริบทของสงั คมทเ่ี ด็กอาศัยอยู
๑.๓ จัดใหเด็กไดรับการพัฒนา โดยใหความสําคัญกับกระบวนการเรียนรูและพัฒนาการ
ของเดก็
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการใหเปนกระบวนการอยางตอเน่ือง และเปนสวนหนึ่งของการจัด
ประสบการณ พรอ มท้ังนาํ ผลการประเมินมาพฒั นาเด็กอยา งตอเนอ่ื ง
๑.๕ ใหพ อแม ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝายท่เี กย่ี วของ มีสว นรว มในการพัฒนาเดก็

๒. แนวทางการจัดประสบการณ

การจัดประสบการณสําหรบั เดก็ ปฐมวยั ควรดาํ เนินการตามแนวทางดังตอไปนี้
๒.๑ จัดประสบการณใหสอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการ และการทํางานของสมองที่เหมาะสม
กบั อายุ วุฒิภาวะ และระดบั พัฒนาการ เพอื่ ใหเ ดก็ ทุกคนไดพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณใหสอดคลองกับแบบการเรียนรูของเด็ก เด็กไดลงมือกระทํา เรียนรูผาน
ประสาทสมั ผสั ท้ังหา ไดเ คลื่อนไหว สํารวจ เลน สังเกต สบื คน ทดลอง และคิดแกป ญ หาดว ยตนเอง
๒.๓ จดั ประสบการณแ บบบรู ณาการ โดยบรู ณาการทัง้ กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู
๒.๔ จัดประสบการณใหเด็กไดคิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทํา และนําเสนอความคิด
โดยผูสอนหรอื ผจู ัดประสบการณเปน ผสู นับสนุน อํานวยความสะดวก และเรียนรรู วมกับเด็ก
๒.๕ จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับเด็กอื่น กับผูใหญ ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ
การเรยี นรูในบรรยากาศทอี่ บอุน มีความสขุ และเรยี นรูก ารทํากจิ กรรมแบบรว มมือในลักษณะตา งๆ
๒.๖ จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับส่ือและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย และอยูในวิถีชีวิต
ของเด็ก สอดคลอ งกับบริบทสังคมและวฒั นธรรมท่ีแวดลอมเด็ก
๒.๗ จัดประสบการณที่สงเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใชชีวิตประจําวัน ตามแนวทาง
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และการมีวนิ ัย ใหเ ปน สวนหน่งึ ของ
การจดั ประสบการณการเรียนรูอยา งตอ เนอ่ื ง
๒.๘ จัดประสบการณท้ังในลักษณะท่ีมีการวางแผนไวลวงหนา และแผนที่เกิดข้ึนในสภาพจริง
โดยไมไ ดค าดการณไ ว
62 ๒.๙ จัดทําสารนิทัศนดวยการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เปนรายบคุ คล นํามาไตรตรองเพอ่ื ใชใ หเปนประโยชนตอการพัฒนาเด็กและการวิจยั ในช้ันเรียน
๒.๑๐จดั ประสบการณโ ดยใหพ อ แม ครอบครวั และชมุ ชน มสี ว นรว มทงั้ การวางแผน การสนบั สนนุ
ส่อื และแหลงเรยี นรู การเขารว มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ

๓. การจดั กิจกรรมประจาํ วัน

กจิ กรรมประจาํ วนั สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป สามารถนาํ มาจดั ไดห ลายรปู แบบขนึ้ อยกู บั ความเหมาะสม
ในการนําไปใชของแตละหนวยงาน ซ่ึงเปนการชวยใหผูสอนทราบวา ในแตละวันจะทํากิจกรรมอะไร เม่ือใด
และอยางไร และที่สําคัญ ผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการ ทุกดาน การจัดกิจกรรม
ประจําวันมีหลักการจัดกิจกรรมประจําวัน ขอบขายของกิจกรรมประจําวัน และรูปแบบการจัดกิจกรรม
ประจาํ วัน ดงั นี้

๓.๑ หลักการจดั กจิ กรรมประจาํ วนั
การจัดกจิ กรรมประจาํ วันจะตอ งคาํ นึงถึงอายแุ ละความสนใจของเด็กในแตละชว งวัย ดังนี้
๓.๑.๑ กําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัยของเด็ก

ในแตละวนั แตส ามารถยืดหยนุ ไดต ามความตองการและความสนใจของเดก็ เชน
เดก็ วยั ๓ - ๔ ป มีความสนใจประมาณ ๘ - ๑๒ นาที
เดก็ วยั ๔ - ๕ ป มีความสนใจประมาณ ๑๒ - ๑๕ นาที
เด็กวัย ๕ - ๖ ป มีความสนใจประมาณ ๑๕ - ๒๐ นาที

๓.๑.๒ กิจกรรมที่ตองใชความคิดท้ังในกลุมเล็กและกลุมใหญ ไมควรใชเวลาตอเน่ือง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
นานเกนิ กวา ๒๐ นาที
63
๓.๑.๓ กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเลนเสรี เพ่ือชวยใหเด็กเรียนรูการเลือก การตัดสินใจ
การคิดแกปญหา และความคิดสรางสรรค ใชเวลาประมาณ ๔๐ - ๖๐ นาที เชน กิจกรรมการเลนตามมุม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
กจิ กรรมการเลนกลางแจง กจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรค

๓.๑.๔ กิจกรรมควรมีความสมดุลระหวางกิจกรรมในหองและนอกหอง กิจกรรมที่ใช
กลามเน้ือใหญและกลามเน้ือเล็ก กิจกรรมท่ีเปนรายบุคคล กลุมยอย และกลุมใหญ กิจกรรมท่ีเด็กเปนผูริเริ่ม
และผสู อนเปน ผูริเริ่ม กิจกรรมทีใ่ ชกาํ ลังและไมใ ชกาํ ลงั จดั ใหค รบทุกประเภท ทงั้ นี้ กิจกรรมที่ตอ งออกกําลงั กาย
ควรจดั สลบั กบั กิจกรรมท่ไี มต อ งออกกําลังมากนัก เพ่ือเด็กจะไดไ มเหนื่อยเกนิ ไป

๓.๒ ขอบขายของกิจกรรมประจาํ วนั
การเลือกกิจกรรมท่ีจะนํามาจัดในแตละวัน สามารถจัดไดหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับ

ความเหมาะสมในการนําไปใชของแตละหนวยงานและสภาพชุมชน ที่สําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรม
ใหครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ดานดังตอไปนี้

๓.๒.๑ การพัฒนากลามเน้ือใหญ เปนการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุน
ความคลองแคลว ในการใชอวัยวะตางๆ การประสานสัมพนั ธ และจงั หวะการเคล่ือนไหวในการใชกลามเนอ้ื ใหญ
โดยจดั กจิ กรรมใหเ ด็กไดเ ลน อิสระกลางแจง เลน เคร่อื งเลน สนาม เลน ปน ปายอยา งอสิ ระ และเคลอื่ นไหวรางกาย
ตามจังหวะดนตรี

๓.๒.๒ การพัฒนากลามเน้ือเล็ก เปนการพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อมือ - นิ้วมือ
และการประสานสัมพันธระหวางมือกับตาไดอยางคลองแคลว โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนเคร่ืองเลนสัมผัส
ฝกชว ยเหลือตนเองในการแตง กาย การหยิบจบั สิง่ ของและอุปกรณต า งๆ เชน ชอ น สอม สเี ทียน กรรไกร พกู นั
ดนิ เหนียว

๓.๒.๓ การพฒั นาอารมณ จติ ใจ และปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปนการปลูกฝงใหเด็ก
มีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอ่ืน มีความเช่ือม่ัน กลาแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย ประหยัด เมตตา
กรณุ า เอ้อื เฟอ แบงปน มีมารยาท และปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่นี ับถือ โดยจดั กิจกรรมตา งๆ
ผานการเลน ใหเ ดก็ ไดมโี อกาสตดั สนิ ใจเลอื ก ไดรบั การตอบสนองตามความตอ งการ ไดฝก ปฏิบัติโดยสอดแทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยา งตอเนอ่ื ง

๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เปนการพัฒนาใหเด็กมีลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอยาง
เหมาะสม และอยรู ว มกบั ผอู นื่ ไดอ ยา งมคี วามสขุ ชว ยเหลอื ตนเองในการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั มนี สิ ยั รกั การทาํ งาน
รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน รวมท้ังระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหนา ใหเด็กไดปฏิบัติ
กิจวัตรประจําวันอยางสม่ําเสมอ รับประทานอาหาร พักผอนนอนหลับ ขับถาย ทําความสะอาดรางกาย
เลนและทาํ งานรวมกบั ผอู ่ืน ปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า ขอตกลงของสวนรวม เก็บของเขาท่ีเมอื่ เลนหรอื ทํางานเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เปน การพฒั นาใหเดก็ มีความสามารถในการคดิ แกป ญหา การคิด
รวบยอด และการคิดเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดสังเกต จําแนก
เปรียบเทียบ สืบเสาะหาความรู สนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ศกึ ษานอกสถานที่ เลน เกมการศกึ ษา ฝก แกป ญ หาในชวี ติ ประจาํ วนั ฝก ออกแบบและสรา งชนิ้ งาน และทาํ กจิ กรรม

เปน รายบคุ คล กลุม ยอย และกลุมใหญ
๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เปนการพัฒนาใหเด็กใชภาษาในการส่ือสารถายทอดความรูสึก

ความคิด ความเขาใจในส่ิงตางๆ ที่เด็กมีประสบการณ โดยสามารถตั้งคําถามในสิ่งท่ีสงสัยใครรู จัดกิจกรรม

ทางภาษาใหมีความหลากหลายในสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรียนรู มุงปลูกฝงใหเด็กไดกลาแสดงออก

ในการฟง การพดู การอาน การเขียน มีนิสัยรกั การอาน และบคุ คลแวดลอมตอ งเปน แบบอยา งที่ดีในการใชภาษา

ทง้ั นี้ ตองคํานงึ ถงึ หลักการจดั กิจกรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกบั เดก็ เปนสําคัญ
๓.๒.๗ การสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการสงเสริมใหเด็กมี

ความคิดรเิ รมิ่ สรา งสรรค ไดถายทอดอารมณและความรสู กึ และเห็นความสวยงามของสิง่ ตางๆ โดยจดั กิจกรรม

ศิลปะสรางสรรค การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐส่ิงตางๆ อยางอิสระ เลนบทบาทสมมติ

เลนนา้ํ เลน ทราย เลนบล็อก และเลนกอ สรา ง
๓.๓ รูปแบบการจัดกจิ กรรมประจาํ วัน
การจดั ตารางกิจกรรมประจาํ วนั สามารถจัดไดห ลายรปู แบบ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยูกับความเหมาะสม

ในการนําไปใชของแตละหนวยงาน ท่ีสําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการทุกดาน

จงึ ขอเสนอแนะสดั สวนเวลาในการพฒั นาเด็กแตละวนั ดงั นี้

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐64 รายการการพฒั นา อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป อายุ ๕ - ๖ ป
ชว่ั โมง : วนั ชั่วโมง : วนั ช่วั โมง : วัน
๑. การพัฒนาทกั ษะพื้นฐานในชีวิตประจาํ วัน (ประมาณ) (ประมาณ) (ประมาณ)
(รวมท้ังการชว ยตนเองในการแตงกาย การรบั ประทาน
อาหาร สขุ อนามัย และการนอนพกั ผอน) ๓ ๒ ๑/๒ ๒ ๑/๔
๒. การเลนเสรี
๓. การคดิ และความคดิ ริเริม่ สรางสรรค ๑๑๑
๔. กจิ กรรมดานสงั คม (การทาํ งานรวมกับผูอน่ื )
๕. กจิ กรรมพัฒนากลามเนือ้ ใหญ ๑๑๑
๖. กิจกรรมที่มกี ารวางแผนโดยผูสอน
๑/๒ ๓/๔ ๑
เวลาโดยประมาณ
๓/๔ ๓/๔ ๓/๔

๓/๔ ๑ ๑

๗๗๗

หมายเหตุ
๑. การจัดสัดสวนของเวลาในแตละวันท่ีเสนอไวสามารถปรับและยืดหยุนได ทั้งน้ี ข้ึนอยู

กบั ผสู อนและสภาพการณ โดยยดึ หลกั การจดั กจิ กรรมประจําวนั ประกอบ

๒. รายการการพฒั นาทน่ี าํ เสนอใหค วามสาํ คญั กบั ทกั ษะพน้ื ฐานในชวี ติ ประจาํ วนั ทง้ั นี้ เนอ่ื งจาก ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การศกึ ษาปฐมวยั เปน การศกึ ษาขน้ั แรกทที่ าํ ใหเ ดก็ ชว ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาํ วนั ซงึ่ เดก็ อายุ ๓ ป
ตอ งใหเ วลาในการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั มาก และเมอื่ เดก็ อายมุ ากขนึ้ สดั สว นเวลาทที่ าํ กจิ วตั รประจาํ วนั จะนอ ยลง 65
ตามลําดบั เนอ่ื งจากเดก็ ชว ยเหลอื ตนเองไดมากขน้ึ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๓. การจัดกิจกรรมการเลนเสรี เปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับเด็กปฐมวัย ชวยให
เดก็ รูจกั เลอื กตดั สินใจ คิดแกปญ หา คิดสรา งสรรคใ นแตละวัน เดก็ ทกุ วัยควรมีโอกาสเลน เสรี ๑ ช่ัวโมง : วัน

๔. การคิดและความคิดสรางสรรค ทําใหเด็กเกิดความคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
มีความสามารถในการแกป ญ หาและตดั สนิ ใจ มีจินตนาการและความคดิ สรางสรรค

๕. กิจกรรมดานสังคม เปนกิจกรรมท่ีเด็กไดพัฒนาลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอยาง
เหมาะสม มีปฏิสัมพันธและอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข แตเด็กท่ีอายุนอยยังยึดตัวเองเปนศูนยกลาง
ดังน้ัน การใหเ วลาในชว งวยั ๓ - ๔ ป จงึ ใหเวลานอยในการทาํ กจิ กรรมกลุมและจะเพิ่มเวลาเมอื่ เดก็ อายุมากขึ้น
เพราะเดก็ ตองการเวลาในการทาํ กจิ กรรมรวมกับคนอน่ื มากขนึ้

๖. การจัดกิจกรรมพัฒนากลามเนื้อใหญ เปนกิจกรรมท่ีชวยใหเด็กมีรางกายแข็งแรง
มีการทรงตัวที่ดี มีการยืดหยุนและความคลองแคลวในการใชอวัยวะตางๆ ตามจังหวะการเคล่ือนไหวและ
การประสานสมั พันธก นั

๗. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผูสอน (ใหคิดรวบยอดโดยผูสอน) จะชวยใหเด็กเกิด
ทักษะหรือความคดิ รวบยอดในเร่ืองใดเรอื่ งหนึง่ ตามสาระการเรียนรูท กี่ าํ หนดไวในหลักสูตร เชน ผสู อนตอ งการ
ใหเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับน้ํา ผูสอนตองวางแผนกิจกรรมลวงหนา เวลาท่ีใชในแตละวันท่ีกําหนดไว
๓/๔ ชั่วโมง (๔๕ นาที) ในเด็กอายุ ๓ ป มิไดหมายความวาใหผูสอนสอนตอเน่ือง ๔๕ นาที ใน ๑ กิจกรรม
เพ่ือใหเด็กเกิดความคิดรวบยอด ผูสอนตองพิจารณาวาตามพัฒนาการเด็กมีชวงความสนใจสั้น จะตอง
จัดแบงเวลาเปนหลายชว ง เด็กอาจถกู สอนความคิดรวบยอดเร่อื งนาํ้ ในกิจกรรมอืน่ ๆ

