อำนาจหน้าที่ กระทรวงมหาดไทย

ตามมาตรา 30  แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุขการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมือง การปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัยและการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทย

การแบ่งส่วนราชการ
1. ราชการบริหารส่วนกลาง
1.1 กองกลาง
1.2 กองการเจ้าหน้าที่
1.3 กองการต่างประเทศ
1.4 กองคลัง
1.5 การสารนิเทศ
1.6 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.7 สถาบันดำรงราชานุภาพ
1.8 สำนักกฎหมาย
1.9 สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
1.10 สำนักตรวจราชการและเรื่องราวร้องทุกข์
1.11 สำนักนโยบายและแผน
1.12 สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด
2. กลุ่มที่ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวง
2.1 กลุ่มตรวจสอบภายใน
2.2 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
2.3 สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
3. ส่วนราชการภายใน
3.1 ศูนย์ปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย
3.2 กลุ่มงานอำนวยการปลัดกระทรวง
4. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
4.1 สำนักงานจังหวัด

หน้าที่และความรับผิดชอบ
1. กลุ่มงานบริหาร
- งานเลขานุการและงานการประชุม
- งานบริหารทั่วไปและงานช่วยอำนวยการ
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
- ประสานงาน วิเคราะห์ กลั่นกรอง และเสนอความเห็นในการปฏิบัติภารกิจของรัฐมนตรี
- ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ และติดตามความเคลื่อนไหวทางการเมือง
- รายงานผลการปฏิบัติประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

2. กลุ่มงานการเมือง
- ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง
- ประสานงานการเมืองของรัฐมนตรี
- ประสานงานกับรัฐสภา เกี่ยวกับงานด้านนิติบัญญัติหรือญัตติ กระทู้ถาม ฯลฯ
- ด้านการประชาสัมพันธ์
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

3. กลุ่มงานร้องทุกข์
- งานรับเรื่องร้องทุกข์และงานรับข้อร้องเรียนขอความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรีฯ
- ประสานงาน วิเคราะห์ กลั่นกรองและเสนอความเห็นในการปฏิบัติภารกิจของรัฐมนตรีฯ
- ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ และติดตามความเคลื่อนไหวทางการเมือง
- รายงานผลการปฏิบัติประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี
- ปฏิบัติงานร่วม หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

4. ฝ่ายภารกิจพิเศษ
- งานสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรม - การเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนและติดตามการดำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม การทุจริตตามนโยบายของคณะรัฐมนตรี (คณะกรรมการ ป.ท.)
- สนับสนุนการทำงานของคณะทำงานในคณะอนุกรรมการติดตามการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับทางหลวง (อ.ท.ล.) ตามคำสั่งคณะกรรมการ ป.ท. ที่ 5/2547 ลงวันที่ 7 พ.ค.2547
- สนับสนุนการทำงานของอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการตรวจสอบเท็จจริงเรื่องร้องเรียนการทุจริตหรือประพฤติมิชอบประจำส่วนกลาง (อ.ท.ก.)ตามคำสั่งคณะกรรมการ ป.ท. ที่ 18/2546 ลงวันที่ 28 ส.ค. 2546
กลุ่มงานบริหาร
- งานเลขานุการและงานการประชุม
- งานบริหารทั่วไปและงานช่วยอำนวยการ
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
- ประสานงาน วิเคราะห์ กลั่นกรอง และเสนอความคิดเห็นในการปฏิบัติภารกิจของรัฐมนตรี
- ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ และติดตามความเคลื่อนไหวทางการเมือง
- รายงานผลการปฏิบัติประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี

กลุ่มงานการเมือง
- ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง
- ประสานงานการเมืองของรัฐมนตรี
- ประสานงานกับรัฐสภา เกี่ยวกับงานด้านนิติบัญญัติ กระทู้ถาม ฯลฯ
- ด้านการประชาสัมพันธ์
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

กลุ่มงานร้องทุกข์
- งานรับเรื่องร้องทุกข์และงานรับข้อร้องเรียนขอความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรีฯ
- ประสานงาน วิเคราะห์ กลั่นกรองและเสนอความเห็นในการปฏิบัติภารกิจของรัฐมนตรีฯ
- ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ และติดตามความเคลื่อนไหวทางการเมือง
- รายงานผลการปฏิบัติประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี
- ปฏิบัติงานร่วม หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

กระทรวงมหาดไทยมีหน้าที่ทำอะไร

พันธกิจ : 1.รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และความมั่นคงภายใน 2.เสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชน และเศรษฐกิจฐานราก 3.ส่งเสริมการพัฒนาเมือง และโครงสร้างพื้นฐาน 4.ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารราชการในระดับพื้นที่ โครงสร้างและอานาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทย

ปลัดกระทรวงมหาดไทยมีหน้าที่อะไรบ้าง

อำนาจและหน้าที่.
กำหนดยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง เพื่อรักษาความสงบสุขในสังคมและความมั่นคงของประเทศ.
เสนอแนะ กำหนดนโยบายด้านความมั่นคงเพื่อรักษาความสงบสุขในสังคม และความมั่นคงของประเทศ.
จัดทำและบูรณาการแผนมหาดไทย (แปลงนโยบาย).
เสนอแนะนโยบายในการจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณประจำปี.

ปลัดกระทรวงทำหน้าที่อะไร

มาตรา ๒๓ สํานักงานปลัดกระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของ กระทรวง และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัด กระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง ให้เป็นไปตามนโยบายแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง

กระทรวง ยุติธรรม มี หน้าที่ อะไร บ้าง

มีหน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติเกี่ยวกับ การศึกษา วิเคราะห์เพื่อปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการดำเนินการทางวินัยหรือทักท้วงการดำเนินการทางวินัย พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน และคำร้องขอความเป็นธรรมของข้าราชการและลูกจ้าง จัดทำคำสั่งเกี่ยวกับการบริหารราชการ จัดทำคู่มือ การดำเนินการทางวินัย การศึกษา วิเคราะห์ ...