หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ใบงาน

โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ จังหวัดสตูล

13.2 หลักฐานที่สนับสนุน
ทฤษฎีบิกแบง

วิชาดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว33265
ระดับชั้น ม.6

ครูผู้สอน : นางจรัสศรี ไชยกุล

จุดประสงค์การเรียนรู้

1.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว
ในการเคลื่อนที่ออกจากผู้สังเกตของกาแล็กซี

กับระยะห่างระหว่างผู้สังเกตกับกาแล็กซี
เพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเอกภพ
ตามทฤษฎีบิกแบง

จุดประสงค์ (ต่อ)

จุดประสงค์ (ต่อ)

2.อธิบายการค้นพบไมโครเวฟ-
พื้นหลังจากอวกาศที่นำมาใช้สนับสนุน

ทฤษฎีบิกแบง

รับชมวิดีทัศน์วิวัฒนาการของเอกภพ

รับชมวิดีทัศน์...
เรื่อง วิวัฒนาการของเอกภพ

ใช้เวลาในการรับชม 2 นาที

*ใช้เวลาในการรับชม 2 นาที

รับชมผ่าน You Tube

ทบทวนทฤษฎีบิกแบง

อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมนน์ จอร์จ เลอแมทร์
พ.ศ.2465 พ.ศ.2470

หลักฐานที่สนับสนุน

13.2.1 การขยายตัว 13.2.2 ไมโครเวฟ-
ของเอกภพ พื้นหลังจากอวกาศ

(Cosmic Microwave
Background ; CMB)

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง

13.1 การขยายตัวของเอกภพ

13.2.1 การขยายตัว
ของเอกภพ

ทบทวนความรู้เดิม

ทบทวนความรู้เดิม...

นักดาราศาสตร์ทราบได้อย่างไร
ว่าเอกภพมีการขยายตัว?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

ครูพิจารณาคำตอบของนักเรียน
(การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของเอกภพ)

กิจกรรมที่ 13.2

กิจกรรมที่ 13.2
เรื่อง แบบจำลองการขยายตัว

ของเอกภพ

จุดประสงค์ของกิจกรรม

จุดประสงค์ของกิจกรรม

1.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซี
จำลองกับระยะทาง

2.ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมี

ความสุขและเต็มใจ วัสดุ-อุปกรณ์

วัสดุ-อุปกรณ์

1.ลูกโป่ งชนิดกลม
(ยังไม่เป่ าลม)
จำนวน 1 ใบ

วัสดุ (ต่อ)

วัสดุ (ต่อ)

2.สติกเกอร์ชนิดกลมหรือตามชอบ
ขนาด 1 cm x 1 cm
จำนวน 6 ชิ้น

วัสดุ (ต่อ)

วัสดุ (ต่อ)

3.กระดาษกราฟ
จำนวน 1 แผ่น

วัสดุ (ต่อ)

วัสดุ (ต่อ)

4.ยางรัด
จำนวน 1 เส้น

วัสดุ (ต่อ)

วัสดุ (ต่อ)

5.สายวัด
จำนวน 1 เส้น

วัสดุ (ต่อ)

วัสดุ (ต่อ)

6.นาฬิ กาจับเวลา

หรือนาฬิ กาจาก

โทรศัพท์มือถือตัวเอง

จำนวน 1 เรือน

ให้นักเรียนตั้งสมมติฐานจาก Padletจากไลน์ของห้อง

ตศั้ึงกสมษมาตแิฐลาะน ศึใกห้ษนัากวิธเีรกียานรทแำต่กลิะจกกรลุ่รมม
ทำกิจกรรม ตัจ้งาสกมใมบตกิิฐจากนรขรมอทงี่กิจ1ก3.รร2ม

ก่แอลนะใทชำ้เกวิจลกาทรำรกมิจทีก่ ร1ร3ม.2
พร้อมตอบคำถามท้าย
กิจใกช้รเรวมลา 530 นนาาททีี

ศึกษาวิธีทำกิจกรรม

ศึศกึกษษาาแแลละะ ศึกศึษกาษวิาธีแกลาะรททำำกกิิจจกกรรรรมม
ททำำกิกจิจกกรรรรมม จจาากกใใบบกกิิจจกกรรรรมมททีี่่ 1133..22
แแลละะใสชรุ้ปเวผลลากทำารกิทจำกกริจรกมรรม
พพรร้้ออมมตตออบบคคำำถถาามมทท้้าายย

กกิิจจกกรรรรมม 5500 นนาาททีี

ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลกิจกรรมและสรุป

ตัวแทนกลุ่ม นำเสนอและ
นำเสนอผลการทำ สรุปผลการ
กิจกรรมและสรุปผล ทำกิจกรรม
การทำกิจกรรม

ตรวจสอบสมมติฐานของกลุ่ม
กับผลการทำกิจกรรม

"ตรวจสอบสมมติฐาน
ที่ตั้งไว้กับผลการทำกิจกรรม"

ตัวอย่างสมมติฐาน...