การจัดตารางกิจกรรมประจําวัน ผูสอนสามารถปรับใชไดตามความเหมาะสมของบริบท
แตละสถานศึกษา และแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยของนวัตกรรมท่ีนํามาใชในการจัดประสบการณ
กิจกรรมท่ีจัดใหเด็กในแตละวัน อาจใชชื่อเรียกกิจกรรมแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน ดังตัวอยางตาราง
กิจกรรมประจาํ วนั ตอ ไปน้ี

ตวั อยางตารางกิจกรรมประจาํ วัน

ตวั อยางแบบที่ ๑ ตวั อยา งแบบท่ี ๒

๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. รบั เด็ก ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. รับเดก็

๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. เคารพธงชาติ สวดมนต ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. เคารพธงชาติ สวดมนต

๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. ตรวจสขุ ภาพ ไปหองนํ้า ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น. กิจกรรมดนตรแี ละจังหวะ/
กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ

๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. กจิ กรรมศิลปะสรา งสรรคและ
กิจกรรมการเลน ตามมมุ

๐๙.๒๐ - ๑๐.๒๐ น. กจิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรคแ ละ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๐ น. พกั (รบั ประทานอาหารวาง)
กจิ กรรมการเลน ตามมมุ

๑๐.๒๐ - ๑๐.๓๐ น. พัก (รบั ประทานอาหารวาง) ๑๐.๔๐ - ๑๑.๒๐ น. กจิ กรรมการเลนกลางแจง

๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. กจิ กรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรม ๑๑.๒๐ - ๑๑.๓๐ น. พกั (รับประทานอาหารวา ง)
ในวงกลม

๑๐.๔๕ - ๑๑.๓๐ น. กิจกรรมการเลนกลางแจง ๑๑.๓๐ - ๑๑.๕๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรม
ในวงกลม
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. พัก (รับประทานอาหารกลางวัน) ๑๑.๕๐ - ๑๓.๐๐ น. พัก (รับประทานอาหารกลางวัน)

๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. นอนพักผอ น ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. นอนพกั ผอน

๑๔.๐๐ - ๑๔.๒๐ น. เก็บทีน่ อน ลา งหนา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๑๐ น. เก็บทีน่ อน ลางหนา

๑๔.๒๐ - ๑๔.๓๐ น. พกั (รับประทานอาหารวา ง) ๑๕.๑๐ - ๑๕.๓๐ น. พัก (รบั ประทานอาหารวา ง)

66 ๑๔.๓๐ - ๑๔.๕๐ น. เกมการศึกษา ๑๕.๓๐ - ๑๕.๕๐ น. เกมการศึกษา เลานทิ าน

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑๔.๕๐ - ๑๕.๐๐ น. เตรยี มตวั กลับบาน ๑๕.๕๐ - ๑๖.๐๐ น. เตรียมตวั กลับบาน

หมายเหตุ
หากมีเหตุการณอื่นใดที่เด็กสนใจเกิดข้ึน ผูสอนควรนํามาจัดประสบการณไดทันที หรือกิจกรรม
วันสําคัญของทองถนิ่ กจิ กรรมศกึ ษานอกสถานทกี่ ็อาจงดกิจกรรมประจําวันในชว งเวลานั้น แลว พาเด็กไปศึกษา
นอกสถานทีไ่ ด

๑. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเคล่ือนไหวสวนตางๆ ของรางกาย
67
อยา งอสิ ระตามจงั หวะ โดยใชเ สยี งเพลง คาํ คลอ งจอง เครอื่ งเคาะจงั หวะ และอปุ กรณอ นื่ ๆ มาประกอบการเคลอื่ นไหว
ซึง่ จังหวะและดนตรีท่ใี ชป ระกอบ ไดแ ก เสียงตบมอื เสียงเพลง เสียงเคาะไม เคาะเหล็กกรุง กร๋งิ ราํ มะนา กลอง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
กรับ ฯลฯ มาประกอบการเคล่ือนไหวเพ่ือสงเสริมใหเด็กเกิดจินตนาการความคิดสรางสรรค เด็กวัยนี้รางกาย
กาํ ลงั อยูในระหวา งพัฒนาการใชส วนตางๆ ของรางกาย ยังไมป ระสานสมั พนั ธกนั อยา งสมบรู ณ

จุดประสงค
๑. เพอ่ื พฒั นาอวัยวะทกุ สวนใหม คี วามสมั พนั ธกนั อยา งดใี นการเคลือ่ นไหว
๒. เพ่ือฝกทักษะภาษา ฝกฟง คําส่ัง และขอตกลง
๓. เพ่ือใหเกดิ ความซาบซง้ึ และสนุ ทรียภาพในการเคล่ือนไหว
๔. เพือ่ พฒั นาดา นสงั คม การปรับตัวและความรวมมือในกลุม
๕. เพ่ือใหโอกาสเด็กไดแ สดงออก และความคิดริเริม่ สรา งสรรค
๖. เพื่อใหเกดิ ความสนกุ สนาน ผอ นคลายความตงึ เครียด
๗. เพอ่ื ใหไดรบั ประสบการณ สนกุ สนาน ร่ืนเรงิ จากการเคลือ่ นไหว และจังหวะแบบตางๆ

ขอบขา ย/เน้ือหา/กิจกรรม

๑. กจิ กรรมการเคลอื่ นไหวพนื้ ฐาน เปน กจิ กรรมทตี่ อ งฝก ทกุ ครงั้ กอ นทจี่ ะเรมิ่ ฝก กจิ กรรมอนื่ ๆ ตอ ไป
ลักษณะการจัดกิจกรรมมีจุดเนนในเร่ืองจังหวะและการเคลื่อนไหวหรือทาทางอยางอิสระ การเคล่ือนไหว
ตามธรรมชาติของเดก็ มี ๒ ประเภท คอื การเคลอ่ื นไหวอยูกับที่ เชน ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา ชันเขา เคาะเทา
เคลอื่ นไหวมอื และแขน มอื และนว้ิ มอื เทา และปลายเทา การเคลอ่ื นไหวเคลอื่ นท่ี เชน คลาน คบื เดนิ วง่ิ กระโดด
ควบมา กา วกระโดด เขยง กา วชดิ

โดยกิจกรรมการเคลอื่ นไหวพ้นื ฐานอาจดําเนินการ ดังนี้
๑.๑ ใหเด็กทราบถึงขอตกลงรวมกันในการกําหนดสัญญาณและจังหวะ โดยผูสอนตองทํา
ความเขา ใจกับเด็กกอ นวา สัญญาณนั้นหมายถึงอะไร เชน

(๑) ใหจ งั หวะ ๑ ครง้ั สมาํ่ เสมอ แสดงวา ใหเ ดก็ เดนิ หรอื เคลอื่ นไหวไปเรอื่ ยๆ ตามจงั หวะ
(๒) ใหจ งั หวะ ๒ คร้ังตดิ กนั แสดงวา ใหเ ด็กหยดุ การเคลอื่ นไหว โดยเด็กจะตอ งหยดุ น่ิง
จริงๆ หากกําลงั อยูในทา ใด กต็ อ งหยุดน่ิงในทา น้ัน จะเคล่อื นไหวหรือเปลยี่ นทาไมไ ด
(๓) ใหจงั หวะรัว แสดงวา ใหเด็กเคลือ่ นไหวอยางเร็ว หรือเคลอื่ นทเี่ ร็วขึน้ เชน การฝก
การเปนผนู าํ หรอื ผูตามจะหมายถงึ การเปลยี่ นตาํ แหนง
๑.๒ ใหเด็กเคลื่อนไหวอยางอิสระตามความคิดหรือจินตนาการของตนเอง โดยใชสวนตางๆ
ของรางกายใหมากท่ีสุด และขณะเดียวกันตองคํานึงถึงองคประกอบพ้ืนฐานในการเคลื่อนไหว ซ่ึงไดแก การใช
รางกายตนเอง การใชพ นื้ ท่บี รเิ วณ การเคลื่อนไหวอยางมีอิสระ มรี ะดบั และทศิ ทาง

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๒. กิจกรรมการเคลื่อนไหวท่ีสัมพันธกับเน้ือหา เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดเคลื่อนไหวรางกาย
โดยเนนการทบทวนเรื่องท่ีไดรับรูจากกิจกรรมอื่น และนํามาสัมพันธกับสาระการเรียนรูหรือเร่ืองอื่นๆ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ทเ่ี ด็กสนใจ ไดแก

๒.๑ การเคล่ือนไหวเลียนแบบ เปนการเคล่ือนไหวเลียนแบบสิ่งตางๆ รอบตัว เชน
การเลียนแบบทาทางสัตว การเลียนแบบทาทางคน การเลียนแบบเครื่องยนตกลไกและเคร่ืองเลน และ
การเลียนแบบปรากฏการณธ รรมชาติ

๒.๒ การเคลื่อนไหวตามบทเพลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทางประกอบเพลง เชน
เพลงไก เพลงขามถนน เพลงสวสั ดี

๒.๓ การทําทาทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคําคลองจอง เปนการทําทาทางการ
บริหารกายบริหารตามจังหวะและทํานองเพลงหรือคําคลองจอง เชน เพลงกํามือแบมือ เพลงออกกําลังกาย
รับแสงตะวัน คําคลองจองฝนตกพรําพราํ

๒.๔ การเคล่ือนไหวเชิงสรางสรรค เปนการเคลื่อนไหวที่ใหเด็กคิดสรางสรรคทาทางขึ้นเอง
หรอื อาจชี้นําดวยการปอนคาํ ถามเคล่ือนไหวโดยใชอ ปุ กรณป ระกอบ เชน หวงหวาย แถบผา รบิ บ้ิน ถุงทราย

๒.๕ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามคําบรรยายหรือเร่อื งราว เปนการเคลื่อนไหว
หรือแสดงทา ทางตามจนิ ตนาการจากเรือ่ งราว หรอื คําบรรยายที่ผูสอนเลา

๒.๖ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามคําส่ัง เปนการเคล่ือนไหวหรือทําทาทาง
ตามคาํ สง่ั ของครู เชน การจัดกลุมตามจํานวน การทาํ ทาทางตามคําสง่ั
68 ๒.๗ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามขอตกลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทาง
ตามขอตกลงที่ไดต กลงไวกอ นเรมิ่ กิจกรรม

๒.๘ การเคลอื่ นไหวหรอื การแสดงทา ทางเปน ผนู าํ ผตู าม เปน การเคลอ่ื นไหวหรอื ทาํ ทา ทาง
จากความคิดสรางสรรคของเดก็ เอง แลว ใหเ พ่อื นปฏบิ ัติตามกจิ กรรม

จากรูปแบบการเคล่ือนไหวขางตน ลักษณะการเคล่ือนไหวของเด็กอาจมีลักษณะตางๆ เชน
ชา เรว็ นมุ นวล ทาํ ทา ทางขงึ ขงั รา เรงิ มคี วามสขุ หรอื เศรา โศกเสยี ใจ และมที ศิ ทางการเคลอ่ื นไหวทแ่ี ตกตา งกนั เชน
การเคลื่อนไหวไปขางหนา และขา งหลงั ไปขา งซา ยและขางขวา เคลอ่ื นตัวข้นึ และลง หรอื เคลื่อนไหวรอบทิศทาง
โดยใหมีระดับของการเคลื่อนไหวสงู กลาง และต่าํ ในบริเวณพ้นื ท่ีท่ีเดก็ ตองการเคล่อื นไหว

ส่อื กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ

๑. เครอ่ื งเคาะจงั หวะ เชน ฉิง่ เหลก็ สามเหลี่ยม กรับ รํามะนา กลอง
๒. อุปกรณประกอบการเคล่ือนไหว เชน หนังสือพิมพ ริบบิ้น แถบผา หวงหวาย หวงพลาสติก
ถุงทราย

ขอเสนอแนะ

๑. ควรเร่ิมกิจกรรมจากการเคลื่อนไหวที่เปนอิสระ และมีวิธีการท่ีไมยุงยากมากนัก เชน ใหเด็ก
ไดเ คล่อื นไหวกระจายอยภู ายในหอง และใหเ คลอ่ื นไหวไปตามธรรมชาติของเดก็

๒. ควรใหเด็กไดแสดงออกดวยตนเองอยางอิสระ และเปนไปตามความนึกคิดของเด็กเอง ผูสอน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ไมควรชแี้ นะ
69
๓. ควรเปด โอกาสใหเ ดก็ คดิ หาวธิ เี คลอื่ นไหว ทง้ั ทต่ี อ งเคลอ่ื นทแี่ ละไมต อ งเคลอ่ื นท่ี เปน รายบคุ คล
เปน คู เปน กลมุ ตามลาํ ดับ และกลมุ ไมควรเกนิ ๕ - ๖ คน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๔. ควรใชวัสดุที่อยูใกลตัวเด็ก เชน ของเลน กระดาษหนังสือพิมพ เศษผา เชือก ทอนไม
ประกอบการเคลือ่ นไหวและการใหจ งั หวะ

๕. ควรกําหนดจังหวะสัญญาณนัดหมายในการเคลื่อนไหวตางๆ เชนการเปลี่ยนทาหรือหยุด
ใหเ ดก็ ทราบเม่ือทาํ กจิ กรรมทุกครงั้

๖. ควรสรางบรรยากาศอยางอสิ ระ ใหเ ด็กรสู ึกอบอุน เพลดิ เพลนิ และรสู ึกสบาย สนกุ สนาน
๗. ควรจดั ใหม รี ูปแบบของการเคลื่อนไหวทห่ี ลากหลาย เพื่อชว ยใหเ ดก็ สนใจมากขึน้
๘. กรณีเดก็ ไมย อมเขารว มกจิ กรรม ผสู อนไมควรใชวิธบี ังคบั ควรใหเ วลาและโนม นา วใหเดก็ สนใจ
เขารว มกิจกรรมดว ยความสมัครใจ
๙. ควรจัดใหม เี กมการเลน ทีไ่ มเ นนการแขง ขนั เพ่ือกระตนุ เรา ความสนใจของเด็กมากข้ึน
๑๐. การจัดกิจกรรมควรจัดตามกําหนดตารางกิจกรรมประจําวัน และควรจัดใหเปนที่นาสนใจ
เกดิ ความสนุกสนาน
๑๑. ใหเ ลนเปนเร่ืองราว โดยการเลาใหเ ดก็ ฟง เดก็ เกดิ จนิ ตนาการและเคลอื่ นไหวไปตามเรอื่ งนั้นๆ
๑๒. หลังจากเด็กไดทํากิจกรรมแลว ตองใหเด็กไดพักผอน โดยอาจเปดเพลงจังหวะชาๆ เบาๆ
ท่สี รา งความรสู กึ ใหเ ดก็ อยากพักผอน

๒. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม

กิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม เปนกิจกรรมท่ีมุงเนนใหเด็กไดพัฒนาทักษะ
การเรียนรู ทักษะการฟง การพูด การสงั เกต การคิดแกป ญ หา การใชเหตผุ ล และปฏิบัติการทดลอง โดยการฝก
ปฏิบัติรวมกัน และการทํางานเปนกลุม ทั้งกลุมยอยและกลุมใหญ เพื่อใหเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเร่ืองที่
ไดเรียนรูมากกวาเน้ือหา เมื่อเกิดการเรียนรูตามกระบวนการจะทําใหเด็กเกิดความรูความเขาใจในเนื้อหาน้ันๆ
ดวยตนเอง

จุดประสงค

๑. เพ่อื ฝก ทักษะกระบวนการคิดพ้ืนฐาน การมสี มาธใิ นการทาํ งานยดื ระยะความสนใจ
๒. เพื่อฝก การใชภ าษาในการฟง การพดู และการถา ยทอดเร่อื งราว
๓. เพอ่ื ฝกมารยาทในการฟง การพูด
๔. เพื่อฝกความรบั ผิดชอบ และปฏิบัติตามขอตกลง
๕. เพ่อื ใหเดก็ เรียนรูผานการสงั เกต มีความอยากรูอยากเห็นสิง่ แวดลอมรอบตัว
๖. เพ่อื สงเสรมิ ความสามารถในการคิดรวบยอด การคดิ แกป ญ หาและตดั สนิ ใจ
๗. เพือ่ สง เสริมการเรียนรู วิธีแสวงหาความรู เกดิ การเรียนรูจ ากการคนพบดวยตนเอง
๘. เพื่อฝกการกลาแสดงออก รวมแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล และยอมรับฟงความคิดเห็น
ของผูอ ่ืน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขอบขาย/เนอ้ื หา/กิจกรรม

