ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ ได้แก่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความกดอากาศ (อังกฤษ: Atmospheric pressure) ความกดอากาศมีลักษณะคล้ายกับความดันบรรยากาศหรือความดันอากาศ เป็นความดันภายใต้ชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปแล้วความกดอากาศจะมีค่าใกล้เคียงกับความกดอากาศที่เกิดจากน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดใด ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มีความกดอากาศต่ำจะมีอากาศที่มีมวลต่ำจะอยู่ข้างบนพื้นที่ ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น บรรยากาศมาตรฐาน (สัญลักษณ์: atm) คือหน่วยของแรงดันที่กำหนดไว้ที่ 101,325 Pa (1,013.25 hPa หรือ 1,013.25 mbar) ซึ่งเทียบเท่ากับ 760 mmHg, 29.9212 นิ้วปรอท หรือ 14.696 psi[1] หน่วย atm นั้นเทียบเท่ากับความดันบรรยากาศระดับน้ำทะเลเฉลี่ยบนโลก ดังนั้นความดันบรรยากาศของโลกที่ระดับน้ำทะเลอยู่ที่ประมาณ 1 atm

ความกดอากาศมาตรฐาน[แก้]

มีสถานะเป็นก๊าซ แต่อากาศก็มีน้ำหนักเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว เราเรียกน้ำหนักซึ่งกดทับกันลงมานี้ว่า “ความกดอากาศ” (Air pressure) ความกดอากาศจะมีความแตกต่างกับแรงที่เกิดจาก “L” สีแดง เป็นสัญลักษณ์ นักอุตุนิยมวิทยาใช้เครื่องมือ ชื่อว่า "บารอมิเตอร์" อย่างละเอียดสำหรับวัดความกดอากาศ หน่วยที่ใช้วัดความกดของอากาศนั้นอาจจะเป็นความสูงของปรอทเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรก็ได้ แต่ในปัจจุบันส่วนมากนิยมใช้หน่วยเป็นมิลลิบาร์ (millibar) เพราะเป็นหน่วยที่สะดวกกว่า ซึ่งเราจะเปรียบเทียบกันได้ตามหลักการคำนวณต่อไปนี้

ความกดอากาศตามความสูง[แก้]

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ ได้แก่

ขวดพลาสติกนี้ถูกปิดฝา ตอนอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร และเมื่อถูกนำลงมายังระดับน้ำทะเล มันจะถูกบีบอัดโดยความกดอากาศที่สูงกว่า

เศษส่วนของ 1 atmความสูงโดยเฉลี่ย
(เมตร)(ฟุต)
1 0 0
1/2 5,486 18,000
1/5 8,376 27,480
1/10 16,132 52,926
1/100 30,901 101,381
1/1000 48,467 159,013
1/10000 69,464 227,899
1/100000 86,282 283,076

อ้างอิง[แก้]

  1. องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ. Manual of the ICAO Standard Atmosphere, Doc 7488-CD, Third Edition, 1993. ISBN 92-9194-004-6.

ความชื้นสัมบูรณ์ความชื้นสัมพัทธ์
1.เป็นการบอกปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม) ที่อุณหภูมิหนึ่งๆ 1.เป็นการบอกปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศจริงเทียบกับปริมาณไอน้ำที่จะทำให้อากาศอิ่มตัวที่อุณหภูมิเดียวกัน
2.วัดเป็น มวลของไอน้ำต่อปริมาตรอากาศ 2.วัดเป็น %
3.ตัวอย่างเช่น ความชื้นสัมบูรณ์ที่ 10 กรัมต่อลบ.ม หมายถึง ถ้านำเรานำอากาศมาปริมาตร 1 ลบ.ม มานับจำนวนไอน้ำจะมีไอน้ำอยู่ 10 กรัม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ ได้แก่
3.ตัวอย่างเช่น ความชื้นสัมพัทธ์ที่ 50% หมายถึง อากาศมีปริมาณไอน้ำอยู่ที่ครึ่งหนึ่งของปริมาณไอน้ำที่อากาศรับได้
4.อากาศที่อุณหภูมิสูงจะสามารถรับไอน้ำได้มากกว่า อากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ 4.อากาศอิ่มตัว คือ อากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 100%
5.ความชื้นสัมพัทธ์ที่เรารู้สึกสบายตัวอยู่ที่ 60%
6.ความชื้นสัมพันธ์ที่น้อยกว่า 60% จะรู้สึกแห้ง
7.ความชื้นสัมพัทธ์ที่มากกว่า 60% จะรู้สึกเหนียวตัวอึดอัด

ในเวลากลางวัน ดินดูดความร้อนเร็วกว่าน้ำ อุณหภูมิเหนือดินจะสูงกว่าอุณหภูมิเหนือน้ำ ทำให้อากาศไหลจากทะเลสู่บนบก เรียกว่า “ลมทะเล”

