การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมเกียรติ วันทะนะ . ธงชัย วินิจจะกูล . ปิยะภพ มะหะมัด . ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ . ปรีดี หงษ์สตัน . วิภัส เลิศรัตนรังษี . อภิชา ชุติพงศ์พิสิฏฐ์

1. รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ในสยาม 2435 - 2475
— สมเกียรติ วันทะนะ

"รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ในสยาม 2435 - 2475 เป็นรัฐศักดินา แต่เป็นรัฐศักดินาในช่วงปลายของยุคศักดินาแล้ว...เป็นกระบวนการตอบโต้ปรับตัวของระบอบศักดินาที่มีต่อความเสื่อมสลายของระบอบศักดินาเอง"

https://bit.ly/3gGL3hX
============

2. มรดกสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบัน
— ธงชัย วินิจจะกูล

“คณะราษฎรยุติระบอบการเมืองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างเป็นทางการ แต่ไม่ตระหนักรู้เพียงพอถึงรากฐานที่สมบูรณาญาสิทธิราชย์สร้างไว้ คณะราษฎรจัดการกับปัญหาสำคัญบางด้าน แต่กลับสืบทอดมรดกหลายอย่างของสมบูรณาญาสิทธิราชย์ต่อมาด้วยซ้ำ”

https://bit.ly/2ZNvZII
============

3. ประวัติศาสตร์นิพนธ์ชนชั้นนำไทยของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับรัฐรัฐธรรมนูญ : กรณีศึกษาพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้ารัชกาลที่ 5 กับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
— ปิยะภพ มะหะมัด และคณะ

“การสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์นี้ (พระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้า รัชกาลที่ 5) ย่อมมีความหมายหรือนัยยะทางการเมืองอย่างแน่นอน โดยเฉพาะเป็นการแสดงให้เห็นถึงระบอบการเมืองการปกครองที่อยู่ในรัฐไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์...ที่พระมหากษัตริย์คือผู้มีอำนาจสูงสุดทางการเมืองการปกครอง”

https://bit.ly/2Drb6vq
============

4. แสงเงาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ฉายทับ ศิลปะสถาปัตยกรรมล้านนา : การช่วงชิงความหมายของพื้นที่ระหว่างล้านนากับสยาม (ทศวรรษ 2440 - พ.ศ. 2475)
— ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

“การก่อสร้างซ่อมแซมสถาปัตยกรรมนี้ไม่ได้เป็นไปตามโครงเรื่องตายตัวที่ว่า ล้านนายอมรับอำนาจสยามทั้งหมดด้วยความจงรักภักดีในฐานะที่เป็นพสกนิกรใต้พระบรมโพธิสมภาร หรือแสดงให้เห็นว่ากลุ่มการเมืองในดินแดนล้านนาต่อต้านสยามอย่างสุดขั้ว"

https://bit.ly/2ZSREz5
============

5. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับความแตกต่างทางวัฒนธรรมในช่วงเปลี่ยนผ่าน, ทศวรรษที่ 2440-2450
— ปรีดี หงษ์สตัน

“กระบวนการเกิดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นี้มิได้เป็นไปอย่างราบรื่น หากแต่เต็มไปด้วยความขัดแย้งตึงเครียด และเกิดพลังภายในหลากหลายซึ่งก่อตัวขึ้นมาท้าทายตัวระบอบ”

https://bit.ly/38IC0dN
============

6. รัฐกับความเร็ว: การคมนาคมในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์สยาม
— วิภัส เลิศรัตนรังษี

“ในยุคที่การคมนาคมสมัยใหม่ได้ถือกำเนิดขึ้นในประเทศไทย เนื่องจากบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเวลานั้นได้ทำให้ ‘รัฐ’ จำนวนมากในปลายศตวรรษที่ 19 รวมถึงสยามต้องหันมาลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมอย่างเร่งรีบ ซึ่งผลที่จะตามมาคือการพลิกโฉมหน้าการเดินทางของคน สิ่งของ และข้อมูลไปจากเดิมตลอดกาล”

https://bit.ly/2Obg9Cs
============

7. สมบูรณาญาสิทธิราชย์ปราบเงี้ยว พ.ศ.2445: กึ่งอาณานิคม การใช้กำลังทางทหารและความเป็นชาย
— ปรีดี หงษ์สตัน