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ นาํ เนอ้ื หาและรายการประสบการณใ นหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มาบรู ณาการการจดั ประสบการณ
การเรียนการสอน โดยยึดข้ันตอนการเรียนรูประสบการณที่อยูใกลตัวเด็กไปยังสิ่งท่ีอยูไกลตัวเด็กมาเปนแกน
ในการจดั หนวยการจดั ประสบการณ

แนวการจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ/ กิจกรรมในวงกลม

การจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรมในวงกลม (ควรใชเวลา ๑๕ - ๒๐ นาที) ถานานเกนิ ไป
หรือกิจกรรมไมน าสนใจ เด็กเบ่ือทาํ ใหไมอ ยูนิง่ ในการดาํ เนินกจิ กรรมจะมีวธิ ดี ําเนินกจิ กรรม ๓ ข้นั ตอน คือ

๑. ข้ันนํา เขาสูบทเรียน เปนการเตรียมเด็กใหพรอมและกระตุนใหเด็กสนใจที่จะรวมกิจกรรม
ตอไป กิจกรรมทใ่ี ชอ าจปน การรองเพลง คําคลอ งจอง ปริศนาคําทาย ทา ใบ ฯลฯ ซ่งึ จะใชร ะยะเวลาสั้นๆ

๒. ข้ันสอน เปนการจัดกิจกรรมท่ีตองการใหเด็กไดรับความรูและประสบการณดวยกิจกรรม
หลายรูปแบบ เชน

๒.๑ การสนทนาหรือการอภิปราย เปนการพูดคุยซักถามระหวางเด็กกับผูสอน หรือเด็ก
กับเด็ก เปนการสงเสริมพัฒนาการทางภาษา ดานการพูดและการฟง โดยการกําหนดประเด็นในการสนทนา
หรืออภิปราย เด็กจะไดแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ผูสอนเปดโอกาสใหเด็กซักถาม
โดยใชค ําถามกระตนุ หรอื เลาประสบการณท ่แี ปลกใหม นําเสนอปญหาทีท่ า ทายความคดิ การยกตัวอยาง การใช
สอื่ ประกอบการสนทนาหรอื การอภิปราย ควรใชส อื่ ของจริง ของจําลอง รูปภาพ หรือสถานการณจําลอง
70 ๒.๒ การเลานทิ านหรอื การอา นนิทาน เปน กิจกรรมท่ผี สู อนเลา หรืออา นเร่ืองราวจากนทิ าน
โดยการใชน าํ้ เสยี งประกอบการเลา แตกตา งตามบคุ ลกิ ของตวั ละคร ซงึ่ ผสู อนควรเลอื กสาระของนทิ านใหเ หมาะสม
กับวัย สื่อที่ใชอาจเปนหนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผนภาพ หุนมือ หุนน้ิวมือ หรือการแสดงทาทางประกอบ
การเลาเรื่อง โดยผูสอนใชคําถามเพ่ือกระตุนการเรียนรู เชน ในนิทานเร่ืองนี้ มีตัวละครอะไรบาง เหตุการณ
ในนิทานเร่ืองน้ีเกิดที่ไหน เวลาใด หรือลําดับเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในนิทาน นิทานเร่ืองน้ีมีปญหาอะไรบาง
และเด็กๆ ชอบเหตุการณใ ดในนทิ านเร่อื งน้ีมากท่ีสดุ

๒.๓ การสาธิต เปนกิจกรรมที่เด็กไดเรียนรูจากประสบการณตรง โดยแสดงหรือทําส่ิงที่
ตองการใหเด็กไดส ังเกตและเรียนรตู ามขน้ั ตอนของกิจกรรมนน้ั ๆ และเดก็ ไดอภปิ รายและรว มกันสรุปการเรยี นรู
การสาธิตในบางครั้งอาจใหเด็กอาสาสมัครเปนผูสาธิตรวมกับผูสอน เพื่อนําไปสูการปฏิบัติจริงดวยตนเอง เชน
การเพาะเมล็ดพชื การประกอบอาหาร การเปา ลูกโปง การเลนเกมการศึกษา

๒.๔ การทดลอง/ปฏิบัติการ เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดรับประสบการณตรงจากการ
ลงมอื ปฏิบตั ิ ทดลอง การคิดแกป ญหา มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ทักษะคณติ ศาสตร ทกั ษะภาษา
สงเสรมิ ใหเดก็ เกดิ ขอสงสยั สบื คน คําตอบดวยตนเอง ผานการวเิ คราะห สงั เคราะหอ ยา งงา ย สรุปผลการทดลอง
อภปิ รายผลการทดลอง และสรปุ การเรยี นรู โดยกจิ กรรมการทดลองวทิ ยาศาสตรง า ยๆ เชน การเลยี้ งหนอนผเี สอื้
การปลกู พืช ฝก การสังเกตการไหลของนา้ํ

๒.๕ การประกอบอาหารเปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรผู า นการทดลองโดยเปด โอกาสใหเ ดก็ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ไดลงมือทดสอบและปฏิบัติการดวยตนเอง เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงของผัก เน้ือสัตว ผลไม ดวยวิธีการตางๆ
เชน ตม นง่ึ ผดั ทอด หรอื การรบั ประทานสด เดก็ จะไดร บั ประสบการณจ ากการสงั เกตการเปลยี่ นแปลงของอาหาร 71
การรับรรู สชาติและกลิ่นของอาหารดวยการใชประสาทสัมผัส และการทํางานรว มกัน เชน การทาํ อาหารจากไข
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๖ การเพาะปลกู เปน กจิ กรรมทเี่ นน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ซง่ึ เดก็
จะไดเรียนรูการบูรณาการ จะทําใหเด็กไดรับประสบการณโดยทําความเขาใจความตองการของส่ิงมีชีวิตในโลก และ
ชว ยใหเ ด็กเขา ใจความคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งทอี่ ยรู อบตัว โดยการสังเกต เปรียบเทียบ และการคิดอยา งมเี หตุผล
ซง่ึ เปนการเปด โอกาสใหเดก็ ไดค น พบและเรยี นรูดวยตนเอง

๒.๗ การศึกษานอกสถานที่ เปนการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาที่ใหเด็กไดเรียนรูสภาพ
ความเปน จรงิ นอกหอ งเรยี น จากแหลง เรยี นรใู นสถานศกึ ษาหรอื แหลง เรยี นรใู นชมุ ชน เชน หอ งสมดุ สวนสมนุ ไพร
วัด ไปรษณยี  พิพธิ ภณั ฑ เพ่อื เปน การเพิม่ พนู ประสบการณแกเ ดก็ โดยผสู อนและเดก็ รว มกันวางแผนศกึ ษาสง่ิ ที่
ตอ งการเรียนรู การเดนิ ทาง และสรุปผลการเรยี นรทู ่ีไดจากการไปศกึ ษานอกสถานท่ี

๒.๘ การเลน บทบาทสมมติ เปน กจิ กรรมใหเ ดก็ สมมตติ นเองเปน ตวั ละคร และแสดงบทบาท
ตา งๆ ตามเนอ้ื เรอื่ งในนทิ าน เรอื่ งราว หรอื สถานการณต า งๆ โดยใชค วามรสู กึ ของเดก็ ในการแสดง เพอ่ื ใหเ ดก็ เขา ใจ
เรื่องราว ความรูสึก และพฤติกรรมของตนเองและผูอ่ืน ควรใชสื่อประกอบการเลนสมมติ เชน หุนสวมศีรษะ
ที่คาดศีรษะรปู คนและสัตวร ปู แบบตางๆ เครอื่ งแตง กาย และอปุ กรณของจรงิ ชนิดตา งๆ

๒.๙ การรอ งเพลง ทอ งคาํ คลอ งจอง เปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรเู กยี่ วกบั ภาษา จงั หวะ
และการแสดงทาทางใหสัมพันธกับเนื้อหาของเพลงหรือคําคลองจอง ผูสอนควรเลือกเพลงหรือคําคลองจอง
ใหเหมาะกับวัยของเดก็

๒.๑๐ การเลนใชเกม เปนกิจกรรมที่นําเกมการเรียนรูเพ่ือฝกทักษะการคิด การแกปญหา
และการทาํ งานเปนกลุม เกมทีน่ ํามาเลน ไมควรเนน การแขง ขนั

๒.๑๑ การแสดงละคร เปนกิจกรรมท่ีเด็กจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการลําดับเรื่องราว
การเรียงลําดับเหตุการณหรือเรื่องราวจากนิทาน การใชภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพื่อใหเด็กไดเรียนรู
และทําความเขาใจบุคลิกลักษณะของตัวละครที่เด็กสวมบทบาท สื่อท่ีใช เชน ชุดการแสดงที่สอดคลองกับ
บทบาททไี่ ดร บั บทสนทนาทเ่ี ดก็ ใชฝกสนทนาประกอบการแสดง

๒.๑๒ การใชสถานการณจําลอง เปนกิจกรรมที่เด็กไดเรียนรูแนวทางการปฏิบัติตนเม่ืออยู
ในสถานการณท่ผี สู อนกาํ หนด เพอ่ื ใหเด็กไดฝกการแกป ญหา เชน น้ําทวม โรคระบาด พบคนแปลกหนา

สื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม

๑. ส่ือของจริงทอ่ี ยูใกลต ัว และส่อื จากธรรมชาตหิ รอื วสั ดทุ องถ่นิ เชน ตนไม ใบไม เปลือกหอย เสือ้ ผา
๒. สื่อทจี่ ําลองขนึ้ เชน ตนไม ตุกตาสตั ว
๓. สอ่ื ประเภทภาพ เชน ภาพพลิก ภาพโปสเตอร หนังสือภาพ
๔. สอื่ เทคโนโลยี เชน เครื่องบันทึกเสียง เครือ่ งขยายเสยี ง โทรศพั ท แมเ หล็ก แวนขยาย เคร่ืองชั่ง
กลองถา ยรปู ดจิ ิตอล
๕. ส่ือแหลงเรียนรู เชน แหลง เรียนรูภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เชน แปลงเกษตร สวนผกั
สมนุ ไพร รานคา สวนสัตว แหลงประกอบการในทอ งถ่นิ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขอ เสนอแนะ
๑. การจัดกิจกรรมควรยึดหลักการจัดกิจกรรมท่ีเนนใหเด็กไดรับประสบการณตรง
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ใชประสาทสัมผัสท้ังหา และมโี อกาสคนพบดว ยตนเองใหม ากทสี่ ดุ
๒. ผูสอนควรยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลายของเด็ก และใหโอกาสเด็กไดฝกคิดแสดง

ความคดิ เหน็ ฝก ต้งั คาํ ถาม
๓. อาจเชญิ วทิ ยากร เชน พอแม ตํารวจ หมอ ฯลฯ มาใหความรูแทนผูส อน เพอ่ื ชวยใหเ ดก็

สนใจและสนกุ สนานย่ิงขึน้
๔. ในขณะทีเ่ ด็กทาํ กจิ กรรมหรอื หลงั จากทํากิจกรรมเสร็จแลว ผูสอนควรใชค ําถามปลายเปด

ท่ชี วนใหเ ดก็ คิด หลีกเลย่ี งการใชค าํ ถามท่มี ีคําตอบ “ใช” “ไมใช” หรอื มคี าํ ตอบใหเ ด็กเลือก และผสู อนควรให
เวลาเด็กคิดคําตอบ

๕. ชว งระยะเวลาทจี่ ดั กจิ กรรมสามารถยดื หยนุ ไดต ามความเหมาะสม โดยคาํ นงึ ถงึ ความสนใจ
ของเด็กและความเหมาะสมของกิจกรรมน้ันๆ เชน กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ การประกอบอาหาร
การเพาะปลูก อาจใชเ วลานานกวาทก่ี าํ หนดไว

๓. ขนั้ สรปุ บทเรยี น เปน การสรปุ สง่ิ ตา งๆ ทเี่ รยี นไปทง้ั หมดใหเ ดก็ ไดเ ขา ใจดยี ง่ิ ขน้ึ ซงึ่ ผสู อนอาจใช
คําถาม เพลง คาํ คลองจอง เกม ฯลฯ ในการสรปุ เรื่องราว

72 ๓. กจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรค
กจิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรค เปน กจิ กรรมทม่ี งุ พฒั นากระบวนการคดิ สรา งสรรค การรบั รเู กยี่ วกบั ความงาม

และสง เสรมิ กระตนุ ใหเ ดก็ ไดแ สดงออกทางอารมณต ามความรสู กึ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรคแ ละจนิ ตนาการ โดยใช
ศลิ ปะ เชน การวาดภาพ ระบายสี การปน การพิมพภ าพ การพบั ตัด ฉีก ปะ ฯลฯ

จุดประสงค
๑. เพือ่ พฒั นากลา มเนือ้ มือและตาใหป ระสานสมั พันธก นั
๒. เพ่อื ใหเกิดความเพลิดเพลิน ช่นื ชมในสงิ่ ที่สวยงาม
๓. เพื่อสงเสรมิ การปรับตวั ในการทาํ งานรวมกับผูอ นื่
๔. เพือ่ สงเสริมการแสดงออกและมีความม่นั ใจในตนเอง
๕. เพอื่ สงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทางสังคม
๖. เพอ่ื สง เสรมิ ทักษะทางภาษา อธิบายผลงานของตนได
๗. เพอ่ื ฝกทักษะการสังเกต การคิดและการแกปญหา
๘. เพอื่ สง เสริมความคิดริเร่ิมสรา งสรรคแ ละจนิ ตนาการ

ขอบขาย/เนื้อหา/กิจกรรม
๑. การวาดภาพและระบายสี เชน การวาดภาพดว ยสีเทียน สีไม สีนาํ้
๒. การเลน กับสนี ้าํ เชน การเปาสี การหยดสี การพบั สี การเทสี การละเลงสดี วยนิว้ มอื
๓. การพมิ พภาพ เชน การพมิ พภ าพดว ยพืช การพิมพภ าพดวยวสั ดุตา งๆ

๔. การปน เชน การปน ดินเหนียว การปนแปง ปน การปนดนิ นํ้ามนั การปน แปง ขนมปง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๕. การพบั ฉีก ตัด ปะ เชน การพับใบตอง การฉกี กระดาษเสน การตดั ภาพตา งๆ การปะติดวัสดุ
๖. การประดษิ ฐ เชน ประดษิ ฐเ ศษวสั ดุ 73
๗. การรอย เชน การรอ ยลูกปด การรอ ยหลอดกาแฟ การรอ ยหลอดดา ย
๘. การสาน เชน การสานกระดาษ การสานใบตอง การสานใบมะพรา ว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

แนวการจัดกจิ กรรมศิลปะสรา งสรรค

๑. เตรียมจัดโตะและอุปกรณใหพรอมและเพียงพอกอนทํากิจกรรม อยางนอย ๒ กิจกรรม
โดยจดั ไวหลายๆ กิจกรรม และอยา งนอย ๓ - ๕ กจิ กรรม เพ่ือใหเด็กมอี ิสระในการเลอื กทํากจิ กรรมท่สี นใจ

