พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

ต่อภาษีรถยนต์ประจำปี (ป้ายวงกลม) มีกี่วิธีและต้องเตรียมอะไรบ้าง?

รถยนต์ทุกคันมีอายุทะเบียนที่อนุญาตให้ขับขี่ได้เพียง 1 ปี ไม่ว่าจะเป็นรถประเภทไหนก็ตามทั้ง รถเก๋ง รถตู้ รถแวน รถปิคอัพ ฯลฯ ล้วนจะต้องชำระเป็นค่าภาษีเป็นประจำปีทุกๆ ปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "ป้ายวงกลม" หรือ “ป้ายภาษี” ทีนี้เราจะมาดูกันว่า เมื่อถึงกำหนด เราต้องเตรียมตัวอะไรกันบ้างในการต่อทะเบียน และเสียภาษีรถยนต์ประจำปี อีกทั้งมีกี่วิธีที่จะสามารถทำได้ โดยใช้หลักฐาน ใบคู่มือจดทะเบียนรถ (ถ้ามี), หลักฐานการเอาประกันภัยตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่ยังไม่สิ้นอายุ, ใบรับรองการตรวจสภาพรถ (สำหรับรถยนต์ที่จดทะเบียนมาแล้วตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

กลุ่มรถที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี (นับตั้งแต่วันจดทะเบียน)
สำหรับรถยนต์ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี ไม่ติดแก๊ส นับตั้งแต่วันจดทะเบียน (ได้ป้ายขาว) นะครับ อย่าไปจำเป็นวันที่ซื้อล่ะ ถือว่ารถที่อยู่ในกลุ่มนี้สะดวกสบายที่สุดเพราะไม่มีอะไรยุ่งยาก สามารถนำเล่มทะเบียนสีฟ้าหรือว่ารถที่ผ่อนกับไฟแนนซ์ก็ใช้สำเนาเล่มทะเบียน โดยถ่ายด้านรายละเอียดเลขตัวถัง ทะเบียนและชื่อเจ้าของรถ สามารถนำไปต่อภาษีได้เลย และอย่าลืมแนบส่วนหาง พ.ร.บ. ไปด้วยนะครับ

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

 
ส่วนถยนต์ที่มีอายุจดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี แต่มีการติดตั้งพลังงานทางเลือกทั้งระบบแก๊ส LPG หรือ NGV หากมีการดัดแปลงและแจ้งการติดตั้งกับกรมขนส่งบันทึกลงในสมุดคู่มือทะเบียนรถไว้แล้วนั้น หากเป็นระบบถัง LPG ควรตรวจสอบระบบบรรจุก๊าซทุก 5 ปี และระบบ NGV/CNG ควรตรวจทุก 1 ปี ตามกรมการขนส่งทางบกกำหนด ส่วนตัวถังบรรจุแก๊สระบบ LPG ทุก 10 ปี และ NGV ทุก 5 ปี เป็นต้น โดยที่ในส่วนของตัว "รถ" นั้น "ไม่จำเป็นต้องตรวจสภาพเพื่อขอใบรับรองใดๆ" และอย่าลืมหลักฐานการทำ พ.ร.บ. แนบไปด้วย
หรือ อาจจะไปใช้บริการตรวจสภาพเอกชน ที่มีขั้นตอนการตรวจสอบระบบแก๊สในสถานประกอบการเอกชนหรือ ตรอ. ที่ได้รับอนุญาตจากกรมขนส่ง มีวิศวกรออกใบรับรองอย่างถูกต้องเท่านั้น โดยจะตรวจสอบระบบการทำงานทั่วไป, ตรวจสอบความพร้อมของชุดจ่ายแก๊ส, ตรวจสอบอายุถังบรรจุแก๊ส, ตรวจสอบระบบบรรจุแก๊ส