“สมบูรณาญาสิทธิราชย์รวมทั้งรัฐไทยสมัยใหม่นั้น มิได้ก่อร่างสร้างขึ้นจาก ‘พระคุณ’ เพียงลำพัง เพราะอีกด้านหนึ่งนั้นคือ ‘พระเดช’ ด้วย”

https://bit.ly/3218HBW
============

8. เทวสิทธิ์ - เทวราชา : แนวคิดเกี่ยวกับกษัตริย์ในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
— อภิชา ชุติพงศ์พิสิฏฐ์

"แนวคิดเทวราชาของกษัตริย์ไทยนั้นมีความสําคัญและมีส่วนช่วยในการสร้างรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสมัยอยุธยา แต่ไม่สามารถส่งเสริมให้กษัตริย์ทรงมีอํานาจอย่างแท้จริงได้"

https://bit.ly/2BM7Udu
============

9. วิวัฒนาการของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolutism, ค.ศ.1485-1789)
— มหาวิทยาลัยรามคำแหง

"ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หมายถึงระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจสมบูรณ์เด็ดขาด โดยรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง และถือว่าพระมาหกษัตริย์ได้รับมอบหมายมาจากพระเจ้า ที่เรียกว่า เทวสิทธิ (Divine Right of King)"

https://bit.ly/38IGfG8
============

10. Introduction: The Crisis of the Absolute Monarchy
— Julian Swann

...การล่มสลายของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกิดขึ้นได้อย่างไร ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีท่าทีต่อประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างไร ตลอดจนการต่อรองทางอำนาจระหว่างชนชั้นสูง ความคิดเห็นสาธารณะและเหล่าปัญญาชน...

https://bit.ly/2ZSVKXZ
============

/ Bonus - 1 บทสัมภาษณ์ + 1 บทความออนไลน์ /

1. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด: สมบูรณาญาสิทธิราชย์ จุดเริ่มต้นและการล่วงเลย
— บทสัมภาษณ์ใน WAY Magazine

“ดิฉันมองว่า ขณะที่สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในยุโรปใช้เวลามากกว่าสองศตวรรษถึงจะเกิดการปฏิวัติ แต่ของเราเพิ่งเกิดรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์เมื่อไม่นานมานี้ และสิ้นสุดลงภายในระยะเวลาอันสั้น”

https://bit.ly/3gIHMPn

2. หมุดหาย อะไรโผล่
— นิธิ เอียวศรีวงศ์ | บทความในประชาไท 

“ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก็เป็นประเภทหนึ่งของระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ เพียงแต่คนหรือกลุ่มที่ถืออำนาจสมบูรณ์เด็ดขาดเป็นกษัตริย์และ/หรือพระญาติพระวงศ์และข้าราชบริพารใกล้ชิด แต่ความต่างที่สำคัญกว่านั้นอยู่ที่ว่า กษัตริย์ได้รับความชอบธรรมจากจารีตประเพณี, ลัทธิความเชื่อต่างๆ รวมทั้ง ‘ความศักดิ์สิทธิ์’ ที่แฝงอยู่ในสถาบันและบุคคล"

https://bit.ly/2ZRXMI7
==============================

สำหรับนักอ่านที่สนใจงานวิชาการว่าด้วยวิวัฒนาการของการเมืองทั้งไทยและเทศ ไปจนถึงคอนเซ็ปต์ของรัฐ สังคม และการเมือง

แนะนำชุดหนังสือสำหรับผู้รักประชาธิปไตย

Set เรียนรู้การเมืองไทย
Set รื้อ-สร้าง และท้าทายทางความคิด
Set บทสรุปทางความคิดของนักคิดระดับโลก
Set เข้าใจการเมือง เข้าถึงประชาชน
==========

