เฉลย Data Governance Framework Awareness

ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐยังประสบกับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ซึ่งเป็นประเด็นปัญหาเชิงนโยบายและปฏิบัติ ทั้งในเรื่อง ความซ้ำซ้อนของข้อมูล ความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล (เช่น การรักษาความลับ การเข้าถึงข้อมูล การรักษาความเป็นส่วนบุคคล) คุณภาพของข้อมูล (เช่น ความถูกต้อง ความครบถ้วน ความเป็นปัจจุบัน) การเปิดเผยข้อมูล (เช่น หน่วยงานเจ้าของข้อมูลไม่อนุญาตให้เข้าถึงข้อมูล กระบวนการขอใช้ข้อมูลซับซ้อนและใช้เวลานาน ข้อมูลไม่อยู่ในรูปแบบที่ใช้งานต่อได้ง่าย) และยังไม่มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้การได้มาและการนำไปใช้ข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มั่นคงปลอดภัย รักษาความเป็นส่วนบุคคล และสามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัยได้จริง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance for Government) จึงถูกจัดทำขึ้น

ปัญหาข้างต้นเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆ หน่วยงานรวมภาครัฐมาช้านาน แม้แต่หลายงานที่ได้เข้าไปมีส่วนเช่น TNRR ก็ประสบปัญหาข้างต้น

เฉลย Data Governance Framework Awareness

ถือว่าเป็นโอกาสดีที่มีการดำเนินการของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องยกระดับการจัดการข้อมูลภาครัฐ โดยเฉพาะปรากฏการณ์สำคัญของไทย โดยในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ผ่านราชกิจจาเป็นที่เรียบร้อย โดยมีประเด็นสำคัญคือให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการให้เป็นไปตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ และจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐในระดับหน่วยงานให้สอดคล้องกับธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐด้วย

เฉลย Data Governance Framework Awareness

ประกาศข้างต้นเป็นไปตามมาตรา 12 ของ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562

มาตรา 12 เพื่อให้การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัลเป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา 4 และเกิดการบูรณาการร่วมกัน ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐในระดับหน่วยงาน

มาตรา 4 เพื่อให้การบริหารงานภาครัฐและการจัดทำบริการสาธารณะเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดทำบริการสาธารณะในรูปแบบและช่องทางดิจิทัลโดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทำงานให้มีความสอดคล้องกันและเชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณะและสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

การดำเนินการที่เกี่ยวกับธรรมาภิบาลข้อมูล อย่างน้อยประกอบด้วย

  1. การกำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงาน
  2. การวางแผนการดำเนินงาน การปฏิบัติตามแผนการดำเนินงาน การตรวจสอบและการรายงานผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ระบบบริหารและกระบวนการจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยน และบูรณาการข้อมูลระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน และคุ้มครองข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ
  3. การกำหนดมาตรการควบคุมและพัฒนาคุณภาพข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มั่นคงปลอดภัย และไม่ถูกละเมิดความเป็นส่วนบุคคล รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน บูรณาการ และใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. การวัดผลการบริหารจัดการข้อมูล โดยอย่างน้อยประกอบด้วย การประเมินความพร้อมของธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐในระดับหน่วยงาน การประเมินคุณภาพข้อมูล และการประเมินความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล
  5. การจำแนกหมวดหมู่ของข้อมูล เพื่อกำหนดนโยบายข้อมูลหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับผู้มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลต่าง ๆ ภายในหน่วยงาน สำหรับให้ผู้ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามนโยบายหรือกฎเกณฑ์ได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันจะนำไปสู่การบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐอย่างเป็นระบบ
  6. การจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัลของภาครัฐและบัญชีข้อมูลให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน

ทั้งนี้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ คือ การกำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐทุกขั้นตอน เพื่อให้การได้มาและการนำข้อมูลของหน่วยงานของรัฐไปใช้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน รักษาความเป็นส่วนบุคคล และสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน และบูรณาการระหว่างกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย

“ข้อมูล” หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียม ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การสำรวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้

“ชุดข้อมูล” หมายความว่า การนำข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูล

“บัญชีข้อมูล” หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐ

�����Է�ҹԾ��� �Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ�ͧ��ä������ͧ�� �¾���Ҫ�ѭ�ѵ� ��ä������ͧ
Political Party Acts As A Means To Institutionalize ThaiPolitical Parties ���͹��Ե ��Թ�� �ؤ���
Chayinthorn Sukonthorn �����Ҩ�������֡�� � �� ����� �ͧ�����ҵ�
Prof.Dr. Kramol Tongdhamachart ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. �Ѱ��ʵ�� (��û���ͧ)
Master. Arts (Government) �շ�診����֡�� 2538 ���Ѵ���(��) ����֡���Ԩ�¤��駹�� ���ѵ�ػ��ʧ������֡��������������������㹺��ѭ�ѵԢͧ����Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ���Щ�Ѻ����詺Ѻ�á (�.�. 2498) ���֧�Ѩ�غѹ (�.�. 2524) ��� 4 ��Ѻ������Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ���Ѻ��ä������ͧ������٧��������������§� ��ʹ���֡�Ҷ֧�ѭ������ػ��ä㹡�úѧ�Ѻ�����Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ��Ѻ��ҧ � �ѧ����� �͡�ҡ����ѧ���֡�Ҷ֧���ҷ��оĵԡ����ͧ�ѡ������ͧ����ʴ��͡�ҹ�� �ʹ���ͧ�Ѻ�Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ�ͧ��ä������ͧ�� �¾���Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ ����ͧ��èоѲ�Ҿ�ä������ͧ������դ�����ʶҺѹ����٧�������������ҧ�� �š���Ԩ�¾���� �����������վ�ä������ͧ�����㹻�����¨��֧�Ѩ�غѹ ��ä������ͧ���繾�ä������ͧ����Դ������ͧ�¸����ҵ�㹪�ǧ���������ѹ��� ��§��ǧ �.�. 2483-2493 ��ҹ������е���Ҩ��֧�Ѩ�غѹ��èѴ��駾�ä������ͧ��ͧ����º��ѭ�ѵ���觡������ͧ�Ѻ�µ�ʹ��੾�����ҧ��觾���Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ�֧�դ��������������ҧ�Ƿҧ㹡�����ҧ������ʶҺѹ���Ѻ��ä������ͧ�� �������Ҫ�ѭ�ѵԾ�ä������ͧ�ѧ����ǵ�ʹ����������ʺ����������㴹ѡ ��駹�����ͧ�ҡ���ҷ��оĵԡ����ͧ�ѡ������ͧ �������ʹ���ͧ�Ѻ�ѵ�ػ��ʧ��ͧ�����������˵��Ӥѭ ���Ѵ���(English) This thesis is aimed at analysing each of the politicalparty acts from the first act(1955) to the presentone(1981). It seeks to explain whether each of the actshelps to institutionalize Thai political parties and alsoattempts to study the problem of enforcing each act. Thethesis, in addition, studies the politician's role andbehavior in contributing to the development of the politicalparty acts as the means to institutionalize Thai politicalparties. The study shows that since the emergance of Thaipolitical parties, they are naturally created only in shortperiod between 1945 and 1954. Since 1955 Thai politicalparties have been legally created especially by thepolitical party acts. The political party acts are,therefore, used as ameans to institutionalize Thai political parties. They are,however, not successful mainly due to the politician'sroles, and behavior which do not conform to the aims of thelaws. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 239 P. ISBN 974-632-647-3 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ POLITICIAN, ACT, PARTY, INSTITUTIONALIZE, MEANS �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