นโยบายรัฐบาล นโยบายและยุทธศาสตร์ การจัดการ ศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และ สํา นักงาน ก ศ น 2564

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ชั้น 3 อาคารหอประชุมพญาไท
ซอยศรีอยุธยา 5 ถนนศรีอยุธยา
แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร 1 0 4 0 0

โทรศัพท์ / โทรสาร 0 2354 3797 (อำนวยการ)

โทรศัพท์ / โทรสาร 0 2354 3798 (งานบุคคล)

โทรศัพท์ / โทรสาร 0 2354 3799 (นิเทศฯ)

Email :

Facebook : bkk.edu.office

พิกัด GPS  13°45'30.9"N 100°31'51.0"E

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.
ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สาํ นักงาน กศน.
สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

คาํ นํา

สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทําเอกสาร นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน
สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตาม
บทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใน
อันที่จะเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมี
คุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทางหลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และ
โครงการสําคญั ตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสํานักงาน กศน.

นโยบายและจุดเน้นฉบับนี้ ได้กําหนดการดําเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์คือ “คนไทยทุกช่วงวัยได้รับ
โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ อย่างมคี ุณภาพ มีทกั ษะทีจ่ ําเปน็ และสมรรถนะทส่ี อดรบั กับทิศ
ทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ
พอเพียง” โดยประกอบด้วย ส่วนที่ 1 คือ จุดเน้นการดําเนินงานประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้แก่ 1)
น้อมนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ 2) ส่งสริมการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต
สําหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัย 3) พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางการศึกษา
แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท 4) บูรณาการ ความร่วมมือ
ในการสง่ เสริม สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ 5) พัฒนา ศักยภาพ
และประสิทธภิ าพในการทาํ งานของบุคลากร กศน. 6) ปรับปรงุ และพฒั นาโครงสรา้ งและระบบบริหาร จัดการ
องค์กร ปจั จยั พ้นื ฐานในการจดั การศึกษา และการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ต่อสาธารณะชน ส่วนท่ี 2 การ
จัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของ
สํานกั งาน กศน. และส่วนท่ี 3 ภารกิจต่อเน่ือง ได้แก่ 1) ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 2) ดา้ นหลักสูตร
สื่อ รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้การวัดและประเมินผล งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกันคุณภาพ
การศึกษา 3) ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 4) ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอัน
เกย่ี วเนื่อง จากราชวงศ์ 5) ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นท่ีเขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพ้ืนที่บริเวณ
ชายแดน 6) ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น

สํานักงาน กศน. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหน่วยงาน/สถานศึกษา สังกัด สํานักงาน กศน. จะนํานโยบาย
และจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นกรอบแนวทางการ
ขับเคลอ่ื น กศน. อยา่ งเป็นรูปธรรม เพื่อบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ท่ีกาํ หนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ต่อไป

นายวรัท พฤกษาทวีกลุ
เลขาธกิ าร กศน.

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สารบัญ หน้า

คํานํา 1
วสิ ัยทศั น์ 1
พนั ธกจิ 1
เป้าประสงค์ 2
ตวั ชี้วัด ๔
จุดเน้นการดําเนนิ งาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ 4
๑. นอ้ มนาํ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาส่กู ารปฏบิ ตั ิ 4
๒. สง่ สรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชนทเี่ หมาะสมกบั ทกุ ช่วงวัย
๓. พฒั นาหลกั สตู ร ส่อื เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้และรูปแบบ 4
การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท
๔. บรู ณาการความรว่ มมือในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษา 6
และการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ 5
๕. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทาํ งานของบุคลากร กศน.
๖. ปรับปรงุ และพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบริหารจดั การองคก์ ร ปัจจยั พนื้ ฐาน 5
ในการจัดการศกึ ษา และการประชาสมั พนั ธ์สร้างการรบั รตู้ ่อสาธารณะชน
การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 5
(COVID - 19) ของสํานกั งาน กศน 6
๑. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
๒. ดา้ นหลกั สูตร สือ่ รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล งานบริการทาง 8
วชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 8
๓. ด้านเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา 9
๔. ด้านโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอนั เก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ์ 9
๕. ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพน้ื ทบ่ี รเิ วณชายแดน 10
๖. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน 11
คณะผจู้ ัดทำ

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

นโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.

ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

วสิ ยั ทัศน์
คนไทยทกุ ช่วงวัยไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ อย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น

และสมรรถนะทส่ี อดรับกบั ทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดาํ รงชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสมบนรากฐานของหลัก
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ

๑. จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมคี ุณภาพ สอดคลอ้ ง กับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพือ่ ยกระดับการศึกษา และ
พฒั นาสมรรถนะ ทักษะการเรียนร้ขู องประชาชนกลุ่มเปา้ หมายให้เหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั ให้พรอ้ มรบั การ
เปลยี่ นแปลงและการปรับตวั ในการดาํ รงชีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม ก้าวสู่การเปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ
อยา่ งยงั่ ยนื

๒. พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา การ
วัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท
ในปจั จบุ นั

๓. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและ
โอกาส การเรยี นรู้ รวมถงึ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดและให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ให้กบั ประชาชนกล่มุ เป้าหมายอย่างทั่วถงึ

๔. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบ
ต่าง ๆ ให้กบั ประชาชน

๕. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มเี อกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของ
ธรรมาภบิ าล มีประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และคล่องตัวมากย่ิงขึน้

๖.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ
จรยิ ธรรมท่ดี ี เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพของการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้ท่มี คี ุณภาพมากยงิ่ ขึน้
เปา้ ประสงค์

1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทัง้ ประชาชนทว่ั ไปได้รับโอกาส ทาง
การศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตาม
อธั ยาศัยทมี่ ีคณุ ภาพอยา่ งเท่าเทยี มและทวั่ ถงึ เป็นไปตามบริบท สภาพปญั หาและความต้องการของแต่ละ
กลุ่มเปา้ หมาย

2. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม หน้าท่คี วามเปน็
พลเมืองที่ดภี ายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ ท่สี อดคล้องกับหลัก
ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง อันนาํ ไปสู่การยกระดับคุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งใหช้ มุ ชน เพ่ือ
พัฒนา ไปสูค่ วามมั่นคงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม

3. ประชาชนไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้และแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองผ่านแหลง่ เรยี นรู้ ชอ่ ง
ทางการเรียนรู้ และกจิ กรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วทิ ยาศาสตร์ และ

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม สามารถคดิ วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตผุ ล และนําไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจําวัน
รวมถงึ การแก้ปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์

4. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลกั สตู ร สือ่ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ
เรยี นร้ใู นรูปแบบทหี่ ลากหลาย ทันสมยั และรองรบั กับสภาวะการเรยี นรูใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ือแกป้ ญั หา
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชน รวมทง้ั ตอบสนองกับการเปลย่ี นแปลง
บรบิ ท ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ัล มา
พฒั นาเพื่อเพิม่ ช่องทางการเรียนรู้ และนาํ มาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรู้และโอกาสการ
เรียนรู้ ใหก้ ับประชาชน

6. ชุมชนและภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น มสี ่วนร่วมในการจดั สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การขบั เคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน

7. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการองค์กรทท่ี นั สมัย มีประสทิ ธภิ าพ และเป็นไป
ตามหลักธรรมาภบิ าล

8. บุคลากร กศน. ทกุ ประเภททกุ ระดับได้รบั การพฒั นาเพ่ือเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการ
ปฏิบัติงาน และการใหบ้ ริการทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมถึงการปฏิบัติงานตาม
สายงานอยา่ งมี ประสิทธิภาพ