สั่งซื้อได้แล้ววันนี้

หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ (1984) ฉบับครบรอบ 72 ปี ครบชุดการออกแบบ - 4 ปก

การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

● ฟ้าบ่กั้น ฉบับพิเศษ ในวาระ 90 ปี ลาว คำหอม ●

ฟ้าบ่กั้น หนังสือสุดคลาสสิคของไทย วรรณกรรมแห่งฤดูกาล รวมเรื่องสั้นว่าด้วยความยากไร้และคับแค้นของสังคมไทย | ถูกแปลเป็นภาษาต่างประเทศมากมาย | ยังเหมาะแก่การอ่านในทุกยุคทุกสมัย กล่าวได้ว่า ชะตากรรมของตัวละครในทุกเรื่องสั้นยังไม่เคยตกยุคหรือล้าสมัย ...เมื่อฟ้าไม่เคยกลั่นแกล้งคน หากแต่คนบนฟ้าต่างหากที่หวงแหนอำนาจและกดขี่...

การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

===================================

บทความที่คุณน่าจะชอบ

/ ราชาชาตินิยม | โหลดฟรี 10 บทความ /
/ ธงชัย  วินิจจะกูล | อุตสาหกรรมแห่งความจงรักภักดี /
/ สัญลักษณ์คณะราษฎรที่หายไป...เราจะจดจำไว้ /
/ ธงชัย  วินิจจะกูล | อำนาจของสาธารณชน จากบทกล่าวตามในหนังสือ 1984 /
/ รัฐประหารไทย | รวม 10 บทความสุดเข้ม /
/ 10 หนังสือสำหรับคน 'อยู่ไม่เป็น' /
==================

พบกับ 'หนังสือดี ราคาโดน' ที่ 'ลดแล้ว ลดอีก' คัดเน้นๆ มาให้ผู้อ่านเลือกสรรกันอย่างครบรส ทุกหมวดหมู่จัดชุดหนังสืออย่างพิถีพิถัน มากกว่า 40 ชุด จากหนังสือกว่า 100 ปก ในราคาสุดพิเศษ

การสิ้นสุดการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกิดขึ้นเมื่อใด

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2435–2475)

การปกครองแบบราชาธิปไตยมีความสําคัญอย่างไร

ราชาธิปไตย (อังกฤษ: monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองที่ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐโดยปกติถืออยู่กระทั่งสวรรคตหรือสละราชสมบัติ โดยมากมักได้อำนาจมาโดยการสืบราชสมบัติในราชวงศ์เดียวกัน แต่ก็มีพระมหากษัตริย์ที่มาจากการเลือกตั้งหรือตั้งตนเป็นเจ้าด้วยเช่นกัน ขณะที่ในระบอบสาธารณรัฐ ประมุขของรัฐ (ซึ่งมักเรียกว่าประธานาธิบดี) โดยปกติมาจาก ...

การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 151 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 8 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นปี พ.ศ. 2474 (1 มกราคม - 31 มีนาคม) และ 2475 (1 เมษายน - 31 ธันวาคม) ในแบบปัจจุบัน ปีนี้เป็นปีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ซึ่งเป็นปี ...

การปกครองระบอบประชาธิปไตยเกิดขึ้นในสมัยใด

คำว่า ประชาธิปไตย ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาในกรีซโบราณ ปราชญ์เพลโตเปรียบเทียบประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "การปกครองโดยผู้ถูกปกครอง" ว่าเป็นรูปแบบทางเลือกสำหรับระบอบราชาธิปไตย คณาธิปไตย และเศรษฐยาธิปไตย ชาวนครเอเธนส์สถาปนาระบอบที่ถือกันว่าเป็นประชาธิปไตยแห่งแรกของโลกเมื่อ 508–507 ปีก่อน ค.ศ. ...