กลุ่มรถที่มีอายุเกิน 7 ปี (นับตั้งแต่วันจดทะเบียน)
ในกลุ่มรถยนต์มีอายุการใช้งานเกิน 7 ปี แต่ไม่มีการติดตั้งแก๊ส เพียงแค่นำรถไปตรวจสภาพความพร้อมในการใช้งานกับสถานประกอบการเอกชนหรือ ตรอ. ที่ได้รับอนุญาตจากกรมขนส่ง หรือนำรถเข้าไปตรวจสภาพที่กรมขนส่งโดยตรงได้เช่นกัน และอย่าลืมแนบหลักฐานการทำ พ.ร.บ.ไปด้วย
 ส่วนรถยนต์มีอายุการใช้งานเกิน 7 ปี  ที่ติดตั้งแก๊ส นอกจากต้องตรวจสภาพกับ ตรอ.แล้ว จำเป็นต้องนำรถไปตรวจสอบระบบแก๊สด้วย ตามหลักเกณฑ์เดียวกับรถไม่เกิน 7 ปี นั่นคือ อายุการติดตั้งระบบแก๊สนับจากวันที่ระบุไว้ รวมถึงถังบรรจุแก๊สด้วย เมื่อตรวจสอบทุกอย่างครบก็สามารถนำรถเข้าไปต่อทะเบียนได้เลย โดยอย่าลืมพ.ร.บ.แนบไปด้วย
การตรวจสภาพรถเกิน 7 ปี นั้นมีรายละเอียดคร่าวๆ คือ การตรวจสอบระบบไฟฟ้ารถยนต์ทั้งระบบ เช่น ไฟหน้า ไฟเลี้ยว ไฟเบรก ไฟถอยหลัง ไฟหน้าปัด ต้องติดครบ ระบบเบรกต้องอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน โดยจะมีเครื่องทดสอบการห้ามล้อที่พื้น เพียงนำรถขับลงไปและเบรก คอมพิวเตอร์ก็จะแสดงผลแรงเบรกเป็นตัวเลขซึ่งต้องอยู่ในเกณฑ์ปกติ รวมถึงเบรกมือต้องใช้งานได้ด้วย เป็นต้น

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

ขั้นตอนการต่อภาษี
 เมื่อเสร็จจากขั้นตอนการตรวจสภาพรถทั้งรถเก่าและรถใหม่แล้ว ก็มาถึงขั้นตอนการต่อภาษีประจำปีกันบ้าง ซึ่งการต่อภาษีรถยนต์ประจำปีหรือต่อทะเบียน สามารถทำได้หลายแบบ ได้แก่
1. ยื่นเอกสารที่กรมขนส่งทางบกทั่วประเทศ
2. ชำระได้ที่ทำการไปรษณีย์
3. ชำระที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยจะต้องเป็นรถที่ไม่มีภาษีค้างชำระหรือมีภาษีค้างชำระไม่เกิน 1 ปี หรือมีภาษีค้างชำระเกิน 1 ปี ที่นายทะเบียนได้ประกาศยกเว้นการตรวจสภาพรถก่อนเสียภาษีประจำปี, ยื่นขอเสียภาษีประจำปีล่วงหน้าได้ไม่เกิน 3 เดือน ก่อนวันครบกำหนดเสียภาษี เว้นแต่รถที่มีภาษีค้างชำระให้ยื่นได้ทันทีที่ร่วมโครงการ
4. ชำระที่ห้างสรรพสินค้า โครงการ "ช้อปให้พอ แล้วต่อภาษี (Shop Thru for Tax)" ในวันเสาร์และวันอาทิตย์
- ห้างบิ๊กซี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 14 สาขา เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 09.00-17.00 น.
- ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขารามอินทรา เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 10.00 - 17.00 น.
- ศูนย์การค้าพาราไดซ์ พาร์ค ถนนศรีนครินทร์ เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 10.00 - 17.00 น.
- ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 11.00 - 18.00 น.
- ศูนย์บริการร่วมคมนาคม เปิดให้บริการวันจันทร์ - วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 - 15.00 น. ณ เชิงสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