๒. ควรสรา งขอ ตกลงในการทํากจิ กรรม เพอื่ ฝกใหเด็กมวี นิ ยั ในการอยรู ว มกนั
๓. การเปลี่ยนและหมุนเวียนทาํ กิจกรรม ตองสรางขอตกลงกบั เดก็ ใหชัดเจน เชน หากกจิ กรรมใด
มีเพอ่ื นครบจาํ นวนทกี่ ําหนดแลว ใหค อยจนกวาจะมีทวี่ าง หรอื ใหท าํ กจิ กรรรมอืน่ กอน
๔. กิจกรรมใดเปนกิจกรรมใหม หรือการใชวัสดุอุปกรณใหม ครูจะตองอธิบายวิธีการทํา
วิธกี ารใช วิธีการทาํ ความสะอาด และการเก็บของเขา ที่
๕. เมื่อทํางานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนใหเด็กเก็บวัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชเขาที่
และชว ยกนั ดูแลหองใหสะอาด

สื่อกิจกรรมศิลปะสรา งสรรค
๑. การวาดภาพและระบายสี
๑.๑ สีเทยี นแทงใหญ สไี ม สีชอลก สนี ้าํ
๑.๒ พกู ันขนาดใหญ (ประมาณเบอร ๑๒)
๑.๓ กระดาษ
๑.๔ เส้อื คลุม หรอื ผากันเปอ น
๒. การเลน กบั สนี าํ้
๒.๑ การเปา สี มกี ระดาษ หลอดกาแฟ สีนํ้า
๒.๒ การหยดสี มีกระดาษ หลอดกาแฟ สีนา้ํ พูกัน
๒.๓ การพับสี มกี ระดาษ สนี ้าํ พูกัน
๒.๔ การเทสี มีกระดาษ สนี ้ํา
๒.๕ การละเลงสีดวยนิ้วมือ มกี ระดาษ สีนํ้า แปง เปยก
๓. การพิมพภาพ
๓.๑ แมพมิ พตางๆ จากของจรงิ เชน นวิ้ มอื ใบไม กานกลว ย
๓.๒ แมพมิ พจากวัสดอุ นื่ ๆ เชน เชอื ก เสน ดา ย ตรายาง
๓.๓ กระดาษ ผาเช็ดมือ สโี ปสเตอร หรอื สนี ํา้ หรอื สีฝุน
๔. การปน เชน ดินนา้ํ มัน ดนิ เหนียว แปงโดว แผนรองปน แมพมิ พร ปู ตา งๆ ไมน วดแปง
๕. การพบั ฉกี ตดั ปะ เชน กระดาษ หรอื วสั ดอุ นื่ ๆ ทจี่ ะใชพ บั ฉกี ตดั ปะ กรรไกรขนาดเลก็ ปลายมน

กาวนํา้ หรือแปงเปยก ผา เช็ดมือ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๖. การประดษิ ฐ เชน เศษวสั ดุตางๆ มกี ลองกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา เศษไหม กาว กรรไกร
สี ผา เชด็ มอื
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๗. การรอ ย เชน ลกู ปด หลอดกาแฟ หลอดดาย
๘. การสาน เชน กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา ว

ขอเสนอแนะ

๑. ควรสรางบรรยากาศในการทาํ กจิ กรรมใหมคี วามสดช่นื แจมใส แตควรมรี ะเบยี บวนิ ยั
๒. การจดั เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ ควรพยายามหาวัสดทุ องถิ่นมาใชก อ นเปน อนั ดับแรก
๓. กอนใหเ ดก็ ทาํ กิจกรรม ตอ งอธิบายวิธใี ชวัสดทุ ี่ถกู ตอ งใหเ ดก็ ทราบ พรอมทงั้ สาธติ ใหด จู นเขา ใจ
เชน การใชพ กู นั หรอื กาว จะตองปาดพกู ันหรอื กาวนั้นกบั ขอบภาชนะท่ใี ส เพอื่ ไมใ หกาวหรือสีไหลเลอะเทอะ
๔. ควรใหเด็กทํากิจกรรมศิลปะสรางสรรคประเภทใดประมาณหนึ่งรวมกันในกลุมยอย
เพอ่ื ฝก การวางแผนและการทํางานรว มกนั กบั ผอู น่ื
๕. ควรแสดงความสนใจและชื่นชมผลงานของเด็กทุกคน และนําผลงานของเด็กทุกคน
หมนุ เวียนจดั แสดงทปี่ ายนเิ ทศ
๖. หากพบวาเด็กคนใดสนใจทํากิจกรรมเดียวทุกครั้ง ควรชักชวนใหเด็กเปลี่ยนทํากิจกรรมอื่นบาง
เพราะกิจกรรมศิลปะสรางสรรคแตละประเภทพัฒนาเด็กแตละดานแตกตางกัน และเม่ือเด็กทําตามที่แนะนําได
ควรใหแ รงเสริมทางบวกทุกคร้งั
74 ๗. เม่ือเด็กทํางานเสร็จ ควรใหเลาเร่ืองเก่ียวกับส่ิงที่ทําหรือภาพที่วาด โดยครูหรือผูสอนบันทึก
เรอื่ งราวทเ่ี ดก็ เลา และวนั ทที่ ท่ี าํ เพอื่ ใหท ราบความกา วหนา และระดบั พฒั นาการของเดก็ โดยเขยี นดว ยตวั บรรจง
และใหเดก็ เหน็ ลีลามอื ในการเขยี นทีถ่ กู ตอง และมีโอกาสคนุ เคยกบั ตัวหนงั สอื
๘. เก็บผลงานช้ินที่แสดงความกาวหนาของเด็กเปนรายบุคคล เพ่ือเปนขอมูลสังเกตพัฒนาการ
ของเด็ก และเม่ือถึงวันสุดสัปดาหหรือสองสัปดาหหรือสิ้นเดือน ผูสอนควรฝากผลงานกระดาษไปใหพอแม
ผูปกครองดบู า ง เพ่อื ทราบพฒั นาการของเดก็

๔. กจิ กรรมการเลนตามมุม

กิจกรรมการเลนตามมุม เปนกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหเด็กไดเลนกับสื่อและเคร่ืองเลนอยางอิสระ
ตามมุมเลน/มุมประสบการณ ซึ่งพ้ืนท่ีหรือมุมตางๆ เหลาน้ี เด็กมีโอกาสเลือกเลนไดอยางเสรีตามความสนใจ
และความตองการของเดก็ ทงั้ เปนรายบคุ คลและเปน กลมุ ยอย อน่งึ การเลน ตามมมุ อาจใหเ ด็กเลือกทํากจิ กรรม
ทค่ี รูจัดเสรมิ ขนึ้ เชน เกมการศกึ ษา เครอื่ งเลน สมั ผัส กจิ กรรมศิลปะสรางสรรคประเภทตางๆ

จดุ ประสงค

๑. เพ่ือสงเสริมใหรูจักปรับตัวอยูรวมกับผูอื่น มีวินัยเชิงบวก รูจักการรอคอย เอ้ือเฟอเผื่อแผ
เสยี สละ และใหอ ภัย

๒. เพอื่ สง เสรมิ พฒั นาการทางดา นภาษา คือ การฟง การพดู
๓. เพอ่ื สง เสรมิ ใหเดก็ มีโอกาสปฏิสัมพันธกบั เพ่อื น ครู และส่งิ แวดลอ ม
๔. เพอ่ื สงเสริมใหเ ดก็ เกดิ การเรียนรดู ว ยตนเองจากการสํารวจ การสงั เกต และการทดลอง

๕. เพอ่ื สงเสรมิ การคิดแกปญ หา การคดิ อยา งมีเหตผุ ลเหมาะสมกบั วัย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๖. เพอื่ สงเสรมิ ใหเด็กฝก คิด วางแผน และตัดสนิ ในการทํากจิ กรรม
๗. เพ่ือสงเสรมิ ใหม ีทกั ษะพนื้ ฐานทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 75
๘. เพ่ือสงเสริมใหเด็กพัฒนาความคดิ สรางสรรคแ ละจนิ ตนาการ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ขอบขา ย/เนอ้ื หา/กิจกรรม

๑. การจดั มุมเลนหรอื มุมประสบการณ อาจจัดไดห ลายลักษณะ เชน จัดกจิ กรรมศิลปะสรา งสรรค
และการเลนตามมมุ เลนในชว งเวลาเดยี วกนั อยา งอสิ ระ

๒. มุมบทบาทสมมติ จัดเพ่ือใหเด็กไดเลนในสิ่งที่ชอบ เชน เลนเกี่ยวกับบทบาทของแตละอาชีพ
หรือแตละหนาทีท่ เ่ี ด็กๆ เลียนแบบบทบาท

๓. มมุ บลอ็ ก เปนมมุ ทสี่ งเสรมิ ใหเ ดก็ เรยี นรูเก่ยี วกบั มิติสมั พันธผ านการสราง
๔. มุมหนังสือ เปนมุมที่เด็กเรียนรูเกี่ยวกับภาษา จากการฟง การพูด การอาน การเลาเรื่อง
หรือการยืม - คืนหนังสือ
๕. มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติศึกษา เปนมุมท่ีเด็กไดเรียนรูธรรมชาติรอบตัว ผานการเลน
ทดลองอยางงาย ไดศึกษาหาความรดู วยการสงั เกต เปรยี บเทยี บ จดั จําแนก จดั หมวดหมู
๖. มุมเคร่ืองเลนสัมผัส เปนมุมที่เด็กจะไดฝกการประสานสัมพันธระหวางมือกับตา
การสรา งสรรค เชน การรอ ย การสาน การตอเขา การถอดออก

แนวการจดั กิจกรรมการเลนตามมมุ

๑. แนะนาํ มมุ เลนใหม เสนอแนะวธิ ใี ช การเลนของเลนบางชนดิ
๒. เด็กและครรู ว มกนั สรา งขอ ตกลงเกย่ี วกับการเลน
๓. ครูเปดโอกาสใหเด็กคิด วางแผน ตัดสนิ ใจเลือกเลน อยางอิสระ เลือกทํากจิ กรรมทจ่ี ัดขึ้นตาม
ความสนใจของเด็กแตละคน
๔. ขณะเด็กเลน/ทํางาน ครูอาจช้แี นะ หรอื มสี ว นรวมในการเลนกบั เดก็ ได
๕. เด็กตองการความชวยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมการเลนของเด็ก พรอมทั้งจดบันทึก
พฤติกรรมท่ีนาสนใจ
๖. เตือนใหเ ดก็ ทราบลวงหนา กอ นหมดเวลาเลน ประมาณ ๓ - ๕ นาที
๗. ใหเ ด็กเก็บของเลน เขาทีใ่ หเ รยี บรอ ยทกุ ครัง้ เมื่อเสรจ็ สนิ้ กิจกรรม

สื่อกิจกรรมการเลนตามมมุ

๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเปนมมุ เลนตางๆ เชน
๑.๑ มุมบาน
๑) ของเลน เครือ่ งครวั เครื่องใชในบาน เชน เตา กะทะ ครก กานา้ํ เขียง มดี พลาสติก

หมอ จาน ชอ น ถว ย ชาม กะละมัง
๒) เครือ่ งเลน ตกุ ตา เชน เสอ้ื ผา ตกุ ตา เตียง เปลเด็ก ตุก ตา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓) เครือ่ งแตง บา นจาํ ลอง เชน ชดุ รับแขก โตะ เครือ่ งแปง หมอนองิ หวี ตลับแปง
กระจกขนาดเห็นเตม็ ตวั
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๔) เคร่ืองแตงกายบุคคลอาชีพตางๆ ท่ีใชแลว เชน ชุดเคร่ืองแบบทหาร ตํารวจ
ชุดเส้ือผา ผูใหญช ายและหญิง รองเทา กระเปาถือที่ไมใชแลว

๕) โทรศัพท เตารีดจําลอง ที่รดี ผา จาํ ลอง
๖) ภาพถา ยและรายการอาหาร
๑.๒ มุมหมอ
๑) เคร่ืองเลนจําลองแบบเครื่องมือแพทยและอุปกรณการรักษาผูปวย เชน หูฟง
เส้อื คลุมหมอ
๒) อุปกรณสําหรับเลียนแบบการบนั ทึกขอมูลผปู วย เชน กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ
๓) เคร่ืองชงั่ นาํ้ หนัก วัดสว นสูง
๑.๓ มมุ รา นคา
๑) กลอ งและขวดผลติ ภณั ฑต างๆ ท่ใี ชแ ลว
๒) ผลไม ผักจําลอง
๓) อปุ กรณประกอบการเลน เชน เครอ่ื งคิดเลข ลูกคดิ ธนบัตรจําลอง ฯลฯ
๔) ปายชือ่ รา น
๕) ปายชือ่ ผลไม ผักจําลอง
76 ๒. มมุ บล็อก
๒.๑ ไมบล็อกหรอื แทงไมที่มีขนาดและรูปทรงตา งๆ กัน เชน บล็อกตัน บล็อกโตะ จํานวน
ตั้งแต ๕๐ ช้นิ ขนึ้ ไป
๒.๒ ของเลน จาํ ลอง เชน รถยนต เครอ่ื งบนิ รถไฟ คน สตั ว ตน ไม
๒.๓ ภาพถา ยตา งๆ
๒.๔ ท่จี ดั เก็บไมบล็อกหรือแทง ไม อาจเปน ช้นั ลังไมหรือพลาสติก แยกตามรูปทรง ขนาด
๓. มมุ หนงั สือ
๓.๑ หนังสือภาพนิทาน หนังสือภาพทีม่ ีคําและประโยคสน้ั ๆ พรอมภาพ
๓.๒ ชัน้ หรอื ท่ีวางหนงั สอื
๓.๓ อปุ กรณต า งๆ ทีใ่ ชในการสรา งบรรยากาศการอาน เชน เสื่อ พรม หมอน
๓.๔ สมุดเซน็ ยมื หนังสือกลับบา น
๓.๕ อปุ กรณส ําหรับการเขียน
๓.๖ อุปกรณเ สริม เชน เครือ่ งเสียง แผนนิทานพรอมหนงั สอื นทิ าน หูฟง
๔. มมุ วทิ ยาศาสตรหรอื มมุ ธรรมชาตศิ ึกษา

๔.๑ วัสดตุ า งๆ จากธรรมชาติ เชน เมล็ดพืชตางๆ เปลอื กหอย ดนิ หิน แร ฯลฯ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๔.๒ เครื่องมือเครอ่ื งใชในการสํารวจ สงั เกต ทดลอง เชน แวน ขยาย แมเ หลก็ เขม็ ทิศ เครอื่ งชง่ั
77
ขอ เสนอแนะ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๑. ขณะเด็กเลน ผูสอนตองสังเกตความสนใจในการเลนของเด็ก หากพบวามุมใด เด็กสวนใหญ
ไมส นใจทจี่ ะเลน ควรเปลย่ี นหรือจัดสื่อในมุมเลน ใหม เชน มมุ บา น อาจดดั แปลงหรือเพ่ิมเตมิ หรอื เปลยี่ นเปน
มุมรานคา มมุ เสริมสวย มมุ หมอ ฯลฯ

๒. หากมมุ ใดมจี าํ นวนเดก็ ในมมุ มากเกนิ ไป ควรเปด โอกาสใหเ ดก็ คดิ แกป ญ หา สรา งขอ ตกลงรว มกนั
หรอื ชักชวนเลือกเลนมมุ ใหม

๓. หากเด็กเลือกมุมเลนมุมเดียวเปนระยะเวลานาน ควรชักชวนใหเด็กเลือกมุมอ่ืนๆ ดวย
เพอื่ ใหเ ด็กมีประสบการณการเรียนรูในดา นอ่นื ๆ ดว ย

๔. การจัดสื่อหรือเครื่องเลนในแตละมุม ควรมีการทําความสะอาด และสับเปล่ียนหรือเพ่ิมเติม
เปน ระยะ โดยคาํ นงึ ถงึ ลาํ ดับขน้ั การเรียนรู เพอ่ื ใหเ ด็กเกดิ การเรียนรูทหี่ ลากหลาย เชน เก็บหนงั สอื นทิ านบางเลม
ทเ่ี ดก็ หมดความสนใจ และแนะนาํ หนงั สอื นทิ านใหมม าวางแทน

