เชื้อเพลิง เพื่อการคมนาคม ม.3 สรุป

 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil Fuel)

หมายถึง เชื้อเพลิงที่ได้จากการหมักทับถมกันของสารอินทรีย์ทั้งจากพืชและสัตว์เป็นระยะเวลายาวนาน จนมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเป็นเชื้อเพลิงที่นำมาใช้ให้เกิดพลังงานต่าง ๆ 

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. ถ่านหิน (Coal)

 2. หินน้ำมัน (oil shale)

 3. ปิโตรเลียม (petroleum)

ทำความรู้จักชนิดของเชื้อเพลิงก่อน

Petrolium-polymer-M6.ppt

 การกำเนิดปิโตรเลียม ตอนที่ 1

วิดีโอ YouTube

              ปิโตรเลียม ตอนที่ 2

วิดีโอ YouTube


                  ปิโตรเลียม ตอนที่ 3

วิดีโอ YouTube

                   ปิโตรเลียมตอนที่ 4

วิดีโอ YouTube

                    ปิโตรเลียมตอนที่ 5


วิดีโอ YouTube




บทที่ 1  การสำรวจและการผลิตปิโตรเลียม

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

 ปิโตรเลียม

การสำรวจปิโตรเลียม

การผลิตปิโตรเลียม

 แหล่งปิโตรเลียม

 ผลกระทบที่เกิดจากการสำรวจและการผลิตปิโตรเลียมต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และแนวทางแก้ไข

บทที่ 2 ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม

กระบวนการในโรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติและการใช้ประโยชน์

กระบวนการในโรงกลั่นน้ำมันดิบ

 ผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบและการใช้ประโยชน์

ประโยชน์และผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม และแนวทางแก้ไข

บทที่ 3  สถาณการณ์การใช้เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม

สถานการณ์พลังงานของโลกและของประเทศไทย

การใช้เชื้อเพลิงด้านการคมนาคมของประเทศไทย

การกำหนดราคาน้ำมันเชื้อเพลิง

ผลกระทบและแนวทางแก้ไขผลจากการใช้เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม

บทที่ 4  พลังงานทดแทนเพื่อการคมนาคม

น้ำมันแก๊สโซฮอล์

ไบโอดีเซล

ก๊าซธรรมชาติ

เชื้อเพลิงไฮโดรเจน

เครื่องยนต์ไฮบริด

แอพแชร์โน้ตสรุป Clearnote มีโน้ตสรุปมากกว่า 300,000 เล่ม ทั้งระดับ ม.ต้น ม.ปลาย และมหาวิทยาลัย

ให้โน้ตสรุปจาก Clearnote เป็นตัวช่วยในการเรียน ไม่ว่าจะเตรียมสอบที่โรงเรียน หรือสอบเข้ามหาลัย

และยังสามารถถามคำถามเกี่ยวกับการเรียนได้ที่ Q&A อีกด้วย

แอพแชร์โน้ตสรุป Clearnote มีโน้ตสรุปมากกว่า 300,000 เล่ม ทั้งระดับ ม.ต้น ม.ปลาย และมหาวิทยาลัย

ให้โน้ตสรุปจาก Clearnote เป็นตัวช่วยในการเรียน ไม่ว่าจะเตรียมสอบที่โรงเรียน หรือสอบเข้ามหาลัย

และยังสามารถถามคำถามเกี่ยวกับการเรียนได้ที่ Q&A อีกด้วย