5. นำรถเข้าช่องต่อภาษีในระบบ "เลื่อนล้อต่อภาษี" ในบริเวณพื้นที่ในกรมขนส่งทางบก บริเวณหน้าอาคาร 3 ภายในกรมการขนส่งทางบก หรือ สำนักงานขนส่งทุกจังหวัดทั่วประเทศ เปิดให้บริการทุกวันจันทร์ - ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 07.30 - 15.30 น.
6.ชำระที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสทั่วประเทศ เปิดให้บริการทุกวันจันทร์ - ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 07.30 - 15.30 น. และป้ายวงกลมทางไปรษณีย์ ตามที่อยู่ที่ท่านระบุภายใจ 10 วันนับจากวันที่ชำระเงิน
7. ชำระผ่านอินเทอร์เน็ต eservice โดยจะต้องลงทะเบียนด้วยตัวเอง (สามารถดูขั้นตอนได้ที่
https://eservice.dlt.go.th/esvapp/pdf/UserGuideTax.pdf)
8.ชำระผ่านแอพพลิเคชั่นบนมือถือ เพื่อตอบสนองรูปแบบการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ และ เพิ่มช่องทางอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนมากยิ่งขึ้น ผ่านบริการ mPAY (เอ็มเปย์) และ แอพ Wallet  by truemoney

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

mPAY (เอ็มเปย์) โดย AIS

พร บ กับ ภาษี ต้อง ต่อ พร้อม กัน ไหม

True Money Wallet  โดยTrueMove

ต่อภาษีต้องต่อพรบด้วยไหม

สำหรับรถยนต์ที่จะไปต่อภาษีประจำปีนั้น สิ่งที่จะขาดไม่ได้เลยคือ พ.ร..รถยนต์ โดยถ้าเป็นรถใหม่ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี สามารถนำเอกสาร สำเนาทะเบียนรถ หรือเล่มจริง และสำเนาบัตรประชาชน ไปซื้อ พ.ร..รถยนต์ ได้ที่ บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ทั่วประเทศ, ตัวแทนประกันภัย, เคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11 หรือธนาคารเพื่อการ ...

พรบกับภาษีหมดวันเดียวกันไหม

นอกจาก พรบ รถยนต์และป้ายภาษีรถยนต์จะมีความแตกต่างกันอย่างที่พี่กู๊ดได้นำเสนอไปข้างต้นแล้ว คุณยังต้องคอยตรวจสอบป้ายภาษีรถยนต์อีกด้วยว่าหมดอายุเมื่อไหร่ เพราะ พรบ รถยนต์กับป้ายภาษีนั้นไม่ได้หมดอายุวันเดียวกันนะครับ วิธีการตรวจสอบป้ายภาษีรถยนต์ดูได้จากวันสิ้นอายุที่ระบุ วันที่ เดือน และปี พ.ศ.ตัวใหญ่ ๆ หน้าแผ่นป้าย

ต่อ พร บ อย่างเดียว ได้ไหม

ถาม : ถ้าเราต่อ พรบ. ไม่ต่อประกันได้ไหม? เราสามารถต่อพรบ. อย่างเดียวได้ไหม? คำตอบ : ได้ครับ ไม่มีปัญหาใดๆทั้งสิ้น ไม่ผิดกฏหมาย และ ไม่มีใครสามารถบังคับได้ครับ เพราะที่กฏหมายบังคับมีเพียงแค่ การต่อพรบ. (ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ) และ การเสียภาษีรถยนต์ เท่านั้นครับ

พรบ ไม่ต่อได้ไหม

เจ้าของรถทุกท่านน่าจะทราบดีกว่าการทำ พ.ร.. ถือเป็นประกันภาคบังคับ ดังนั้นรถทุกคันจะต้องมี พ.ร.. และถ้าไม่มี พ.ร.. หรือไม่ได้ต่อ พ.ร.. ก็เท่ากับผิดกฏหมายนั่นเอง แล้วถ้าโดนจับเพราะไม่มี พ.ร.. จะโดนอะไรบ้าง มาดูกัน หากคุณขับรถที่ไม่มี พ.ร.. ไม่ว่าคุณจะเป็นเจ้าของรถหรือไม่ ก็ถือว่าผิดกฏหมาย และจะมีโทษดังนี้