คณะอักษรศาสตร์ สาขาภาษาจีน

学科 [xuékē] สาขาวิชา
系/ 学院 [xì/ xuéyuàn] คณะ
法律系 [fǎlǜ xì] คณะนิติศาสตร์
会计系 [kuàijì xì] คณะบัญชี
牙科学系 [yákē xuéxì] คณะทันตแพทย์
医学系 [yīxué xì] คณะแพทยศาสตร์
政治系 [zhèngzhì xì] คณะรัฐศาสตร์
语言文学系 [yǔyán wénxué xì] คณะอักษรศาสตร์
建筑系 [jiànzhú xì] คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
科学系 [kēxué xì] คณะวิทยาศาสตร์
人文科学系 [rénwén kēxué xì] คณะมนุษยศาสตร์
经济系 [jīngjì xì] คณะเศรษฐศาสตร์
教育系 [jiàoyù xì] คณะศึกษาศาสตร์
新闻系 [xīnwén xì] คณะวารสารศาสตร์
药剂系 [yàojì xì] คณะเภสัชศาสตร์
工程学系 [gōngchéng xuéxì] คณะวิศวกรรมศาสตร์
电气工程学系 [diànqì gōngchéng xuéxì] คณะวิศวกรรมไฟฟ้า
机械工程学系 [jīxiè gōngchéng xuéxì คณะวิศวกรรมเครื่องกล
兽医系 [shòuyī xì] คณะสัตวแพทย์ศาสตร์
工商管理学系 [gōngshāng guǎnlǐ xuéxì] คณะบริหารธุรกิจ
商业和会计系 [shāngyè hé kuàijì xì] คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
社会学系 [shèhuì xuéxì] คณะสังคมศาสตร์
森林学系 [sēnlín xuéxì] คณะวนศาสตร์
师范学 [shīfàn xué] คณะครุศาสตร์
公立大学 [gōnglì dàxué] มหาวิทยาลัยรัฐบาล
私立大学 [sīlì dàxué] มหาวิทยาลัยเอกชน
开放大学 [kāifàng dàxué] มหาวิทยาลัยเปิด

地理学 [dìlǐxué] ภูมิศาสตร์
法学 [fǎxué] นิติศาสตร์
工程学 [gōngchéngxué] วิศวกรรมศาสตร์
工商管理学士 [gōngshāng guǎnlǐxuéshì] บริหารธุรกิจบัณฑิต
化学 [huàxué] เคมี
建筑学士 [Jiànzhú xuéshì] สถาปัตยกรรมศาตรบัณฑิต
教育学 [jiàoyùxué] ศึกษาศาสตร์, คุรุศาสตร์
教育学士 [jiàoyù xuéshì] คุรุศาสตรบัณฑิต
经济学 [jīngjìxué] เศรษฐศาสตร์
经济学学士 [jīngjìxué xuéshì] ปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์
科目 [kēmù] วิชา (subject)
科学 [kēxué] วิทยาศาสตร์
历史 [lìshǐ] ประวัติศาสตร์
泰文 [tàiwén] ภาษาไทย
数学 [shùxué] คณิตศาสตร์
生物学 [shēngwùxué] ชีววิทยา
文学 [wénxué] อักษรศาสตร์
文学士 [wénxuéshì] อักษรศาสตรบัณฑิต
物理学 [wùlǐxué] ฟิสิกส์
英文 [yīngwén] ภาษาอังกฤษ
营养 [yíngyáng] โภชนาการ
药学 [yàoxué] เภสัชศาสตร์
医学 [yīxué] แทพย์ศาสตร์
语言学 [yǔyánxué] ภาษาศาสตร์
中文 [zhōngwén] ภาษาจีน
哲学 [zhéxué] ปรัชญา
政治学 [zhèngzhìxué] รัฐศาสตร์

