ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ

มาทำงานอยู่บริษัทเอกชนสองปีแล้วครับ เจ้านายเพิ่งมาให้ทำประเมิน Performance ตัวเอง แล้วบอกว่าให้คะแนน และมาDiscuss พรุ่งนี้ ผม งงเลย เจ้านายมาแนวไหน ผมเคยได้ยินมาว่าบริษัทอื่นเป็นแบบนี้ แต่ออฟฟิศผมเจ้านายไม่เคยทำกับใครมาก่อน ปกติโดนกันแบบนี้ ประเมินให้เยอะ ให้น้อยยังไง โดนไรกันมั้ง ช่วยแชร์กันหน่อยครับ

10 ข้อที่ควรและไม่ควรทำในการประเมินผลงานตัวเอง

  • 8 August 2014

          เมื่อคุณต้องเขียนประเมินผลการทำงานของตนเอง  จะเขียนอย่างไรให้ตรงไปตรงมาที่สุด ในขณะเดียวกันก็แสดงให้หัวหน้างานเห็นผลงานของคุณมากที่สุดด้วย มาดูกันว่า 10 ข้อที่ควรและไม่ควรทำในการผลการทำงานตัวเองมีอะไรบ้าง

  1. Do ถามความคิดเห็นจากเพื่อนร่วมงาน ว่าพวกเขาคิดอย่างไรกับผลการทำงานของคุณตลอดปีที่ผ่านมา
  2. Do ยกตัวเลขขึ้นมาสนับสนุนผลงานให้เป็นรูปธรรม เช่น ระยะเวลาที่ใช้ จำนวนรายได้ เปอร์เซ็นต์ของผลตอบรับ ที่เกิดจากการอุทิศตัวของคุณในกับงานต่าง ๆ ยิ่งคุณสามารถทำประโยชน์ให้กับบริษัทมากเท่าไร ยิ่งทำให้นายจ้างมองเห็นคุณค่าในตัวคุณมากเท่านั้น
  3. Do เขียนในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เช่น แทนที่จะบอกว่า คุณชอบงานของคุณมากเพียงใด ควรพูดถึงทักษะที่คุณพัฒนาขึ้นจากการทำงานที่ผ่านมามากกว่า
  4. Do คิดถึงสิ่งที่ควรปรับปรุง นอกจากเขียนข้อดีของคุณแล้ว ควรมีพื้นที่สำหรับเขียนสิ่งที่ต้องการปรับปรุงในการทำงานของคุณด้วย เพราะในชีวิตจริงไม่มีใครที่สมบูรณ์แบบไปเสียทุกเรื่อง
  5. Do เตรียมนำเสนอแผนการทำงานในอนาคต นำเสนอไอเดียว่า คุณมีแผนจะพัฒนาความสามารถ เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ หรือรับผิดชอบงานเพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของคุณได้
  6. Do เขียนอย่างตั้งใจและรอบคอบ ควรให้เวลากับการรวบรวมข้อมูล เรียบเรียงสิ่งที่คุณจะเขียน โดยร่างขึ้นมา แล้วปรับแก้จนมั่นใจก่อนที่จะส่ง เพราะสิ่งที่คุณประเมินนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในบันทึกผลงานของคุณที่จะ ถูกบริษัทเก็บไว้ตลอด
  7. Don’t อย่าถ่อมตัว อย่าอายที่จะทำให้หัวหน้ารู้ว่าคุณมีผลงานที่น่าพึงพอใจมากแค่ไหน หยิบยกความสำเร็จของคุณมานำเสนอ ในขณะเดียวกันก็ไม่กดให้เพื่อนร่วมงานของคุณต่ำลง
  8. ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ
    Don’t อย่าลืมทบทวนความสำเร็จตั้งแต่ต้นปี
    หัวหน้างานของ คุณอาจจำไม่ได้ทั้งหมดว่ามีโปรเจ็กต์ไหนบ้างที่คุณมีส่วนร่วมภายใน 1 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น ควรทบทวนผลงานเด่น ๆ ให้หัวหน้างานรับทราบอีกรอบ
  9. Don’t อย่าเขียนทื่อ ๆ ใบประเมินผลการทำงานของคุณมีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของคุณ จึงควรเขียนให้น่าสนใจ เชิญชวนให้หัวหน้างานอยากพูดคุยเกี่ยวกับองค์ประกอบที่คุณใช้ในการประเมินตนเอง
  10. Don’t อย่าใช้การประเมินผลงานเพื่อการต่อรอง เพราะช่วงเวลานี้ไม่ใช่เวลาที่คุณจะต่อสู้เรื่องค่าตอบแทน สิ่งที่ควรทำคือ คุณต้องสามารถพูดถึงความสำเร็จของคุณได้อย่างมั่นใจ ส่วนเรื่องการเจรจาต่อรองเงินเดือน เก็บไว้ในโอกาสอื่นดีกว่า