๕. กจิ กรรมการเลนกลางแจง

กิจกรรมการเลนกลางแจง เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดออกไปนอกหองเรียนไปสูสนามเด็กเลน
ท้ังท่ีบริเวณกลางแจงและในรม เพ่ือเปดโอกาสใหเด็กเคลื่อนไหวรางกาย ออกกําลัง และแสดงออกอยางอิสระ
โดยยดึ ความสนใจและความสามารถของเดก็ แตละคนเปนหลัก

จุดประสงค

๑. เพื่อพัฒนากลามเนื้อใหญใหสามารถเคล่ือนไหวไดคลองแคลว และกลามเนื้อเล็กในการ
ประสานสมั พนั ธของอวัยวะตางๆ

๒. เพ่อื สง เสรมิ ใหมรี า งกายแขง็ แรง สุขภาพดี
๓. เพ่อื สง เสริมใหเกิดความสนกุ สนาน ผอ นคลายความเครียด
๔. เพื่อสงเสริมการปรบั ตวั ในการเลนและทาํ งานรว มกับผอู ืน่
๕. เพื่อเรียนรกู ารระมัดระวังรักษาความปลอดภยั ทงั้ ของตนเองและผูอ ่ืน
๖. เพ่ือฝก การคดิ ตัดสินใจและแกป ญหา
๗. เพอ่ื สงเสรมิ ใหมคี วามอยากรูอ ยากเห็นส่ิงตา งๆ ท่ีแวดลอมรอบตวั
๘. เพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรูตางๆ เชน การสงั เกต การเปรยี บเทียบ การจาํ แนก ฯลฯ

ขอบขา ย/เนือ้ หา/กจิ กรรม

๑. เคร่อื งเลน สนาม
เครือ่ งเลน สนาม หมายถงึ เครอ่ื งเลนทเี่ ด็กอาจปนปาย หมุน โยก ซง่ึ ทําออกมาในรปู แบบตางๆ เชน
๑. เครื่องเลนสาํ หรบั ปนปาย เชน ตาขายสาํ หรับปน ตนไมแหงวางนอน
๒. เคร่อื งเลน สําหรับโยกหรอื ไกว เชน มา ไม ชิงชา มา น่งั โยก ไมก ระดก

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓. เครือ่ งเลน สาํ หรบั หมนุ เชน มา หมุน พวงมาลยั รถสําหรบั หมนุ เลน
๔. ราวโหนขนาดเลก็ สําหรบั เดก็
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๕. ตน ไมส ําหรบั เดนิ ทรงตวั หรือไมก ระดานแผนเดยี ว
๖. เครือ่ งเลน ประเภทลอ เล่ือน เชน รถสามลอ รถลากจงู
๒. บอ ทราย
ทรายเปนส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเลน ทงั้ ทรายแหง ทรายเปย ก นํามากอเปน รปู ตางๆ ได และสามารถ
นาํ วัสดุอื่นมาประกอบการเลนตกแตง ได เชน กิง่ ไม ดอกไม เปลอื กหอย พิมพข นม ท่ตี ักทราย
ปกตบิ อทรายจะอยกู ลางแจง โดยอาจจดั ใหอ ยใู ตรม เงาของตน ไมหรือสรา งหลังคา ทําขอบกน้ั
เพ่ือมิใหทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้ําใหชื้นเพ่ือเด็กจะไดกอเลน นอกจากน้ี ควรมีวิธีการปดก้ัน
มใิ หส ตั วเลยี้ งลงไปทําความสกปรกในบอทรายได
๓. ทเ่ี ลน น้ํา
เด็กท่ัวไปชอบเลนนํ้ามาก การเลนน้ํานอกจากสรางความพอใจและคลายความเครียด
ใหเด็กแลว ยังทําใหเด็กเกิดการเรียนรูอีกดวย เชน เรียนรูทักษะการสังเกต จําแนก เปรียบเทียบปริมาตร
อุปกรณท่ีใสน้ําอาจเปนถังที่สรางขึ้นโดยเฉพาะ หรืออางนํ้าวางบนขาต้ังที่ม่ันคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนไดพอดี
และควรมผี าพลาสตกิ กันเส้อื ผาเปย กใหเดก็ ใชค ลมุ ระหวา งเลน
๔. บานตกุ ตาหรอื บานจาํ ลอง
เปนบานจําลองสําหรับใหเด็กเลน จําลองแบบจากบานจริงๆ อาจทําดวยเศษวัสดุประเภท
78 ผาใบ กระสอบปาน ของจริงท่ีไมใชแลว เชน หมอ เตา ชาม อาง เตารีด เครื่องครัว ตุกตาสมมติเปนบุคคล
ในครอบครัว เส้ือผาผูใหญที่ไมใชแลวสําหรับผลัดเปลี่ยน มีการตกแตงบริเวณใกลเคียงใหเหมือนบานจริงๆ
บางครงั้ อาจจดั เปน รานขายของ สถานท่ที ําการตางๆ เพ่ือใหเ ด็กเลน สมมตติ ามจนิ ตนาการของเดก็ เอง
๕. มุมชา งไม
เด็กตอ งการออกแรงเคาะ ตอก กจิ กรรมการเลนในมมุ ชางไมนจี้ ะชว ยในการพฒั นากลามเน้ือ
ใหแข็งแรง ชวยฝกการใชมือและการประสานสัมพันธระหวางมือกับตา นอกจากนี้ยังฝกใหรักงานและสงเสริม
ความคดิ สรา งสรรคอกี ดว ย
๖. เกมการละเลน
กิจกรรมการเลนเกมการละเลนที่จัดใหเด็กเลน เชน เกมการละเลนของไทย เกมการละเลน
ของทองถิ่น เชน มอญซอนผา รีรขี า วสาร แมง ู โพงพาง ฯลฯ การละเลนเหลา น้ตี องใชบริเวณที่กวาง การเลน
อาจเลนเปน กลุมเลก็ หรอื กลุมใหญก็ได กอนเลนครูอธิบายกตกิ าและสาธิตใหเ ดก็ เขาใจ ไมค วรนําเกมการละเลน
ที่มีกติกายุงยากและเนนการแขงขันแพชนะมาจัดกิจกรรมใหกับเด็กวัยน้ี เพราะเด็กจะเกิดความเครียดและ
สรา งความรูส กึ ทไ่ี มด ตี อ ตนเอง

แนวการจัดกิจกรรมการเลน กลางแจง

๑. เดก็ และครูรว มกันสรางขอ ตกลง
๒. จดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณป ระกอบการเลน ใหพ รอ ม การตดิ ตง้ั เครอื่ งเลน ควรตดิ ตง้ั บนพน้ื สนามหญา
เพื่อวาจะไดป ลอดภยั และควรติดตง้ั ใหหา งกันพอสมควร เมอื่ เกดิ การพลดั ตกหกลม จะไดไมฟาดถูกคนอ่นื หรือ
เครอ่ื งเลน อื่น

๓. สาธิตการเลน เคร่อื งเลน สนามบางชนิด ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๔. ใหเดก็ เลือกเลนอิสระตามความสนใจและใหเวลาเลนนานพอควร
๕. ครูควรจัดกิจกรรมใหเ หมาะสมกบั วยั (ไมค วรจัดกิจกรรมพลศึกษา) เชน การเลน นาํ้ เลนทราย 79
เลน บา นตกุ ตา เลน ในมุมชา งไม เลน บล็อกกลวง เครื่องเลนสนาม เกมการละเลน เลนอุปกรณก ฬี าสาํ หรับเดก็
เลน เคร่อื งเลน ประเภทลอเล่อื น เลนของเลน พ้ืนบาน (เดินกะลา ฯลฯ) คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๖. ขณะเด็กเลนครูตองคอยดูแลความปลอดภัยและสังเกตพฤติกรรมการเลน การอยูรวมกันกับ
เพื่อนของเดก็
๗. เมอ่ื หมดเวลาควรใหเ ดก็ เกบ็ ของใชห รือของเลนใหเรยี บรอ ย
๘. ใหเ ดก็ ทําความสะอาดรางกายและดแู ลเคร่อื งแตงกายใหเรียบรอ ยหลังเลน

สือ่ กิจกรรมการเลน กลางแจง
๑. เคร่ืองเลนสนาม เชน เคร่ืองเลนสําหรบั ปนปาย เคร่ืองเลนประเภทลอ เลือ่ น
๒. ท่เี ลนทราย มีทรายละเอียด เคร่อื งเลนทราย เครื่องตวง
๓. ท่ีเลนนํ้า มีภาชนะใสน้ํา หรืออางน้ําวางบนขาตั้งท่ีม่ันคง ความสูงที่เด็กจะยืนไดพอดี

เสื้อคลมุ อปุ กรณเ ลนนาํ้ เชน ถว ยตวง ขวดตางๆ

ขอ เสนอแนะ
๑. หมั่นตรวจตราเคร่ืองเลนสนามและอุปกรณประกอบใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยและใชการไดดี

อยเู สมอ
๒. ใหโอกาสเดก็ เลือกเลนกลางแจง อยา งอิสระทกุ วนั อยางนอ ยวันละ ๓๐ นาที
๓. ขณะเด็กเลนกลางแจง ครูตองคอยดูแลอยางใกลชิดเพื่อระมัดระวังความปลอดภัยในการเลน

หากพบวา เด็กแสดงอาการเหน่อื ย ออนลา ควรใหเด็กหยดุ พกั
๔. ไมควรนํากิจกรรมพลศึกษาสําหรับเด็กระดับประถมศึกษามาใชสอนกับเด็กระดับปฐมวัย

เพราะยังไมเ หมาะสมกับวัย
๕. หลังจากเลิกกิจกรรมกลางแจง ควรใหเด็กไดพักผอนหรือนั่งพัก ไมควรใหเด็กรับประทานอาหาร

กลางวันหรอื ด่มื นมทนั ที เพราะอาจทําใหเ ดก็ อาเจยี น เกดิ อาการจกุ แนนได

๖. เกมการศกึ ษา
เกมการศึกษา (Didactic Games) เปนเกมการเลนท่ีชวยพัฒนาสติปญญา ชวยสงเสริมใหเด็ก

เกิดการเรียนรูเปนพื้นฐานการศึกษา รูจักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เก่ียวกับสี รูปราง
จํานวน ประเภท และความสัมพันธเกี่ยวกับพ้ืนท่ี ระยะ มีกฎเกณฑกติกางายๆ เด็กสามารถเลนคนเดียว
หรอื เลนเปน กลมุ ได

จดุ ประสงค
๑. เพอ่ื ฝกทักษะการสงั เกต จาํ แนก และเปรยี บเทยี บ
๒. เพ่ือฝกการแยกประเภท การจดั หมวดหมู
๓. เพือ่ สง เสริมการคดิ หาเหตุผล และตดั สนิ ใจในการแกปญหา
๔. เพ่ือสง เสรมิ ใหเด็กเกิดความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั สงิ่ ทีไ่ ดเรยี นรู หรอื ทบทวนเนอื้ หาทีไ่ ดเ รียนรู

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๕. เพ่อื สงเสรมิ การประสานสมั พนั ธระหวา งมือกับตา
๖. เพื่อปลกู ฝง คุณธรรมและจรยิ ธรรมตา งๆ เชน ความรบั ผดิ ชอบ ความเออื้ เฟอเผือ่ แผ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ขอบขาย/เนอ้ื หา/กิจกรรม
๑. การจับคู สามารถแบง ไดห ลายชนดิ คอื เกมจบั คูท ีเ่ หมือนกันหรือส่ิงเดยี วกัน เชน จบั คูภาพท่ี

เหมอื นกันทุกประการ จบั คูภ าพกับเงาของสง่ิ เดียวกนั จับคภู าพกบั โครงรา งของสงิ่ เดียวกัน จับคูภาพทีซ่ อนอยู
ในภาพหลัก เกมจับคูภาพท่ีเปนประเภทเดียวกัน เกมจับคูภาพส่ิงท่ีมีความสัมพันธกัน เกมจับคูภาพสัมพันธ
แบบตรงกันขาม เกมจับคูภาพสวนเต็มกับภาพแยกสวน เกมจับคูภาพชิ้นสวนท่ีหายไป เกมจับคูภาพท่ีซอนกัน
เกมจบั คูภาพทีส่ มมาตรกนั เกมจบั คแู บบอุปมาอปุ ไมย เกมจับคูแบบอนกุ รม

๒. การตอภาพใหสมบูรณ หรือภาพตัดตอเพ่ือใหเด็กฝกสังเกตรายละเอียดของภาพที่เหมือนกัน
หรือตา งกัน เก่ยี วกบั สี รปู รา ง ขนาด ลวดลาย

๓. การวางภาพตอปลาย (โดมิโน) เชน โดมิโนภาพเหมือน โดมิโนภาพสมั พันธ โดมโิ นผสม
๔. การเรียงลําดับ เชน เรียงลําดับเหตุการณตอเน่ืองในกิจวัตรประจําวัน วงจรชีวิตสัตว
เกมเรยี งลาํ ดบั ตามขนาด ความยาว ปริมาณ ปรมิ าตร จาํ นวน
๕. การจดั หมวดหมู เชน จัดหมวดหมูตามสี รปู ทรง ขนาด ปรมิ าณ จํานวน ประเภท จัดหมวดหมู
กบั สญั ลักษณ จดั หมวดหมูภาพซอน
๖. การศกึ ษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต)
๗. การจบั คูแ บบตารางสมั พันธ (เมตรกิ เกม)
80 ๘. การพื้นฐานการบวก
๙. การหาความสัมพนั ธต ามลาํ ดับทกี่ าํ หนด

แนวการจดั กิจกรรมเกมการศึกษา
๑. การสอนเกมการศกึ ษาชดุ ใหม ควรสอนจากเกมงา ยๆ จาํ นวนนอ ยชน้ิ วธิ กี ารเลน ไมย งุ ยากกอ น
๒. สาธิต/อธบิ ายวธิ ีเลน เกมอยา งเปน ขนั้ ตอนตามประเภทของเกม
๓. ใหเดก็ หมุนเวียนเขา มาเลนเปน กลมุ หรอื รายบุคคล
๔. ขณะที่เด็กเลนเกม ครเู ปนเพียงผแู นะนํา
๕. เมื่อเด็กเลนเกมแตละชุดเสร็จเรียบรอย ควรใหเด็กตรวจสอบความถูกตองดวยตนเอง หรือ

รวมกันตรวจกบั เพือ่ น หรอื ครเู ปนผูช วยตรวจ
๖. ใหเ ด็กนําเกมท่เี ลน แลว เกบ็ ใสก ลอ ง เขาท่ีใหเรยี บรอยทกุ ครั้งกอ นเลน เกมชดุ อนื่
๗. กอนหมดเวลา ๗ - ๑๐ นาที ผูสอนเตือนใหเด็กเก็บของเขาท่ี ซึ่งนอกจากจะบอกเปน

คําพูดธรรมดาแลวอาจรอ งเพลงทีม่ ีความหมายเตือนใหเ กบ็ ของเขา ท่ี

สอื่ กิจกรรมเกมการศกึ ษา
๑. เกมจบั คู
เพอ่ื ใหเด็กไดฝ ก สังเกตสง่ิ ท่เี หมอื นกนั หรอื ตางกัน ซึ่งอาจเปน การเปรียบเทียบภาพตา งๆ แลว

จัดเปนคๆู ตามจุดมงุ หมายของเกมแตละชุด
๑.๑ จบั คูทีเ่ หมอื นกันหรอื จับคสู ิ่งของเดียวกัน