学院 [xuéyuàn] สถาบัน
部分 [bùfen] ส่วน, ส่วนหนึ่ง (part)
报名 [bàomíng] สมัคร, ลงทะเบียน
留学 [liúxué] เรียนต่อ (to study abroad)
学习 [xuéxí] เรียน (study)
学术 [xuéshù] การศึกษา, วิชาการ
平均分 [píngjūnfēn] เกรดเฉลี่ย,จีพีเอ, GPA-grade-point average (是考生当年进入高校所平均水平的体现)
平均分不低于2 学分。เกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2 (GPA 满分是4分,即A=4,B=3,C=2, D=1)
学业平均成绩 [xuéyè píngjūn chéngjī] เกรดเฉลี่ย (GPA-grade-point average)
不低于 [bùdīyú] ไม่ต่ำกว่า (not lower than)
专科 [zhuānkē] วิชาชีพ (specialized subject)
系 [xì] คณะ
专业 [zhuānyè] สาขาวิชา, ภาควิชา (special field of study)
专科学校 [zhuānkē xuéxiào] วิทยาลัยวิชาชีพ
门 [mén] ลักษณะนามของรายวิชา, ประตู
课 [kè] วิชา
讲课 [jiǎngkè] สอน, บรรยายวิชา
讲座 [jiǎngzuò] บรรยายวิชา (course of lectures)
讲解 [jiǎngjiě] อธิบาย(explain)
解释(解釋) [jiěshì] อธิบาย
理解 [lǐjiě] เข้าใจ (understand)
学期 [xuéqī] ภาคการศึกษา, เทอม (term, semester)
必修课 [bìxiūkè] วิชาบังคับ (compulsory course)
选修课 [xuǎnxiūkè] วิชาเลือก
考试 [kǎoshì] สอบ –> 下个月就要考试了。 เดือนหน้าก็จะต้องสอบแล้ว
笔试 [bǐshì] สอบข้อเขียน (written examination)
口试 [kǒushì] lอบปากเปล่า (oral examination)
成绩 [chéngjì] ผมการสอบ
分 [fēn] คะแนน
及格 [jígé] สอบผ่าน
不及格 [bùjígé] สอบไม่ผ่าน, สอบตก
毕业论文 [bìyèlùnwén] วิทยานิพนธ์ (thesis)
学位 [xuéwèi] ระดับการศึกษา(degree)
研究生 [yánjiūshēng] นักศึกษาวิจัย หรือนักศึกษาที่เรียนต่ิอในระดับปริญญาโทรหรือปริญญาเอก
硕士研究生 นักศึกษาปริญญาโท
博士研究生 นักศึกษาปริญญาเอก
考研 [kǎoyán] –> 考研究生
初中 [chūzhōng] ม.ต้น
高中以下 [gāozhōng yǐxià] ต่ำกว่า ม.ปลาย
高中 [gāozhōng] ม.ปลาย –> 我明年高中毕业。 ปีหน้าผมเรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย
大专 [dàzhuān] อนุปริญญา
本科 běnkē] ปริญญาตรี (undergraduate course-หลักสูตรระดับปริญญาตรี)
学士 [xuéshì] ปริญญาตรี (bachelor) –> 学士学位 ระดับปริญญาตรี
硕士 [shuòshì] ปริญญาโท(master’s degree) –> 硕士学位 ระดับปริญาโท
博士 [bóshì] ปริญญาเอก(doctor) –> 博士学位 ระดับปริญญาเอก
录取 [lùqǔ] การรับเข้า (admit)
我正在等那所大学的录取通知书。ผมกำลังรอหนังสือแจ้งรับเข้าของมหาวิทยาลัย
大学录取分数线 คะแนนสอบแอดมิชชั่นมหาวิทยาลัย
分数线 [fēnshùxiàn] เส้นตัดคะแนนต่ำสุด (minimum passing score)
托福 [tuōfú] โทเฟิล, TOEFL(Test of English as a Foreign Language)

ภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการจัดการเรียนการสอนโดยที่ภาษาแรกคือ ภาษาบาลี ในปีพ.ศ.2471 ในช่วงนั้นภาษาบาลียังเป็นรายวิชาหนึ่งในแผนกภาษาไทยและโบราณตะวันออกแล้วได้เปิดสอนภาษาญี่ปุ่นตามสภาพการเมืองที่รัฐบาลไทยเป็นพันธมิตรกับกองทัพญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพาแต่ได้ยกเลิกไปในปีเดียวกันภายหลังกองทัพญี่ปุ่นแพ้สงครามในปีพ.ศ.2488

โดยทางภาควิชาได้เปิดสอนทั้งหมด 10 สาชา ได้แก่ ภาษาบาลี-สันสกฤต, ภาษาฮินดี, ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษามาเลย์, ภาษาเกาหลี, ภาษาเวียดนาม, ภาษาพม่า, ภาษาอาหรับ และภาษาอินโดนีเซีย มีสาขาหลักที่เปิดเป็นวิชาเอกอยู่ 3 สาขา ได้แก่

1. สาขาภาษาบาลี-สันสกฤต เปิดสอนวิชาเฉพาะสาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต แบบวิชาเอกเดี่ยวสำหรับน้องๆ ที่เลือกเรียนเป็นวิชาเอก และเปิดสอนแบบวิชาเอก-โท ให้คนที่จะเรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยมีวิชาเรียนที่น่าสนใจนอกจากการฟัง, พูด, อ่าน, เขียนภาษาบาลี-สันสกฤตและภาษาฮินดีแล้ว เช่นวิชาประวัติวรรณกรรมฮินดี, วรรณกรรมฮินดีและอินเดีย, อารยธรรมอินเดีย, พุทธธรรมในพระไตรปิฎกบาลี, อารยธรรมพุทธศาสนา เป็นต้น

2. สาขาภาษาจีน มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ทั้งด้านภาษาและวรรณคดีจีน เพื่อให้สามารถศึกษาค้นคว้าในระดับสูงต่อไป สามารถที่จะเป็นนักวิชาการ นักวิจัย หรือผู้สอนในสาขาวิชาภาษาจีนในระดับอุดมศึกษา แล้วยังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต สาขาวิชาภาษาจีนเปิดสอนวิชาแบบวิชาเอกเดี่ยว และเปิดสอนเป็น วิชาโท สำหรับคนที่เรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยการเรียนการสอนนั้นก็จะเป็นการเรียนแบบอ่าน, เขียน, แปล, สนทนาภาษาจีน แล้วนอกจากนี้ก็มีวิชาเรียนที่น่าสนใจอีกศิลปะการเขียนตัวอักษรจีน, ภาษาจีนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, ภาษาจีนด้านการท่องเที่ยว, ภาษาจีนธุรกิจ เป็นต้น  และน้องๆ ยังต้องสอบเข้าสาขานี้ด้วยคะแนน PAT7.4 (ภาษาจีน) และเกรดวิชา CHIN BEBINNERS 1, 2 ไม่ต่ำกว่า3.00 หรือสอบผ่านวิชา Basic Chinese1, 2 ด้วย

3. สาขาภาษาญี่ปุ่น  เป็นอีกสาขาหนึ่งที่ถือว่าเรียนยากและหนักอีกสาขาหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยการเรียนสอนในปีแรกนั้นก็จะเหมือนกันทุกๆสาขาที่ต้องเรียนรวมก่อน แล้วน้องๆ ที่จะเรียนสาขาภาษาญี่ปุ่นนั้นก็จะต้องเป็นผู้ที่ใช้คะแนน PAT7.5 (ภาษาญี่ปุ่น) และต้องได้คะแนนวิชาทักษะเขียน-ไวยกรณ์1, 2 ต่ำกว่า 3.00 หรือได้คะแนนวิชาทักษะสนทนาภาษาญี่ปุ่น1, 2 ไม่ต่ำกว่า 3.00 ยังมีวิชาที่น่าสนใจเช่น การเขียนภาษาญี่ปุ่น, ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น, คันจิศึกษา, การสนทนาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ, นวนิยายญี่ปุ่นทั้งสมัยใหม่และรวมสมัย เป็นต้น