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ใกล้สิ้นปีแล้ว มีอะไรที่ต้องเคลียร์บ้าง

ทำอย่างไรให้เจ้านายเห็นผลงาน

ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ

ช่วงนี้อาจจะเห็นได้ว่าโครงการ “คนละครึ่ง” กลับมาคึกคักอีกครั้ง สังเกตได้จากตามร้านรวงริมทางต่าง ๆ ที่กลับมาใช้ป้ายรับคนล...

ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ

e Invoice และ e Tax invoice ถือว่าเป็นสองคำที่หลาย ๆ คนคุ้นหู วันนี้เราจะมาเจาะข้อสงสัยว่าสองคำนี้คืออะไร......

ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ

ในขณะที่เราตกอยู่ในห้วงความผันผวนของหลายๆ สิ่งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้หลายๆ กิจกรรมไม่สามารถดำเนินกิจวัตรต่อไปได้...

ตัวอย่างการเขียนประเมินตนเองในการทํางาน ภาษาอังกฤษ

บทความที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ

เขียนประเมินตัวเองยังไง

6 ขั้นตอนง่าย ๆ ในการประเมินตัวเองปลายปี เพื่อความสำเร็จในปีหน้า.
บันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา.
ประเมินตนเองอย่างเป็นกลาง.
เปรียบเทียบผลงานที่ทำกับผลการประเมินตนเอง.
เปรียบเทียบผลงานที่ทำกับเป้าหมายที่เคยตั้งไว้.
สอบถามคนใกล้ตัว.
วางแผนและตั้งเป้าหมายของปีหน้า.

การประเมินผลการปฏิบัติงานมีวิธีการอย่างไร

การประเมินผลการปฏิบัติงาน หมายถึง กระบวนการประเมินค่าของบุคคลผู้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ทั้งผลงานและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่มีคุณค่าต่อการปฏิบัติงานภายในเวลาที่กำหนดไว้อย่างแน่นอน ภายใต้การ สังเกต จดบันทึกและประเมินโดยหัวหน้างาน โดยอยู่บนพื้นฐานของความเป็นระบบและมาตรฐานแบบ

ประเมินเพื่อนร่วมงานยังไงดี

ทำอย่างไร?.
พูดความจริงเสมอ ... .
ชี้ให้เห็นข้อดีของการทำงาน ... .
ลบอคติที่เคยมี ... .
เราจะได้อะไรจากการประเมิน ... .
แสดงความจริงใจ ... .
เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ.

การประเมินผลการปฏิบัติงานมีประโยชน์อย่างไร

ประโยชน์สำคัญของการประเมินผลปฎิบัติงาน.
ทำให้มอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของพนักงานได้ ... .
สร้างแรงจูงใจในการทำงาน ... .
สร้างความภูมิใจ และได้รับการยอมรับ ... .
ปรับโครงสร้าง ค่านิยม แนวทางขององค์กร.