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ ได้แก่

ในเวลากลางคืน ดินคายความร้อนเร็วกว่าน้ำ อุณหภูมิเหนือดินจะต่ำกว่าอุณหภูมิเหนือน้ำ ทำให้อากาศไหลจากบนบกสู่ทะเล เรียกว่า “ลมบก”

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ ได้แก่

ชื่อเรื่อง : วีดิทัศน์เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ
ชื่อเรื่อง :

{{setMessages['title']}}

คำอธิบาย : เนื้อหาปัจจัยที่มีผลต่อ ความดันอากาศคือ ความหนาแน่นของอากาศ และอุณหภูมิของอากาศ ถ้าอากาศมีความหนาแน่นมาก ความดันอากาศจะมีค่ามาก ถ้าอากาศมีอุณหภูมิสูง ความดันอากาศจะมีค่ามาก จุดประสงค์การเรียนรู้1.อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศได้2.อธิบายผลของความหนาแน่นอากาศที่มีต่อค่าความดันอากาศ3.ทำการทดลองที่แสดงได้ว่าอุณหภูมิของอากาศมีผลต่อค่าความดันอากาศอย่างไรกลุ่มเป้าหมายนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็น นักเรียนพิการกลุ่มอื่นที่สนใจ นักเรียนทั่วไป ครูวิทยาศาสตร์ ครูการศึกษาพิเศษ บุคลากรทางการศึกษา หรือกลุ่มคนที่สนใจทั่วไป
คำอธิบาย :
คำสำคัญ : อุณหภูมิของอากาศ, กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็น, ความหนาแน่นของอากาศ, ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ, วีดิทัศน์เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ
คำสำคัญ :
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :

{{setMessages['author']}}

ผู้แต่งร่วม :   สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ผู้แต่งร่วม :  
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, ผู้ปกครอง, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :  

{{value.level_name}}

  • {{v.level_name}}

  • {{value.level_name}}

{{setMessages['relation.level']}}

ไม่พบข้อมูล

ระดับชั้น :  

ม.1, ม.2, ม.3, การศึกษาตามอัธยาศัย

ระดับชั้น :  

{{value.level_name}}

  • {{v.level_name}}

  • {{value.level_name}}

{{setMessages['relation.level']}}

ไม่พบข้อมูล

สาขาวิชาของสื่อ :   วิทยาศาสตร์
สาขาวิชาของสื่อ :  

{{value.subject_name}}

  • {{v.subject_name}}

  • {{value.subject_name}}

{{setMessages['relation.subject']}}

ไม่พบข้อมูล

ลักษณะของสื่อ :   VDO Clip
ลักษณะของสื่อ :  

  • {{value.media_gpr_name}}

{{setMessages['relation.media']}}

URL : -
URL :
เนื้อหาหมวดเฉพาะทาง :

ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ

คำอธิบาย : เนื้อหาปัจจัยที่มีผลต่อ ความดันอากาศคือ ความหนาแน่นของอากาศ และอุณหภูมิของอากาศ ถ้าอากาศมีความหนาแน่นมาก ความดันอากาศจะมีค่ามาก ถ้าอากาศมีอุณหภูมิสูง ความดันอากาศจะมีค่ามาก จุดประสงค์การเรียนรู้1.อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศได้2.อธิบายผลของความหนาแน่นอากาศที่มีต่อค่าความดันอากาศ3.ทำการทดลองที่แสดงได้ ...

ความกดอากาศมีผลอย่างไร

บริเวณความกดอากาศต่ำมักจะเป็นบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ มีเมฆมาก หรือ อาจมีฝนตก ในขณะที่บริเวณความกดอากาศสูงจะมีสภาพอากาศที่ค่อนข้างสงบ และท้องฟ้าปลอดโปร่ง

สิ่งใดทำให้อากาศมีความดัน

เนื่องจากโมเลกุลอากาศชนกับพื้นผิววัตถุ ทำให้เกิดแรงดันอากาศกระทำบนพื้นผิวนั้น แรงดันอากาศบางครั้งเรียกว่า ความดันอากาศ ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้จากการทดลองเป่าลูกโป่ง อากาศมวลเท่ากันจะมีแรงดันอากาศไม่เท่ากันในภาชนะที่มีปริมาตรแตกต่างกัน

ความกดอากาศสูงเกิดจากอะไร

บริเวณความกดอากาศสูง (H) อากาศเย็นด้านบนมีอุณหภูมิต่ำ เคลื่อนเข้ามาแทนที่อากาศร้อนที่อยู่เหนือพื้นผิว ทำให้เกิดแห้งแล้ง เนื่องจากอากาศเย็นมีไอน้ำน้อย