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

จุดเน้นการดาํ เนินงานประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัติ

1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศนู ย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล”
เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรปู แบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ตา่ ง ๆ และ
สง่ เสริม การใช้พลังงานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.2 จดั ให้มี “หน่ึงชุมชน หนงึ่ นวัตกรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพ่ือความกินดี อยดู่ ี มงี านทาํ
1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม มที ัศนคติทด่ี ีต่อบ้านเมือง และเปน็ ผ้มู คี วามพอเพียง ระเบียบวินยั สุจรติ จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ
พฒั นา ผูเ้ รียนโดยการใช้กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด
2. สง่ สรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรูต้ ลอดชีวิตสําหรบั ประชาชนที่เหมาะสมกับทกุ ชว่ งวัย
2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง
นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มคี ุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผูร้ บั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูค้ วามสามารถเพอ่ื นาํ ไปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพได้
2.2 ส่งเสรมิ และยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษใหก้ ับประชาชน (English for ALL)
2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ที่
เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลกั สตู รการพฒั นาคุณภาพชวี ิตและส่งเสริมสมรรถนะผสู้ ูงวัย และหลักสูตร การ
ดูแลผสู้ งู วยั โดยเนน้ การมีส่วนร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายทกุ ภาคส่วนในการเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมสงู วยั
3. พัฒนาหลักสตู ร ส่ือ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศกึ ษา
และการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาท่ีเหมาะสม กับทกุ
กลุ่มเป้าหมาย มีความทนั สมัย สอดคล้องและพร้อมรองรบั กบั บรบิ ทสภาวะสงั คมปัจจุบัน ความต้องการ
ของผูเ้ รียน และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต
3.1 พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ONIE Digital Leaming Platform ท ี ่ ร อ ง ร ั บ DEEP ข อ ง
กระทรวงศึกษาธกิ าร และชอ่ งทางเรียนรู้รูปแบบอืน่ ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air
3.2 พัฒนาแหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้
สามารถ “เรียนร้ไู ด้อย่างทว่ั ถงึ ทกุ ที่ ทุกเวลา”
3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้
ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-exam)
4. บรู ณาการความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู้ หก้ ับ ประชาชน
อย่างมีคณุ ภาพ
4.1 ร่วมมือกบั ภาคีเครือขา่ ยทง้ั ภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คม และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ รวมท้ัง
ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของ
ชุมชน สง่ เสริมการตลาดและขยายชอ่ งทางการจาํ หนา่ ยเพ่ือยกระดบั ผลิตภัณฑ/์ สนิ ค้า กศน.
4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ
ภูมภิ าค

5. พัฒนาศกั ยภาพและประสทิ ธิภาพในการทํางานของบุคลากร กศน.

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital
Skills) ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนา
ครใู ห้มีทกั ษะ ความรู้ และความชาํ นาญในการใชภ้ าษาอังกฤษ การผลติ สอ่ื การเรยี นรู้และการจัดการเรียนการ
สอนเพ่อื ฝกึ ทักษะ การคดิ วิเคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบและมเี หตุผล เปน็ ข้นั ตอน

5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ
ทํางานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ
ทํางาน
6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจัดการองคก์ ร ปจั จัยพน้ื ฐานในการจัดการศกึ ษา และ
การประชาสมั พันธ์สรา้ งการรับรตู้ ่อสาธารณะชน

6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สําเร็จ และปรับโครงสร้าง การ
บรหิ ารและอตั รากาํ ลังใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทการเปล่ียนแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แตง่ ต้ังทีม่ ีประสิทธภิ าพ

6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบรหิ ารจดั การ พัฒนาระบบการทํางานและข้อมูล
สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพ่ือ
จดั ทาํ ขอ้ มลู กศน. ทงั้ ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน
สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้ทุกแห่ง ใหส้ ะอาด ปลอดภยั พร้อมให้บรกิ าร

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม
ดา้ นการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสร้างชอ่ งทางการแลกเปลยี่ นเรยี นร้ดู า้ นวชิ าการ ของ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/
มหกรรม วิชาการ กศน.
การจดั การศึกษาและการเรียนรูใ้ นสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19) ของสาํ นกั งาน กศน.

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม
2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของ
โรงเรียนและสถาบันการศกึ ษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรม
ใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมเี ดยี ตา่ ง ๆ รวมถึง การสอื่ สารแบบทางไกลหรอื ดว้ ยวิธีอิเล็กทรอนิกส์

ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน
ภารกจิ ต่อเน่อื งตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชวี ิตประจําวัน และการจดั การเรยี นรูเ้ พ่ือรองรบั การชีวิตแบบปกติ
วิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการ
ป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี
เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่าง
ระหว่างบคุ คล เนน้ การใชส้ ือ่ ดิจทิ ลั และเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจดั การเรยี นการสอน
ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง

นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดําเนินการ ให้
ผู้เรียนไดร้ ับการสนบั สนุนค่าจัดซือ้ หนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และค่าจัดการเรียน การ
สอนอยา่ งท่ัวถงึ และเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ ่าย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด
โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด
การศกึ ษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น
พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล
การเรียน และระบบการให้บริการนกั ศกึ ษาในรปู แบบอน่ื ๆ

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มี
ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ
กลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม
เพอ่ื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจบหลักสูตร อาทิ กจิ กรรมเสริมสร้างความสามัคคี กจิ กรรมเก่ียวกับการป้องกัน และ
แก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํากจิ กรรมการบําเพ็ญประโยชน์
อน่ื ๆ นอกหลักสตู รมาใช้เพม่ิ ชัว่ โมงกิจกรรมให้ผเู้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้
1.2 การสง่ เสริมการรู้หนงั สอื

1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน
ทัง้ ส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค

2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการ
สง่ เสรมิ การรหู้ นังสือทีส่ อดคล้องกบั สภาพและบริบทของแตล่ ะกลุม่ เป้าหมาย

3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการ
จดั กระบวนการเรยี นร้ใู ห้กับผู้ไมร่ ู้หนังสืออยา่ งมีประสิทธิภาพ และอาจจดั ให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือ
ใน พ้นื ที่ทมี่ คี วามต้องการจาํ เป็นเปน็ พิเศษ

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ
พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษา และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ของประชาชน
1.3 การศกึ ษาต่อเนื่อง

1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทําอย่างยั่งยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อ
การมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ
แต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา
ประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งใหก้ ับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชน การพัฒนา หนึ่งตําบลหนึ่งอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึง

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

การส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกํากับ ติดตาม และรายงานผล
การจดั การศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมีงานทาํ อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่ือง

2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่
สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต
ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้
อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ และเตรยี มพร้อมสําหรับการปรับตวั ให้ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้อง
การการแพร่ระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึง
ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ
ชีวิต การจดั ตงั้ ชมรม/ชมุ นุม การอบรมสง่ เสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เป็นตน้

3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ
บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิต
อาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละ
พืน้ ท่ี เคารพความคดิ ของผู้อน่ื ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ รวมทง้ั สังคม
พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิต
สาธารณะ การสร้างจติ สํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี
ความเป็นพลเมือง ที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสา
ธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนา
สังคมและชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน

4) การจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ใน
รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร
จัดการ ความเส่ยี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และย่ังยนื
1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั

1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตําบล ห้องสมุด
ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง
เครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์
เพื่อจัดกจิ กรรม สง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายให้บรกิ ารกบั ประชาชนในพน้ื ท่ีต่าง ๆ อย่างทั่วถึง
สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัด
กจิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมการอา่ น อย่างหลากหลายรปู แบบ

2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต
ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจํา
ท้องถิ่น โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง
บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน
และประเทศ รวมทงั้ ระดับภมู ิภาค และระดบั โลกเพื่อให้ประชาชนมีความรแู้ ละสามารถนําความรู้และทักษะไป
ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่าง
รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธิภาพ

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสริม
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น
พิพิธภณั ฑ์ ศนู ย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมดุ รวมถงึ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ เปน็ ตน้
2. ด้านหลักสูตร สือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ
และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ และ หลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ที่สอดคลอ้ งกับสภาพบรบิ ทของพืน้ ทแ่ี ละความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายและ
ชมุ ชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลุ่มเป้าหมายทัว่ ไปและกลุม่ เปา้ หมายพเิ ศษ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วย
ระบบห้องเรยี นและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทัง้ มกี ารประชาสัมพันธใ์ ห้สาธารณชนได้รบั รู้และสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมินได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ใน
ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศกึ ษาวิจยั เพื่อพัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การ
วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
บรบิ ทอย่างต่อเนอื่ ง
2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพ
ภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย
พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ
ดําเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อยา่ งตอ่ เนื่องโดยใช้การประเมนิ ภายในดว้ ยตนเอง และจัด
ให้มี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน
คณุ ภาพ ภายนอก ใหพ้ ฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานทกี่ ําหนด

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

3. ด้านเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง

ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทาง
การศึกษา สาํ หรับกล่มุ เปา้ หมายต่าง ๆ ใหม้ ีทางเลอื กในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา
ตนเองให้รู้เท่าทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา
รายการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานีวิทยุศกึ ษา สถานี
วิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือ
ส่งเสริม ให้ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself :
DIY)

3.3 พฒั นาสถานีวิทยุศึกษาและสถานโี ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศใหก้ ล่มุ เปา้ หมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถ
รับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่จี ะ รองรับ
การพัฒนาเปน็ สถานีวทิ ยุโทรทัศน์เพือ่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง
อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ใน
รูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้
ตามความต้องการ

3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อนําผล
มาใช้ในการพัฒนางานใหม้ ีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของ
ประชาชนได้อยา่ งแท้จริง
4. ด้านโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ์

4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อัน
เกีย่ วเน่ืองจากราชวงศ์

4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริหรือโครงการอนั เกี่ยวเนอื่ งจากราชวงศ์เพ่ือนําไปใชใ้ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ
พฒั นางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
เพ่ือให้เกิดความเขม้ แข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหน้าท่ที ี่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถ่ิน
ทรุ กันดาร และพนื้ ที่ชายขอบ