๑.๒ จับคภู าพสงิ่ ทม่ี ีความสัมพนั ธก นั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑.๓ จับคูภาพช้ินสวนทห่ี ายไป
๑.๔ จบั คภู าพทส่ี มมาตรกัน 81
๑.๕ จับคูภาพท่ีสัมพันธก ันแบบอปุ มาอปุ ไมย
๑.๖ จบั คูภาพแบบอนุกรม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒. เกมภาพตดั ตอ
๒.๑ ภาพตัดตอ ทส่ี ัมพนั ธก บั หนวยการเรียนตางๆ เชน ผลไม ผกั
๒.๒ ภาพตดั ตอ แบบมิตสิ ัมพันธ
๓. เกมวางภาพตอปลาย (โดมโิ น)
๓.๑ โดมโิ นภาพเหมือน
๓.๒ โดมิโนภาพสมั พนั ธ
๔. เกมเรียงลําดับ
๔.๑ เรียงลําดบั ภาพเหตุการณต อ เนื่อง
๔.๒ เรยี งลําดบั ขนาด
๕. เกมจัดหมวดหมู
๕.๑ ภาพสง่ิ ตางๆ ที่นํามาจดั เปน พวกๆ
๕.๒ ภาพเกีย่ วกบั ประเภทของใชใ นชวี ติ ประจําวัน
๕.๓ ภาพจัดหมวดหมตู ามรปู ราง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณติ
๖. เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต)
๗. เกมจับคูแ บบตารางสัมพนั ธ (เมตริกเกม)
๘. เกมพ้นื ฐานการบวก

ขอ เสนอแนะ
๑. การจดั ประสบการณเกมการศกึ ษาในระยะแรก ควรเรม่ิ สอนโดยใชข องจรงิ เชน การจับคู

กระปองแปง ท่ีเหมือนกัน หรอื การเรยี งลาํ ดบั กระปองแปง ตามลําดบั สูง - ต่าํ
๒. การเลนเกมในแตล ะวัน อาจจัดใหเ ลนทงั้ เกมชุดใหมและเกมชดุ เกา
๓. ครูอาจใหเ ดก็ หมุนเวียนเขา มาเลนเกมกับครูทีละกลุม หรอื สอนทั้งช้ันตามความเหมาะสม
๔. ครูอาจใหเ ดก็ ทเี่ ลนไดแ ลว มาชวยแนะนาํ กตกิ าการเลนในบางโอกาสได
๕. การเลนเกมการศึกษา นอกจากใชเวลาในชวงกิจกรรมเกมการศึกษาตามตารางกิจกรรม

ประจําวนั แลว อาจใหเ ดก็ เลอื กเลนอิสระในชวงเวลากิจกรรมการเลน ตามมุมได
๖. การเก็บเกมท่ีเลนแลว อาจเก็บใสกลองเล็กๆ หรือใสถุงพลาสติก หรือใชยางรัดแยก

แตล ะเกม แลว จัดใสกลอ งใหญรวมไวเปนชุด

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทที่ ๕

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การจัดทําแผนการจัดประสบการณ

แผนการจัดประสบการณเปนเคร่ืองมือสําคัญในการจัดกิจกรรมและประสบการณใหแกเด็ก
ชวยใหผูสอนสามารถจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับเด็กไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสงผลให
เด็กปฐมวัยเกิดแนวคดิ ทกั ษะ ความสามารถ คณุ ลักษณะ คานิยม และความเขาใจอยางเหมาะสมกบั พฒั นาการ
ไดร บั ประสบการณก ารเรยี นรทู ส่ี มดลุ สอดคลอ งกบั จติ วทิ ยาพฒั นาการ และมคี วามสขุ ในการเรยี นรู ผสู อนทกุ คน
จงึ จาํ เปน ตอ งวางแผนการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู เพอ่ื ใหส ามารถจดั ประสบการณส ง เสรมิ พฒั นาการของเดก็
ใหบ รรลเุ ปาหมายของหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

ข้นั ตอนการจัดทาํ แผนการจดั ประสบการณ

การจัดทําแผนการจัดประสบการณใหบรรลุจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ผูสอนควร
ดาํ เนนิ ตามขัน้ ตอนตอไปนี้
82 ๑. ศึกษาทําความเขาใจหลักสูตรสถานศึกษา ผูสอนควรศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
อยางละเอียดจนเกิดความเขาใจวาจะตองพัฒนาเด็กอยางไร เพื่อใหบรรลุตามจุดหมายท่ีกําหนดไว การศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยชวยใหผูสอนสามารถออกแบบการจัดประสบการณที่สอดคลองกับ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย นอกจากนี้ ควรศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของเพ่ิมเติมเพื่อใหมีความเขาใจยิ่งขึ้น
เชน คมู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ขอมูลพฒั นาการเดก็ เปน ตน

๒. ออกแบบการจัดประสบการณ ผูสอนควรออกแบบการจัดประสบการณตามรูปแบบการจัด
ประสบการณท ก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ในกรณที สี่ ถานศกึ ษากาํ หนดรปู แบบการจดั ประสบการณ
แบบหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนตองกําหนดหัวเร่ืองเพื่อใชเปนแกนกลางในการจัดประสบการณ
และกําหนดรายละเอียดของหนวยการจัดประสบการณ โดยนํามาจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป
ในหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ดงั น้ี

๒.๑ กําหนดหัวเรื่องหรือชื่อหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนตองกําหนดหัวเร่ืองเพ่ือใช
ในการจัดประสบการณ โดยพิจารณาจากสาระท่ีควรเรียนรู ซ่ึงระบุไวในการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป
ในหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั หัวเรือ่ งทีก่ าํ หนดควรมีลกั ษณะเหมาะสมกบั วัยและพฒั นาการของเด็ก ตรงตาม
ความตองการและความสนใจของเด็ก สอดคลองกับสภาพและบริบทในการดําเนินชีวิตประจําวันของเด็ก หรือ
สามารถผนวกคณุ ธรรมและจริยธรรมเขา ไปไดอยา งผสมกลมกลนื การกาํ หนดหวั เร่อื งสามารถทําได ๓ วิธี ดงั น้ี

วธิ ีที่ ๑ ผูสอนเปนผูกําหนด ผูสอนจะเปนผูกําหนดหนวยการจัดประสบการณ โดย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พิจารณาจากสาระการเรียนรใู นหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั และความสนใจของเด็ก
83
วธิ ที ี่ ๒ ผูสอนและเด็กรวมกันกําหนด ผูสอนจะกระตุนใหเด็กแสดงความคิดเห็น
แลวนําเร่ืองทส่ี นใจมากําหนดเปนหนวยการจดั ประสบการณ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

วธิ ที ่ี ๓ เด็กเปนผูกําหนด ผูสอนจะเปดโอกาสใหเด็กเปนผูกําหนดหัวเร่ืองได
ตามความสนใจของเด็ก

ผูสอนสามารถนําหัวเร่ืองหนวยการจัดประสบการณท่ีกําหนดไวมาจัดทําเปน
กําหนดการจัดประสบการณประจําปการศึกษา โดยคํานึงถึงฤดูกาล แหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน เทศกาล
ประเพณี และวันสําคัญตางๆ เพ่ือเปนการเตรียมวาจะจัดประสบการณหัวเรื่องใดในชวงเวลาใด ใหครบ

ตามเวลาเรยี นทกี่ ําหนดในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ท้ังน้ี ผสู อนควรจัดเตรียมใหมีชว งเวลาสําหรบั จดั ประสบการณ
ตามความสนใจของเด็ก และตระหนักวาสามารถเปล่ียนแปลงหรือยืดหยุนกําหนดการจัดประสบการณได
ตามความสนใจของเดก็

๒.๒ กําหนดรายละเอียดของหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนควรกําหนดรายละเอียด
ของหนวยการจัดประสบการณ ประกอบดวย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงค
จุดประสงคการเรียนรู และสาระการเรียนรูท้ังประสบการณสําคัญและสาระที่ควรเรียนรู ใหสัมพันธกัน
ทุกองคประกอบ โดยนํามาจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ซ่ึงอาจยืดหยุนได
ตามความเหมาะสมกับหัวเร่ืองหรือชื่อหนวยการจัดประสบการณ พรอมท้ังกําหนดเวลาเรียนของแตละหนวย
การจดั ประสบการณ ๑ - ๒ สปั ดาห ตามความเหมาะสมกบั สาระการเรยี นรขู องหนว ยการจดั ประสบการณ ตวั อยา ง
การกําหนดรายละเอยี ดของหนวยการจัดประสบการณ สาํ หรบั ช้ันอนุบาลศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๓ หนวยละ ๑ สปั ดาห
แสดงไวในตวั อยา งท่ี (๑.๑) (๒.๑) และ (๓.๑)

๒.๒.๑ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพท่ีพึงประสงค กําหนด
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงคของหนวยการจัดประสบการณท่ีคาดวา
การจดั ประสบการณใ นหนว ยนนั้ ๆ จะนาํ พาเดก็ ไปสสู ภาพทพ่ี งึ ประสงคต ามวยั การกาํ หนดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ที่พึงประสงค ตวั บง ช้ี และสภาพท่ีพึงประสงคข องแตละหนว ยการจัดประสบการณจะตองครอบคลมุ พฒั นาการ
ทัง้ ๔ ดา น แตไมจ าํ เปน ตอ งครบทุกมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ผูสอนสามารถนาํ มาตรฐานคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงค ตัวบงชี้ และสภาพท่ีพึงประสงคจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายปในหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั ในสว นทีส่ ัมพนั ธกับสาระทค่ี วรเรียนรูท เ่ี ลือกมาจัดในหนว ยการจดั ประสบการณ

๒.๒.๒ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู กาํ หนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรซู งึ่ เปน พฤตกิ รรมทต่ี อ งการ
ใหเ กดิ กบั เดก็ เมอ่ื ทาํ กจิ กรรมในหนว ยการจดั ประสบการณแ ลว ผสู อนสามารถกาํ หนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรโู ดยพจิ ารณา
จากสภาพที่พงึ ประสงคแลว ปรับเปน จดุ ประสงคก ารเรียนรู ทัง้ นี้ การกาํ หนดจดุ ประสงคการเรียนรสู ามารถกาํ หนดให
สัมพันธกับสาระท่ีควรเรียนรูของหนวยการจัดประสบการณหรือปรับใหสอดคลองกับความสามารถในขณะน้ัน
ของเด็ก โดยเช่ือวาความสามารถดังกลาวเปนพื้นฐานที่จะนําไปสูความสามารถตามสภาพที่พึงประสงคตอไป
หรือกําหนดตามสภาพที่พึงประสงคก็ได โดยพิจารณาจากความสามารถของเด็กท่ีผูสอนรับผิดชอบเปนหลัก
จุดประสงคการเรียนรูของแตละหนวยการจัดประสบการณจะครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ดาน โดยจํานวน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จดุ ประสงคการเรยี นรูของแตละหนวยการจัดประสบการณอ าจแตกตางกนั ได แตค วรกาํ หนดจํานวนจดุ ประสงค

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเรียนรูที่ไมมากเกินไป เพ่ือใหสามารถนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ
๒.๒.๓ สาระการเรียนรู กําหนดรายละเอียดของสาระการเรียนรูใหเขากับ

หัวเร่ืองหนวยการจัดประสบการณ การกําหนดสาระการเรียนรูตองประกอบดวย ประสบการณสําคัญและ
สาระที่ควรเรยี นรู ดังน้ี

(๑) ประสบการณสําคัญ กําหนดประสบการณสําคัญท่ีจะใชเปนแนวทาง
ในการจัดกิจกรรมอยางเหมาะสมกับหนวยการจัดประสบการณที่กําหนด เพ่ือพัฒนาเด็กใหบรรลุผลตาม
จุดประสงคการเรียนรู ผูสอนสามารถคัดเลือกประสบการณสําคัญจากหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยในสวน
ทส่ี มั พนั ธก บั สาระทค่ี วรเรยี นรทู ก่ี าํ หนดไวใ นการวเิ คราะหส าระการเรยี นรรู ายป โดยพจิ ารณาใหป ระสบการณส าํ คญั
ของแตละหนว ยการจดั ประสบการณค รอบคลุมพฒั นาการทง้ั ๔ ดาน ทงั้ นี้ ผูสอนสามารถพจิ ารณาปรบั เปลย่ี น
หรอื เพมิ่ เตมิ ประสบการณส าํ คญั ไดต ามความเหมาะสมเมอื่ เวลาเขยี นแผนการจดั ประสบการณแ ละประสบการณ
สําคญั ทกี่ ําหนดจะตองปรากฏในการดาํ เนนิ กจิ กรรมนน้ั ๆ

(๒) สาระท่ีควรเรียนรู กําหนดรายละเอียดของสาระที่ควรเรียนรู โดย
การคดั เลอื กสาระทคี่ วรเรยี นรทู ส่ี มั พนั ธก บั หวั เรอ่ื งของหนว ยการจดั ประสบการณจ ากหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
มากําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมท้ังในลักษณะท่ีเปนแนวคิด เนื้อหา ทักษะ หรือเจตคติ ใหสัมพันธกับชื่อหนวย
การจัดประสบการณ โดยคํานึงถึงสิ่งท่ีเด็กรูแลว ส่ิงท่ีเด็กตองการรู และส่ิงที่เด็กควรรู พิจารณาใหมีระดับ
ความยากงายของสาระท่ีควรเรียนรูท่ีเหมาะสมกับวัยและสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก ทั้งนี้ เม่ือกําหนด
84 สาระทค่ี วรเรยี นรคู รบทกุ หนว ยการจดั ประสบการณแ ลว ควรมสี าระทคี่ วรเรยี นรคู รบถว นตามทรี่ ะบไุ วใ นหลกั สตู ร
สถานศึกษาปฐมวัย

๓. เขยี นแผนการจดั ประสบการณ
๓.๑ เขยี นแผนการจดั ประสบการณรายสปั ดาห ออกแบบและกําหนดกิจกรรมทช่ี ว ยใหเ ด็ก

เกดิ การเรยี นรคู รบตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรขู องหนว ยการจดั ประสบการณ ครอบคลมุ กจิ กรรมประจาํ วนั ทร่ี ะบุ
ไวในหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ตลอดทงั้ สัปดาหไ วลว งหนา การเขยี นแผนการจดั ประสบการณร ายสัปดาหตอง
คาํ นึงถงึ มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค ตัวบงช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค รวมถึงสาระการเรียนรูท ง้ั ประสบการณส าํ คญั
และสาระท่ีควรเรียนรูตามหนวยการจัดประสบการณท่ีไดออกแบบไว การกําหนดกิจกรรมตองพิจารณา
ถึงความสมดุลของพฒั นาการทกุ ดานเปนอนั ดบั แรก จัดใหม คี วามหลากหลายของกจิ กรรม มคี วามสอดคลอ งกัน
และเปนไปในทิศทางที่สงเสริมพัฒนาการและการเรียนรูของเด็กแตละคนใหบรรลุจุดประสงคการเรียนรูของ
หนวยการจดั ประสบการณ ตามคมู อื ฉบบั นใ้ี ชก ิจกรรมหลัก ๖ กจิ กรรม ซ่งึ เปน การพัฒนาเดก็ อยางเปน องครวม
ท้ัง ๔ ดาน เปนกิจกรรมประจําวัน จึงไดเขียนแผนการจัดประสบการณรายสัปดาห ซ่ึงแสดงกิจกรรมหลัก
๖ กิจกรรม ดงั ตวั อยา งท่ี (๑.๒) (๒.๒) และ (๓.๒)

๓.๒ เขยี นแผนการจดั ประสบการณร ายวนั ระบรุ ายละเอยี ดทค่ี รอบคลมุ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
สาระการเรยี นรซู ่งึ ประกอบดว ยประสบการณสาํ คญั และสาระท่ีควรเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สือ่ และการประเมินผล
กําหนดวิธีการดําเนินกิจกรรมท่ีไดกําหนดไวในแผนการจัดประสบการณรายสัปดาหเปนข้ันตอนต้ังแตตนจนจบ