และทั้ง 3 สาขาวิชายังได้เปิดโปรแกรมเกียตรินิยมอีกด้วย นอกจากนี้ก็ยังมีสาขาวิชาอื่นด้วยที่น้องๆ จะได้เลือกเรียนเป็นวิชาโท หรือวิชาเสรี ถ้าน้องๆ เป็นคนรักด้านภาษาการที่จะเรียนภาษาอะไร ก็คงไม่ยากเกินความสามารถของน้องๆ เพราะถ้าหากน้องๆ มีความรักและสนใจจริงทุกอย่างมันก็จะง่ายขึ้นเอง การมีความร็ในด้านภาษาที่3นั้นมักจะได้เปรียบกว่าคนอื่นอยู่แล้วในการทำงานอย่างแน่นอน

- เจ้าหน้าที่ในองค์ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ธนาคาร ธุรกิจด้านการบริการ ธุรกิจด้านการจัดประชุม
- ครู อาจารย์
- พนักงานแปล
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ
- พนักงานประจสายการบินต่างๆ
- พนักงานโรงแรม
- พนักงานบริษัทนำเที่ยว
- เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทักษะภาษา
ฯลฯ

ระบบรับตรง (มีนาคม)
- สำเร็จหรือกำลังศึกษาระดับชั้นม.6 ทุกแผนการเรียน
- มีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.75
- มีผลคะแนนสอบ PAT1 (คณิตศาสตร์) หรือ เลือกสอบPAT7 ภาษาต่างประเทศ
- มีผลสอบ 9 วิชาสามัญ (ในรายวิชาภาษาไทย, สังคมศึกษา, ภาษาอังกฤษ)
- สมัครผ่านทางเว็ปไซต์ http://www.atc.chula.ac.th

แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 20%

คณะอักษรศาสตร์สาขาภาษาจีนเรียนเกี่ยวกับอะไร

สาขาวิชาภาษาจีนเป็นอีกหนึ่งสาขาในคณะหมวดอักษรศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ และใช้เครื่องมือที่เรียกว่าภาษาในการสื่อสารให้เข้าใจมนุษย์มากยิ่งขึ้น ซึ่งภาษาที่ศึกษาก็คือภาษาจีนนั่นเองค่ะ วิชาเรียน อาทิเช่น การอ่านภาษาจีน, การแปลจีน-ไทย, ประวัติวรรณคดีจีน, สนทนาภาษาจีนเบื้องต้น, ภาษาจีนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, ...

คณะอักษรศาสตร์ สาขาภาษาจีน มีที่ไหนบ้าง

สถาบันที่เปิดสอน.
คณะอักษรศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยนเรศวร.
คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาจีน.

คณะอักษรศาสตร์ เอกอะไรบ้าง

1. อักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 14 สาขาวิชา ได้แก่.
1.1. สารนิเทศศึกษา (Information Studies).
1.2. ประวัติศาสตร์(History).
1.3. ปรัชญา (Philosophy).
1.4. ภาษาฝรั่งเศส (French).
1.5. ภาษาเยอรมัน (German).
1.6. ภาษาสเปน (Spanish).
1.7. ภาษาอิตาเลียน (Italian).
1.8. ภาษาญี่ปุ่น (Japanese).

อักษรจุฬา เอกจีน ใช้อะไรบ้าง

เอกจีนเรียนอะไรบ้าง?.
Chinese 3 วัฒนธรรมประเพณีจีน.
Chinese 4 จีนในโลกปัจจุบัน.
Chinese Reading 1-2 ประวัติศาสตร์จีน.
Chinese for business ศัพท์และ terms ทางธุรกิจ.
Classical Chinese 1-2 ภาษาจีนโบราณ.
Chinese Phonetics ภาษาศาสตร์จีน.
Chinese Grammar ลักษณะทางไวยกรณ์.
Evolution of the Chinese Characters วิวัฒนาการตัวอักษรจีน.