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

5. ด้านการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พน้ื ทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษและพ้นื ที่บรเิ วณ ชายแดน
5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และ

ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทงั้ อัตลกั ษณแ์ ละความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพ้ืนที่
2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพื่อให้

ผเู้ รยี นสามารถนําความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง
3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจดั ให้มีมาตรการดแู ลรกั ษาความปลอดภัยแกบ่ ุคลากรและ นักศึกษา

กศน.ตลอดจนผู้มาใชบ้ ริการอยา่ งทว่ั ถึง
5.2 พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ
บริบทของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ

2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด
การพฒั นาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพ้ืนท่ี
5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)

1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ
ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดว้ ยวิธกี ารเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย

2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้าน
อาชพี ท่เี นน้ เรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน
6. ด้านบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน
6.1 การพฒั นาบคุ ลากร

1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง การ
ดํารงตําแหน่งเพือ่ ใหม้ ีเจตคติท่ีดีในการปฏบิ ัติงานให้มคี วามรู้และทักษะตามมาตรฐานตาํ แหน่ง ให้ตรงกับสาย
งาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของ
หนว่ ยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพรวมท้ังสง่ เสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเลื่อน
ตําแหน่ง หรือเล่ือนวทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์

2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศยั ในสถานศึกษา

3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง
และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย
ความสะดวกในการเรยี นรเู้ พือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งแทจ้ รงิ

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้
อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมใหม้ ีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู้ การ
วัด และประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบือ้ งต้น

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถและมคี วามเป็นมืออาชีพในการจัดบริการสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชน

นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

6) สง่ เสรมิ ใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มสี ่วนรว่ มในการ บรหิ าร
การดําเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ใหส้ ามารถทาํ หน้าทสี่ นับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบและ การศึกษา
ตามอัธยาศัยได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ
ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพ ในการทาํ งาน
6.2 การพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและอตั รากาํ ลงั

1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี
ความพร้อมในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้

2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ
และลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามท่ี
กาํ หนดไว้ ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุดในการปฏบิ ัตงิ าน

3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช้ ในการ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การเรียนรู้สาํ หรบั ประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถว้ น ถกู ต้อง ทนั สมยั และเชื่อมโยงกันทวั่ ประเทศ อย่างเป็น
ระบบเพื่อใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสามารถนาํ ไปใชเ้ ป็นเครื่องมือสาํ คญั ในการบริหาร การวางแผน
การปฏบิ ัติงาน การติดตามประเมนิ ผล รวมท้งั จัดบริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อย่าง
มีประสิทธิภาพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด
การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเปา้ หมายทกี่ ําหนดไว้

3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ให้มคี วามครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยง
กันทั่วประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศกึ ษาให้กบั ผู้เรียน
และการบริหารจัดการอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพื่อ
สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ
ชุมชนพร้อมทัง้ พัฒนาขดี ความสามารถเชงิ การแขง่ ขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา

5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ
และต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเขา้ ใจ และให้เกิดความ
รว่ มมือ ในการสง่ เสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรใู้ ห้กบั ประชาชนอย่างมคี ณุ ภาพ

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใชห้ อ้ งประชมุ เปน็ ตน้

7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และ
ประพฤติมชิ อบ บริหารจัดการบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ม่งุ ผลสัมฤทธ์มิ คี วามโปร่งใส

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

6.4 การกาํ กับ นเิ ทศติดตามประเมิน และรายงานผล
1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ้ ช่อื มโยงกับหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายทั้งระบบ
2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ

รายงานผลการนาํ นโยบายสู่การปฏบิ ัติ ให้สามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเร่ืองได้อย่าง
มี ประสิทธภิ าพ

3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับ
นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี
ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ
สาํ นกั งาน กศน.ให้ดาํ เนนิ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาทก่ี ําหนด

5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่
ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล
และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ทป่ี รกึ ษา คณะผจู้ ัดทํา
นายวรทั พฤกษาทวีกลุ
เลขาธกิ าร กศน.
ผ้เู รยี บเรยี งและจดั ทําตน้ ฉบับ
นายยอดชาย ทองธีระ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชาํ นาญการ
กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน
บรรณาธิการ ผ้อู ํานวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน
นายโยทิน สมโนนนท์
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน
ผู้สรุป และจัดพิมพ์ กลมุ่ ยทุ ธศาสตร์และแผนงาน
นางสาวมะลวิ ัลย์ สทิ ธิสมบรู ณ์

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