โดยคาํ นึงถงึ วยั พฒั นาการ ชวงความสนใจของเดก็ และจุดประสงคการเรียนรทู ีต่ อ งการ ส่ิงทผี่ ูสอนควรคํานงึ ถงึ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ในการเขยี นแผนการจดั ประสบการณส าํ หรบั เดก็ ปฐมวยั คอื การออกแบบกจิ กรรมตามหลกั การจดั ประสบการณ
และแนวทางการจดั ประสบการณข องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ไมใ ชร ปู แบบการเขยี นแผนการจดั ประสบการณ 85
เชน การเขยี นแบบตาราง แบบกง่ึ ตาราง หรอื แบบความเรยี ง ผสู อนควรพจิ ารณาเขยี นแผนการจดั ประสบการณ
ที่นําไปใชไดจริง และเกิดประโยชนสูงสุดตอเด็ก เพื่อเปนแนวในการปฏิบัติจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
คูมือฉบับน้ีนําเสนอตัวอยางแผนการจัดประสบการณรายวันไวระดับชั้นละ ๑ วัน ดังตัวอยางที่ (๑.๓) (๒.๓)
และ (๓.๓)

เม่ือเขียนแผนการจดั ประสบการณแ ลว ผูสอนควรนําแผนการจดั ประสบการณไปใชในการจัด

ประสบการณจริง ผูสอนควรใหความสําคัญกับท้ังการเขียนแผนการจัดประสบการณและการจัดประสบการณ
จริงสาํ หรับเด็ก ไมค วรละเลยการเขียนแผนการจัดประสบการณ เพราะแผนการจัดประสบการณทด่ี ียอ มนาํ ไปสู
การสอนทดี่ ี และควรใหค วามสาํ คญั กบั การจดั ประสบการณ ทง้ั ทมี่ กี ารออกแบบไวล ว งหนา และเกดิ ขน้ึ ในสภาพจรงิ

โดยไมไดค าดการณไ ว รวมถึงประสบการณทีเ่ กิดจากการอบรมเลย้ี งดูในกจิ วัตรประจําวันดว ย
๔. บันทึกหลังการจัดประสบการณ หลังจากจัดประสบการณแลว ผูสอนควรบันทึกหลังการจัด

ประสบการณ ท้ังการบันทึกผลการจัดประสบการณตามจุดประสงคการเรียนรูที่กําหนดไวในแผนการจัด

ประสบการณ รวมทง้ั ไตรตรองคดิ ทบทวนเกยี่ วกบั การจัดประสบการณของตนเอง ท้ังน้ี ผสู อนสามารถบนั ทึกได

ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับลักษณะของขอ มูลทตี่ อ งการ คูมือฉบบั นีไ้ ดแสดง

ตัวอยา งแบบบันทกึ หลังการจดั ประสบการณ ดงั ตวั อยางที่ (๑.๔) (๒.๔) และ (๓.๔) ซงึ่ เปน การบนั ทึกพฤตกิ รรม

ของเดก็ ตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรใู นลกั ษณะของการตรวจสอบรายการ และบนั ทกึ เกย่ี วกบั การจดั ประสบการณ

ทั้งในเร่ืองความยากงายของกิจกรรมที่กําหนด ความเหมาะสมของส่ือ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และ

ขอมูลอ่ืนๆ ท่ีผูสอนคาดวาจะเปนประโยชนตอการพัฒนาเด็กในการจัดประสบการณคร้ังตอไปในลักษณะของ

การเขยี นบรรยาย ท้งั น้ี ผูสอนสามารถปรบั เปล่ยี นหรอื ออกแบบแบบบนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณใ หสอดคลอง
กับการปฏิบัติงานของตนเองไดต ามความเหมาะสม

คูมอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 86 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตัวอยา งที่ ๑
(๑.๑) หนว ยการจัดประสบการณ ช้นั อนบุ าลศึกษาปท ่ี ๑ หนวย “ฝน”

มาตรฐาน/ตวั บง ช/ี้ สภาพที่พึงประสงค จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู

ประสบการณสําคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู

มฐ.๑ ตบช.๑.๓ ๑. ปฏบิ ัติตนอยา งปลอดภัยขณะฝนตก ดานรา งกาย ๑. ปรากฏการณธ รรมชาติ
๑.๓.๑ เลนและทาํ กจิ กรรมอยา งปลอดภัย เมือ่ มผี ชู ้ีแนะ ๑. การเคล่ือนไหวพรอมวสั ดอุ ุปกรณ - ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟาผา
เมื่อมีผูช แ้ี นะ ๒. รับลูกบอลโดยใชมือและลําตัวชว ย ๒. การเคลอ่ื นไหวท่ีใชก ารประสานสมั พันธ - รุงกนิ นา้ํ
มฐ.๒ ตบช.๒.๑ ตบช.๒.๒ ๓. ใชก รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันได ของการใชก ลา มเน้ือใหญ ในการขวาง การจบั
๒.๑.๔ รับลกู บอลโดยใชม ือและลาํ ตวั ชวย การโยน การเตะ ๒. การปฏิบตั ิตนอยางเหมาะสมเมือ่ ฝนตก
๒.๒.๑ ใชก รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันได ๔. กลาพดู กลาแสดงออก ๓. การเขียนภาพและการเลนกับสี - หลบฝน
โดยใชม อื เดียว ๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ๔. การปน - ใชอปุ กรณกันฝน
มฐ.๓ ตบช.๓.๒ ๕. การหยบิ จับ การใชก รรไกร การฉกี การตดั
๓.๒.๑ กลา พูดกลา แสดงออก การปะ และการรอ ยวัสดุ ๓. การปฏบิ ัติตนอยา งเหมาะสมเมือ่ เจบ็ ปว ย
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ๖. การฟงนิทาน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณเกยี่ วกับ - พกั ผอน ทํารางกายใหอบอุน ดืม่ น้าํ
การปอ งกนั และรกั ษาความปลอดภัย
๗. การเลนเคร่อื งเลน อยางปลอดภัย ใหเ พียงพอ และปฏิบัติตนอยางเหมาะสม
๘. การเลนบทบาทสมมติเหตุการณตา งๆ เพอ่ื ปองกนั การแพรเชอ้ื
ดา นอารมณ จิตใจ ๔. เหตุการณท ่ีสัมพนั ธก บั การเกิดฝน
๑. การฟง เพลง การรองเพลง และการแสดง
ปฏิกิริยาโตตอบเสยี งดนตรี - ตน ไมเจรญิ งอกงาม
๒. การเคลือ่ นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี - คนและสัตวม ีนํ้ากนิ นํา้ ใช
๓. การทํากจิ กรรมศลิ ปะตางๆ - นํ้าทว ม/ดนิ ถลม
๔. การเลน อสิ ระ
๕. การเลน ตามมุมประสบการณ/มุมเลน ตา งๆ
๖. การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตางๆ ตามความสามารถ
ของตนเอง

มาตรฐาน/ตวั บง ช/ี้ สภาพที่พึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู สาระที่ควรเรียนรู
ประสบการณส าํ คญั
มฐ.๔ ตบช.๔.๑ ดานสงั คม
๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทาทาง/ ๖. รว มกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๑. การทํางานศลิ ปะทนี่ ําวสั ดุหรือส่งิ ของทใี่ ชแลว
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี และดนตรอี ยางมีความสขุ มาใชซ ํ้า
มฐ.๘ ตบช.๘.๓ ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท ีเ่ กี่ยวกบั
๘.๓.๑ ปฏิบัตติ ามขอตกลงเมอ่ื มผี ูชแ้ี นะ ๗. ปฏิบัติตามขอ ตกลงเก่ียวกับการปอ งกนั ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม
การแพรเชือ้ เม่ือเจบ็ ปวยได ๓. การละเลนพืน้ บา นของไทย
มฐ.๙ ตบช.๙.๑ ๔. การดแู ลหองเรียนรว มกัน
๙.๑.๑ ฟงผอู น่ื พูดจนจบและพูดโตต อบเกี่ยวกบั ๘. ฟง และพูดโตต อบเกย่ี วกบั เรอ่ื งฝนตก ๕. การรว มสนทนาและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็
เรื่องทฟ่ี ง ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟา ผาได ๖. การเลนหรือทํากิจกรรมรว มกบั กลุมเพอ่ื น
ดานสตปิ ญญา
มฐ.๑๐ ตบช.๑๐.๑ ตบช.๑๐.๒ ๙. บอกลักษณะของหมวก เสื้อกนั ฝน และรม ๑. การฟง เพลง นิทาน คําคลอ งจอง บทรอยกรอง
๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะของส่งิ ตางๆ จาก จากการสงั เกตโดยใชประสาทสมั ผสั ได หรอื เร่อื งราวตางๆ
การสงั เกตโดยใชประสาทสัมผสั ๑๐. ระบุผลทเี่ กิดขึน้ จากการทีฝ่ นตกได ๒. การพูดอธบิ ายเก่ียวกับสง่ิ ของ เหตกุ ารณ
๑๐.๒.๑ ระบุผลทเี่ กิดขนึ้ ในเหตุการณห รอื และความสัมพนั ธข องส่งิ ตางๆ
การกระทําเมื่อมีผชู ้แี นะ ๓. การรอจังหวะทเ่ี หมาะสมในการพูด
๔. การสงั เกตลักษณะ สว นประกอบ
มฐ.๑๑ ตบช.๑๑.๑ ๑๑. สรางผลงานศิลปะเพือ่ ส่ือความคิด การเปลีย่ นแปลง และความสมั พันธของส่ิงตางๆ
๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพ่ือสอ่ื ความคิด ความรูส กึ ของตนเองได โดยใชประสาทสัมผสั อยางเหมาะสม
ความรสู กึ ของตนเอง ๑๒. คน หาคําตอบเก่ียวกบั รงุ กนิ นํา้ จาก ๕. การคาดเดาหรือคาดคะเนส่ิงทีอ่ าจจะเกดิ ข้นึ
มฐ.๑๒ ตบช.๑๒.๒ การทดลองได อยางมเี หตผุ ล
๑๒.๒.๑ คน หาคาํ ตอบของขอ สงสยั ตา งๆ ๖. การแสดงความคิดสรา งสรรคผ านภาษา
ตามวิธีการท่มี ีผชู ้แี นะ ทาทาง การเคล่ือนไหว และศิลปะ
๗. การสบื เสาะหาความรูเพอื่ คน หาคาํ ตอบของ
ขอสงสัยตางๆ

คมู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 87 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 88 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

(๑.๒) แผนการจดั ประสบการณรายสปั ดาห สัปดาหท ่.ี ............ หนว ย “ฝน” ชั้นอนบุ าลศึกษาปท ่ี ๑

วนั ท่ี เคลือ่ นไหวและจงั หวะ กจิ กรรม
๑ - เคลื่อนไหวพนื้ ฐาน
เสริมประสบการณ ศลิ ปะสรา งสรรค การเลน ตามมุม การเลนกลางแจง เกมการศึกษา
- เคล่ือนไหวรา งกาย - เกมจับคภู าพเหมอื น
ตามเพลงฝนตก เรอ่ื ง ปรากฏการณธรรมชาติ - วาดภาพอิสระดว ยสีเทียน - เลนตามมุมประสบการณ - เลนเคร่ืองเลนสนาม ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง
๒ - เคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน - รองเพลงฟาแลบ - หยดสีบนกระดาษเปยก มุมเลนตางๆ ฟา ผา
- เคลื่อนไหวตามคาํ บรรยาย - สนทนากับเด็กเก่ียวกบั ประสบการณเ ดมิ เรอ่ื งฝนตก - ปนแปงโดว - แนะนาํ หนังสอื เกยี่ วกบั - เกมเรียงลาํ ดับการเติบโต
(สมมติตนเองเปน เมล็ดพชื - เดก็ ดูวดี ทิ ัศนฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ฟาผา ฝนและนา้ํ ทม่ี มุ หนังสือ ของตน ไม ๓ ลําดบั
ทคี่ อ ยๆ เติบโต)
๓ - อบอุนรางกาย เรื่อง เหตุการณที่สัมพนั ธกบั การเกิดฝน - วาดภาพอสิ ระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมุมประสบการณ - เกมวิง่ ออ มหลัก - เกมจบั คูภาพอุปกรณ
- กายบรหิ ารประกอบเพลง - เด็กชภู าพเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นเม่อื ฝนตกและ - เปาฟองสบูส รางภาพ /มุมเลนตางๆ - เลน เครอื่ งเลนสนาม กนั ฝนกบั เงา
- ผอ นคลายกลา มเนอื้ ฝนแลง จากเรื่องทค่ี รเู ลา - พมิ พภ าพดวยน้วิ มอื
- สนทนาเกี่ยวกับเหตุการณท่ีอาจเกดิ ขึน้ เม่ือฝนตก - เกมจบั คภู าพเหมอื น
๔ - เคลือ่ นไหวพ้นื ฐาน มากเกินไป ประกอบภาพ รองเทา บทู
- การเคลอื่ นไหวผูนาํ ผตู าม
โดยผลดั เปลี่ยนกันเปนผนู าํ เรอื่ ง การปฏิบัติตนเมือ่ ฝนตก - วาดภาพอิสระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมุมประสบการณ - โยนและรบั ลกู บอล - เกมภาพตดั ตอ รงุ กนิ นํ้า
ครั้งละ ๑ คน - เด็กสงั เกตอุปกรณทใ่ี ชก นั ฝน - ละเลงสีดวยนิ้วมอื /มมุ เลน ตา งๆ - เลน เครอ่ื งเลน สนาม (๔ ช้ิน)
- สนทนาเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ นอยา งเหมาะสม - รอ ยหลอด
๕ - เคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน เมอ่ื ฝนตก
- เคลื่อนไหวประกอบการใช - เด็กเลนบทบาทสมมตกิ ารปฏบิ ัติตนเม่อื ฝนตก
ริบบ้นิ ผา สีสายรุง
เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นเม่ือเจบ็ ปวย - วาดภาพอสิ ระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมมุ ประสบการณ - เลนนํา้ เลนทราย
- อานนทิ าน เร่ือง หนูผักบงุ เปน หวดั ใหเ ด็กฟง - กล้งิ สี /มมุ เลนตา งๆ - เลน เครือ่ งเลนสนาม
- สนทนาเกยี่ วกับการปฏิบตั ติ นเมื่อเจบ็ ปว ย - ปนดินเหนียว - แนะนําอปุ กรณเลนสมมติ
- เด็กทดลองปฏบิ ัตเิ รอ่ื งการปฏิบตั ิตนเมอ่ื เจ็บปวย ทม่ี ุมหมอ
เพ่อื ปอ งกนั การแพรเช้ือ

เรือ่ ง ปรากฏการณธรรมชาติ - วาดภาพอิสระดว ยสเี ทียน - เลน ตามมุมประสบการณ - รีรขี าวสาร
- สนทนาเกีย่ วกับรงุ กนิ นาํ้ จากภาพ - วาดภาพอสิ ระดว ยสนี ํา้ /มุมเลน ตา งๆ - เลน เครือ่ งเลน สนาม
- ทดลองการเกดิ รุงกนิ นา้ํ - ตดั แถบกระดาษสี
- ทอ งคําคลองจองรงุ กินนาํ้ นํามาตดิ สรางภาพ
ตามความสนใจ

(๑.๓) แผนการจดั ประสบการณรายวัน สปั ดาหท ่ี..............วันที่....................................หนวย “ฝน” ช้นั อนุบาลศึกษาปท ่ี ๑

จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สือ่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส าํ คญั สาระทคี่ วรเรียนรู สังเกตพฤติกรรมเดก็ ขณะ
ทําทาทางประกอบเพลง
กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและ การเคลื่อนไหว - ๑. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวพืน้ ฐาน ใหเดก็ เคล่ือนไหวรา งกายไปทว่ั บริเวณ ๑. เครอื่ งเคาะจงั หวะ และดนตรี
จงั หวะ ตามเสยี งเพลง/ดนตรี อยา งอิสระตามจงั หวะ เมอ่ื ไดย นิ สญั ญาณหยดุ ใหหยุดเคลอ่ื นไหวในทา นน้ั ๒. เพลงฝนตก
รวมกจิ กรรมการ ทนั ที สังเกตพฤติกรรมการฟง
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๒. เดก็ เคลอื่ นไหวโดยทําทาทางประกอบเพลงฝนตก โดยใหแ ตละคน และพูดโตต อบเกย่ี วกบั
และดนตรีอยางมคี วามสขุ คดิ ทา ทางอยา งอสิ ระ และทาํ ซํา้ ตามความเหมาะสม เรอื่ งฝนตก ฟาแลบ
๓. เด็กผอนคลายกลามเนอื้ ฟารอ ง ฟา ผา