"เมื่อเป่ าลูกโป่ งให้มีขนาด
ใหญ่ขึ้น ระยะห่างระหว่าง
กาแล็กซีอ้างอิงและกาแล็กซีจำลอง
มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร"

คำถามชวนคิด...

คำถามชวนคิด..

จากกิจกรรมนักเรียนคิดว่า
เมื่อเป่ าลูกโป่ งให้พองตัวมากขึ้นผิวของลูกโป่ ง

เปรียบเทียบได้กับสิ่งใดในอวกาศ

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

เปรียบเทียบได้กับ
เอกภพ จะเกิด
การขยายตัวออก

คำถาม (ต่อ) หน้าถัดไป

คำถามชวนคิด..

จากกิจกรรมนักเรียนคิดว่า
สติกเกอร์บนผิวของลูกโป่ งเปรียบเทียบ

ได้กับสิ่งใดในอวกาศ

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

เปรียบเทียบได้กับ
กาแล็กซี จะเคลื่อนที่
ออกห่างจากกัน
มากขึ้น

ภาพการจำลองการขยายตัวของเอกภพ

ภาพการจำลองการขยายตัว
ของเอกภพบนผิวลูกโป่ ง

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

1.หลังจากการเป่ าลููกโป่ งให้มีขนาดใหญ่
ระยะทางระหว่างกาแล็กซีจำลองกับกาแล็กซี-

อ้างอิิงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

หลังจากเป่ าลูกโป่ งให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ระยะทางระหว่างกาแล็กซีจำลองกับกาแล็กซี
อ้างอิง เพิ่มมากขึ้น

คำถาม (ต่อ) หน้าถัดไป

ตอบคำถาม (ต่อ)

2.กาแล็กซีจำลองใดมีการเคล่ื่อนที่เร็วที่สุด
และกาแล็กซีนั้นอยู่ห่างจากกาแล็กซีอ้างอิิง
เป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกับกาแล็กซีอื่น?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

กาแล็กซีจำลอง...ที่อยู่ไกลจากกาแล็กซี
อ้างอิงมากที่สุด จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่
มากที่สุด

คำถาม (ต่อ) หน้าถัดไป

ตอบคำถาม (ต่อ)

3.กาแล็กซีจำลองใดมีการเคล่ื่อนที่ช้าที่สุด
และกาแล็กซีนั้นอยู่ห่างจากกาแล็กซีอ้างอิิง

เป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกับกาแล็กซีอื่น?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

กาแล็กซีจำลอง...ที่อยู่ใกล้กาแล็กซีอ้างอิง
น้อยที่สุด จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่
น้อยที่สุด

คำถาม (ต่อ) หน้าถัดไป

ตอบคำถาม (ต่อ)

4.ระยะทางจากกาแล็กซีจำลองถึงกาแล็กซี
อ้างอิงหลังเป่ าลูกโป่ งครั้งที่ 2 มีความสัมพันธ์

กับความเร็วในการเคลื่อนที่ของ
กาแล็กซีจำลองอย่างไร?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

ความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีจำลอง
มีความสัมพันธ์ระหว่างกาแล็กซีต่างๆ กับกาแล็กซี
อ้างอิง โดยความเร็วแปรผันตรงกับระยะทาง
จากกาแล็กซีอ้างอิงถึงกาแล็กซีจำลองนั้น

คำถาม (ต่อ) หน้าถัดไป

ตอบคำถาม (ต่อ)

5.เมื่อเปลี่ยนกาแล็กซีอ้างอิง ก เป็ น
กาแล็กซีอ้างอิงอื่น ผลการทำกิจกรรมเหมือน

หรือแตกต่างกันอย่างไร?