กจิ กรรมเสริมประสบการณ ๑. การฟง เพลง ปรากฏการณธ รรมชาติ ข้นั นํา ๑. เพลงฟา แลบ
ฟงและพูดโตตอบเกี่ยวกับ ๒. การพูดอธิบาย ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ๑. รองเพลงฟา แลบ ๒. วดี ทิ ัศนเ ก่ยี วกบั
เรื่องฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง เกยี่ วกบั ส่ิงของ และฟาผา ข้นั สอน ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง
และฟาผา ได เหตุการณ และความ ๒. เดก็ ผลัดเปลยี่ นกนั เลาประสบการณเรื่องฝนตก ฟาผา
สัมพนั ธข องสิ่งตา งๆ ๓. เดก็ ดวู ีดทิ ศั นเกี่ยวกับฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟาผา ครูหยุดเปน ตอนๆ
๓. การรอจังหวะ เพอ่ื สนทนากับเด็ก และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ
ทเ่ี หมาะสมในการพูด ๔. เดก็ คิดและทาํ ทา ทางประกอบเหตุการณฝ นตก ฟา แลบ ฟารอ ง ฟาผา
ข้นั สรปุ
๕. เดก็ ทายทาทางท่เี พ่อื นแสดงวาเปนปรากฏการณฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง
หรือฟา ผา

คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 89 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

คมู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 90 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ การประเมินผล
ประสบการณส ําคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู ๑. ครูทอ งคําคลอ งจองฝนตกพรําๆ
๒. ครแู นะนํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค ประกอบดว ย
กิจกรรมศลิ ปะสรา งสรรค ๑. การเขยี นภาพและ - ๑. คําคลองจองฝนตกพรําๆ ๑. สงั เกตพฤติกรรมขณะ
และกิจกรรมการเลน การเลน กบั สี ๒.๑ วาดภาพอิสระดวยสเี ทียน ๒. กระดาษ ทํางานศลิ ปะ
ตามมมุ ๒. การปน ๒.๒ หยดสบี นกระดาษเปยก ๓. สเี ทียน ๒. สังเกตพฤติกรรม
๑. สรางผลงานศิลปะ ๓. การทํากิจกรรม ๒.๓ ปน แปงโดว ๔. สีน้ํา การกลา พดู กลา แสดงออก
เพื่อส่ือความคิด ความรสู กึ ศลิ ปะตา งๆ ๓. ครแู นะนาํ หนงั สอื เกีย่ วกบั ฝนและนา้ํ ทีม่ ุมหนังสือ ๕. หลอดหยด ในการเลาเรื่องเพ่ือนาํ เสนอ
ของตนเองได ๔. การเลนตาม ๔. เดก็ เลอื กทาํ กจิ กรรมสรา งสรรค ๒ กิจกรรม ตามความสนใจ เมอ่ื ทาํ ๖. แปง โดว ผลงาน
๒. กลา พูดกลาแสดงออก มมุ ประสบการณ/ ผลงานเสร็จ ใหนาํ มาใหค รเู ขยี นบรรยายภาพหรือผลงาน ๗. มมุ เลน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการ
๓. แสดงความพอใจ มมุ เลนตางๆ ๕. เดก็ เลอื กเลนตามมุมประสบการณ เม่ือหมดเวลาครูใหสัญญาณ หรือมุมประสบการณ แสดงความพอใจในผลงาน
ในผลงานของตนเอง ๕. การพูดอธิบาย เด็กชวยกันเกบ็ ของ ของตนเอง
เกยี่ วกบั สงิ่ ของ ๖. เดก็ ๔ - ๕ คน นาํ ผลงานออกมานําเสนอ ใหเ พอ่ื นถามคําถามหรอื
เหตุการณ และความ แสดงความคดิ เหน็
สัมพันธข องสิง่ ตางๆ

กิจกรรมการเลน กลางแจง การเลนเคร่อื งเลน - ขอ ตกลงในการเลน ๑. เด็กอบอุนรา งกายดว ยการสะบัดมือ เทา ยอตัว ยดื ตวั เคร่อื งเลน สนาม สงั เกตพฤติกรรมการเลน
ปฏบิ ตั ิตนอยา งปลอดภยั อยา งปลอดภัย เครือ่ งเลน สนาม ๒. ครทู บทวนขอตกลงในการเลนเครอื่ งเลน สนามอยางปลอดภยั อยา งปลอดภัย
ขณะฝนตกเม่ือมีผูชแี้ นะ ๓. เด็กเลน เคร่ืองเลน สนามอยางอิสระ โดยครคู อยดูแลความปลอดภัยของเดก็ สงั เกตการเลน เกมการศกึ ษา
๔. ครูใหส ญั ญาณหยุดเลน และพาเด็กไปทําความสะอาดรา งกาย

กิจกรรมเกมการศกึ ษา การสังเกตลกั ษณะของ - การสงั เกตเปรยี บเทยี บ ๑. ครแู นะนําเกมจบั คูภ าพเหมือนฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ฟา ผา ๑. เกมจบั คภู าพเหมอื น
จบั คภู าพเหมอื นได ส่งิ ตา งๆ ความเหมือน ความตาง ๒. แบง เดก็ เปน ๔ กลมุ ใหเ ด็ก ๑ กลุม รับเกมท่คี รูแนะนาํ ไปเลน ฝนตก ฟาแลบ ฟารอง
กลมุ อืน่ ๆ เลน เกมการศกึ ษาชดุ เดิม ฟาผา
๓. เด็กเก็บเกมการศึกษา ๒. เกมชดุ เดิมทเ่ี คยเลน

(๑.๔) แบบบันทกึ หลังการจดั ประสบการณ สัปดาหท .่ี ............. หนว ย “ฝน” ชัน้ อนบุ าลศกึ ษาปท ี่ ๑
คาํ ชแี้ จง ทาํ เครอ่ื งหมาย ✓ เม่อื พบพฤตกิ รรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู หรือทําเคร่อื งหมาย เม่อื ไมพ บพฤติกรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

จุดประสงคก ารเรียนรู

เลขท่ี ชอื่ สกุล ๑.เปืม่อฏิมีับ ผูติ ้ีชตแนนอะยางปลอด ัภยขณะฝนตก หมายเหตุ
๒. รับลูกบอลโดยใชมือและลําตัวชวย
๓. ใ ชกรรไกรตัดกระดาษขาดจาก ักนไ ด
๔. กลา ูพดกลาแสดงออก
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
๖. รวม ิกจกรรมการเค ื่ลอนไหวประกอบ

เพลงและดนตรีอ ยางมีความ ุสข
๗. ป ิฏ ับติตามขอตกลงเ ี่กยว ักบการ

ปองกันการแพรเช้ือเม่ือเ ็จบ ปวยไ ด
๘. ฟงและพูดโตตอบเ ี่กยวกับเ ่ืรอง

ฝนตก ฟาแลบ ฟา รอง ฟาผาไ ด
๙. บอกลักษณะของหมวก เ ืส้อกันฝน และ

รมจากการ ัสงเกตโดยใชประสาทสัมผัสได
๑๐. ระ ุบผล ี่ทเกิด ้ึขนจากการท่ีฝนตกได
๑๑. ส รางผลงานศิลปะเ ืพ่อ ่สือความ ิคด

ความรูสึกของตนเองได
๑๒. คนหาคําตอบเก่ียวกับ รุงกินน้ํา

จากการทดลองไ ด

๑ เดก็ ชาย..........
๒ เด็กชาย..........
๓ เดก็ ชาย..........
..... ......................
..... ......................
..... ......................
๑๘ เด็กหญิง........
๑๙ เด็กหญิง........
๒๐ เดก็ หญิง........

บันทึกผลการจัดกจิ กรรม (อาทิ ความยากงา ยของกิจกรรมที่กาํ หนด ความเหมาะสมของสื่อ ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม การตอบสนองของเด็กตอ กิจกรรม ลกั ษณะการเรียนรูของเด็ก)

......................................................................................................................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................................................................................................................

คมู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สําหรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ลงชือ่ ...............................................ผบู ันทึก

91

คมู อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 92 สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตวั อยา งท่ี ๒
(๒.๑) หนว ยการจัดประสบการณ ชนั้ อนบุ าลศึกษาปที่ ๒ หนวย “ฝน”

มาตรฐาน/ตัวบงช/ี้ สภาพท่ีพึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู

ประสบการณสําคญั สาระที่ควรเรยี นรู

มฐ.๑ ตบช.๑.๓ ๑. ปฏบิ ตั ิตนอยางปลอดภยั เมอ่ื ฝนตกได ดานรางกาย ๑. ปรากฏการณธรรมชาติ
๑.๓.๑ เลน และทาํ กจิ กรรมอยา งปลอดภยั ๑. การเคลอ่ื นไหวที่ใชก ารประสานสัมพนั ธข อง - สมบตั ขิ องน้าํ
ดว ยตนเอง การใชก ลา มเน้อื ใหญในการขวาง การจับ
การโยน การเตะ ๒. การปฏิบัติตนอยางเหมาะสมเมอื่ ฝนตก
มฐ.๒ ตบช.๒.๑ ตบช.๒.๒ ๒. การเขยี นภาพและการเลนกับสี - หลบฝน และไมไ ปในท่โี ลงแจง
๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดยใชมือท้งั ๒ ขาง ๒. รบั ลูกบอลโดยใชม อื ท้ัง ๒ ขา ง ๓. การปน - ใชอุปกรณกันฝน
๒.๒.๑ ใชก รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสนตรงได ๓. ใชกรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน ตรงได ๔. การหยิบจบั การใชก รรไกร การฉีก การตัด
การปะ และการรอ ยวัสดุ ๓. การปฏิบัติตนอยางเหมาะสมเมอ่ื เจ็บปวย
มฐ.๓ ตบช.๓.๒ ๔. กลา พูดกลาแสดงออกอยา งเหมาะสม ๕. การเคลอ่ื นไหวโดยควบคมุ ตนเองไป - พกั ผอ น ทํารา งกายใหอ บอนุ ดมื่ นํ้า
๓.๒.๑ กลา พูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสม ๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
บางสถานการณ ๖. การฟงนทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณเกย่ี วกบั ใหเพียงพอ และปฏิบัตติ นอยางเหมาะสม
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและ การปอ งกันและรกั ษาความปลอดภยั เพื่อปอ งกันการแพรเ ชื้อ
ความสามารถของตนเอง ๗. การเลน เคร่อื งเลน อยางปลอดภัย
๘. การเลน บทบาทสมมตเิ หตุการณต างๆ - การบอกอาการเมอื่ เจบ็ ปวย
ดานอารมณ จิตใจ ๔. เหตุการณทสี่ มั พนั ธกับการเกดิ ฝน
๑. การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๒. การทาํ กจิ กรรมศลิ ปะตา งๆ - เกิดแหลงน้ํา
๓. การเลนอิสระ - คนและสัตวม ีนาํ้ กนิ นํา้ ใช
๔. การเลนตามมุมประสบการณ/ มุมเลนตา งๆ - พืชผลทางการเกษตรเจรญิ งอกงาม
๕. การเลน นอกหอ งเรยี น - โครงการตามพระราชดาํ ริฯ โครงการ
๖. การปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา งๆ ตามความสามารถ ฝายชะลอนํ้า
ของตนเอง

มาตรฐาน/ตัวบง ชี้/สภาพทพ่ี งึ ประสงค จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรยี นรู
มฐ.๔ ตบช.๔.๑
๔.๑.๓ สนใจ มีความสขุ และแสดงทา ทาง/ ประสบการณส ําคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี
มฐ.๗ ตบช.๗.๒ ดา นสงั คม
๗.๒.๓ ยนื ตรงเม่อื ไดยินเพลงชาตไิ ทยและ ๖. รว มกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๑. การทํางานศิลปะทีน่ ําวสั ดหุ รือสิ่งของเครอ่ื งใช
เพลงสรรเสรญิ พระบารมี และดนตรอี ยางมคี วามสขุ ทีใ่ ชแลวมาใชซ า้ํ หรอื แปรรูปแลวนาํ กลับมาใชใ หม
มฐ.๙ ตบช.๙.๑ ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท่ีเกย่ี วกบั
๙.๑.๒ เลาเรื่องเปนประโยคอยา งตอ เนอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมในชวี ติ ประจาํ วนั
มฐ.๑๐ ตบช.๑๐.๑ ตบช.๑๐.๒ ๓. การละเลน พน้ื บา นของไทย
๑๐.๑.๑ บอกลักษณะและสวนประกอบของ ๗. รเู รื่องราวเกย่ี วกบั พระมหากรณุ าธคิ ุณของ ๔. การดูแลหองเรียนรวมกัน
สิง่ ตางๆ จากการสงั เกตโดยใชประสาทสัมผสั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ไทย ๕. การรวมสนทนาและแลกเปลยี่ นความคิดเหน็
๑๐.๒.๑ ระบสุ าเหตุหรอื ผลท่ีเกดิ ข้ึน
ในเหตกุ ารณหรอื การกระทําเม่อื มีผชู แ้ี นะ ๖. การเลนหรอื ทํากจิ กรรมรวมกบั กลมุ เพื่อน
๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเนสิง่ ที่อาจจะ ดานสติปญ ญา
เกดิ ขึน้ หรือมสี ว นรวมในการลงความเหน็ จาก ๘. บอกอาการเม่ือเจบ็ ปว ยได ๑. การฟง เพลง นทิ าน คาํ คลองจอง บทรอยกรอง
ขอมลู
มฐ.๑๑ ตบช.๑๑.๑ หรอื เร่ืองราวตางๆ
๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพอื่ สื่อความคดิ ๒. การพดู อธบิ ายเก่ยี วกบั สง่ิ ของ เหตกุ ารณ
ความรสู กึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง และ ๙. บอกรายละเอียดท่สี งั เกตจากการทดลอง และความสมั พนั ธข องส่ิงตา งๆ
แปลกใหมจ ากเดมิ หรือมีรายละเอียดเพ่ิมขน้ึ เร่ืองการเกิดฝนได ๓. การรอจังหวะทเี่ หมาะสมในการพดู
๑๐. ระบผุ ลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการท่ีฝนตกได ๔. การสงั เกตลักษณะ สวนประกอบ
การเปลย่ี นแปลง และความสัมพนั ธข องส่ิงตา งๆ
๑๑. คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกดิ ข้นึ เม่อื นํ้าไหลผา น โดยใชป ระสาทสัมผัสอยางเหมาะสม
ฝายชะลอนา้ํ ได ๕. การนับและแสดงจาํ นวนของสงิ่ ตางๆ
ในชวี ติ ประจาํ วัน
๖. การชัง่ ตวง วดั ส่งิ ตางๆ โดยใชเ ครอ่ื งมือและ
หนว ยที่ไมใ ชหนว ยมาตรฐาน
๗. การบอกและเรียงลําดบั กิจกรรมหรือ
๑๒. สรา งผลงานศลิ ปะเพอ่ื สือ่ ความคิด เหตุการณตามชว งเวลา
ความรูสึกของตนเอง โดยมีการดัดแปลง และ ๘. การคาดเดาหรือคาดคะเนส่งิ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึน
แปลกใหมจากเดิมหรือมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึน อยา งมีเหตุผล

๙. การแสดงความคดิ สรางสรรคผ า นภาษา
ทา ทาง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ

คมู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 93 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 94 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

(๒.๒) แผนการจัดประสบการณร ายสปั ดาห สปั ดาหท .ี่ .............. หนว ย “ฝน” ชนั้ อนุบาลศกึ ษาปที่ ๒