แนวคำตอบ หน้าถัดไป

แนวคำตอบ

เหมือนกัน โดยกาแล็กซีที่อยูู่ไกลมีความเร็ว
ในการเคลื่อนที่มากกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้

สรุปผลการทำกิจกรรม

สรุปผลการทำ

กิจกรรม เมื่อเป่ าลูกโป่ งให้มีขนาดใหญ่ขึ้น

กาแล็กซีจำลองต่างๆ จะเคลื่อนที่ห่างออก

จากกัน โดยพบว่ากาแล็กซีจำลองที่อยู่ไกลจาก

กาแล็กซีอ้างอิง จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่

ออกห่างจากกาแล็กซีอ้างอิงมากกว่ากาแล็กซี

จำลองที่อยู่ใกล้

จากกิจกรรมพบว่า..

จากกิจกรรมพบว่า...

การจำลองการศึกษาการขยายตัวของเอกภพ

เมื่อเป่ าลูกโป่ งให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้กาแล็กซี

จำลองต่างๆ เคลื่อนที่ห่างออกจากกันและห่างออก

จากกาแล็กซีอ้างอิง โดยความเร็วในการเคลื่อนที่

มีความสัมพันธ์กับระยะทางระหว่างกาแล็กซีต่างๆ

กับกาแล็กซีอ้างอิง ความรู้เพิ่มเติม
ความรู้เพิ่มเติม:Edwin
Hubble

Edwin Hubble ได้สังเกต

การเคลื่อนที่ของกาแล็กซีต่างๆ

และวัดระยะห่างจากผู้สังเกต

กับกาแล็กซีต่างๆ แล้วนำข้อมูล

เอ็ดวิน ฮับเบิล มาเขียนกราฟพบว่า..
(พ.ศ.2432-2496)
นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซี

ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างกับความเร็ว
ในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกต

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างกับความเร็ว
ในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจากผู้สังเกต (ของฮับเบิล) ความสัมพันธ์จากกราฟ (ต่อ)

-+

ฮับเบิลพบว่า...

ฮับเบิลพบว่า... กิจกรรมที่ 13.3 (สายวิทย์)
กาแล็กซีต่างๆ มีการเคลื่อนที่
ออกจากกันและความเร็วใน
การเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออก
จากผู้สังเกตมีความสัมพันธ์กับ
ระยะห่างจากผู้สังเกตถึงกาแล็กซี
ทำให้สรุปว่า

"เอกภพมีการขยายตัว"

กิจกรรมที่ 13.3
เรื่อง ความเร็วในการเคลื่อนที่

ของกาแล็กซี

รับชมวิดีทัศน์กิจกรรมที่ 13.3

จุดประสงค์ของกิจกรรม

1.เปรียบเทียบตำแหน่งของ
สเปกตรัมมืดของธาตุในกาแล็กซี
ที่กำหนดกับเส้นสเปกตรัมมืด
ที่ใช้อ้างอิง

จุดประสงค์ (ต่อ)
รับชมวิดีทัศน์กิจกรรมที่ 13.3

จุดประสงค์ของกิจกรรม

2.อธิบายวิธีการหาความเร็วใน
การเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกจาก
ผู้สังเกต

3.ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความ

สุขและเต็มใจ วัสดุ-อุปกรณ์
รับชมวิดีทัศน์กิจกรรมที่ 13.3

วัสดุ-อุปกรณ์

1.เอกสารความรู้เรื่อง

การเปลี่ยนตำแหน่งของเส้น

สเปกตรัมมืด ส์แกนฉํนจ้า...

2.แผนภาพการเลื่อนทางแดง

ของสเปกตรัมมืดของธาตุในกาแล็กซี

วัสดุ-อุปกรณ์
รับชมวิดีทัศน์กิจกรรมที่ 13.3

ศึกษาและ ศึกษาและทำกิจกรรม
ทำกิจกรรม จากใบกิจกรรมที่ 13.3
และสรุปผลการทำกิจกรรม
พร้อมตอบคำถามท้าย
กิจกรรม 50 นาที

ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลกิจกรรมและสรุป

ตัวแทนกลุ่ม นำเสนอและ
นำเสนอผลการทำ สรุปผลการ
กิจกรรมและสรุปผล ทำกิจกรรม
การทำกิจกรรม
รับชมวิดีทัศน์กิจกรรมที่ 13.3
ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

1.การหาความเร็วในการเคลื่อนที่
ออกจากผู้สังเกต ใช้ข้อมูลใดบ้าง?

แนแวนควำคตำอตบอบหนห้านถ้ัาดถไัดปไป