ข้อสอบ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ม. 5 พร้อม เฉลย

กลุ่มข้อสอบใน Facebook | กดเป็นมาชิกหรือกดไลน์เพจได้นะครับ

กลุ่มแนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย 2564
เพจสื่อการสอนครูออฟ

Youtube ครูออฟสอนคอมพิวเตอร์

TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS

 &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center" valign="top"&gt;© 2014 - 2020 Thaitestonline.com &amp;nbsp;&lt;br&gt; All rights reserved.&lt;br&gt;&lt;script&gt; (function(i,s,o,g,r,a,m){i['GoogleAnalyticsObject']=r;i[r]=i[r]||function(){ (i[r].q=i[r].q||[]).push(arguments)},i[r].l=1*new Date();a=s.createElement(o), m=s.getElementsByTagName(o)[0];a.async=1;a.src=g;m.parentNode.insertBefore(a,m) })(window,document,'script','//www.google-analytics.com/analytics.js','ga'); ga('create', 'UA-36906269-1', 'auto'); ga('send', 'pageview'); <script type="text/javascript" language="javascript1.1" src="http://tracker.stats.in.th/tracker.php?sid=59014">  

หน่วยที่ 1

1.  ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลกด้วยวิธีอ้างอิงตำแหน่งเป็นค่าระยะเชิงมุมของละติจูด และลองจิจูด

     เป็นลักษณะขององค์ประกอบแผนที่ในข้อใด

     ก.  พิกัดภูมิศาสตร์

     ข.  ชื่อตำแหน่งภูมิศาสตร์

     ค.  เส้นขอบระวาง

     ง.  พิกัดฉาก

2.  องค์ประกอบใดที่ต้องใช้ในการแปลความหมายจากแผนที่มากที่สุด

     ก.  ทิศทาง

     ข.  สัญลักษณ์

     ค.  มาตราส่วน

     ง.   พิกัดภูมิศาสตร์

3.  แผนที่ธรณีวิทยา พืชพรรณธรรมชาติ และแผนที่การใช้ที่ดินจัดอยู่ในแผนที่ประเภทใด

     ก.  แผนที่ภูมิประเทศ

     ข.  แผนที่ทั่วไป

     ค.  แผนที่แบบผสม

     ง.  แผนที่พิเศษหรือแผนที่เฉพาะเรื่อง

4.  เครื่องมือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ชนิดใดที่สามารถบอกค่าพิกัดของวัตถุบนพื้นโลกได้อย่าง

     ถูกต้องแม่นยำ

     .  Digitizer

     .  Scanner

     .  GPS

     .   Ploter

5.  ข้อใดไม่จัดอยู่ในองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

      .  ข้อมูล/สารสนเทศ                                              .  ระบบฮาร์ดแวร์/ซอฟต์แวร์

      .  กระบวนการวิเคราะห์/บุคลากร                      .  เครื่องย่อขยายแผนที่

 6.  ข้อมูลทางภูมิศาสตร์สามารถค้นข้อมูลได้จากแผนที่ประเภทใด

     .  แผนที่รัฐกิจ

     .  แผนที่เศรษฐกิจ

     .  แผนที่ทางกายภาพ

     .  แผนที่เส้นทางการเดินทาง

7.  การแปลความหมายภาพถ่ายทางอากาศต้องอาศัยปัจจัยใดเป็นหลัก

      .  สัญลักษณ์

      .  ขนาดและรูปร่าง

      .  ความเข้มของภาพ

      .  ทิศทางของวัตถุ

8.  แผนที่ที่ดีและเกิดประโยชน์ต่อการศึกษามากที่สุดควรมีลักษณะรูปแบบใด

     .  สีสันสวยสะดุดตา

     .  ใช้วัสดุที่มีคุณภาพ

     .  ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเข้าใจง่าย

     .   มีรายละเอียดบนแผนที่มาก

9.  มาตราส่วนในแผนที่ใดที่บอกความละเอียดในสภาพพื้นที่จริงได้มากที่สุด

      .  1 : 100 ซ.ม.

      .  1 : 1,000 ซ.ม.

      .  1 : 10,000 ซ.ม.

      .   1 : 100,000 ซ.ม.

10. ภาพถ่ายทางอากาศใช้ประโยชน์ในกิจกรรมใดมากที่สุดในปัจจุบัน

       .  การเพาะปลูก

       .  ผังเมือง

       .  การท่องเที่ยว
       ง.  การออกโฉนดที่ดิน

ข้อ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ก่อนเรียน

หลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่2

1.  ข้อใดกล่าวถึงส่วนประกอบของโลกได้ไม่ถูกต้อง

     ก.  ประกอบด้วย 4 มหาสมุทร 7 ทวีป

     ข.  ประกอบด้วยแผ่นดิน 1 ส่วน ผืนน้ำ 3 ส่วน

     ค.  เป็นส่วนนอกสุดของโลก และมีความบางที่สุด

     ง.  ประกอบด้วยแร่ธาตุต่าง ๆ ที่มีลักษณะยืดหยุ่น

2.  โครงสร้างของโลกส่วนใดที่มีการเคลื่อนไหว การเลื่อนไหลของหินหนืดอยู่ตลอดเวลา

     ก.  แก่นโลกส่วนใน

     ข.  แก่นโลกส่วนนอก

     ค.  เนื้อโลก

     ง.   เปลือกโลก

3.  ข้อใดให้ข้อมูลสัณฐานของโลกได้ไม่ถูกต้อง

     ก.  โลกมีรูปทรงกลม

     ข.  รูปทรงของโลกบริเวณขั้วโลกแบนไปเล็กน้อย

     ค.  รูปทรงของโลกป่องตรงศูนย์สูตรเล็กน้อย

     ง.  โลกมีขนาดใกล้เคียงกับดาวศุกร์

4.  ชั้นบรรยากาศใดที่มีทัศนวิสัยดีสำหรับใช้ในการบินของเครื่องบิน

     .  โทรโพสเฟียร์

     .  สเตรโทสเฟียร์

     .  เมโซสเฟียร์

     .  เทอร์โมสเฟียร์

5.  น้ำเกิด น้ำตาย เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการกระทำของสิ่งใดที่มีต่อโลก

      .  ดวงจันทร์

      .  ดวงอาทิตย์

      .  ดาวศุกร์

      .  ดาวอังคาร

 6.  ทฤษฎีของอัลเฟรด เวเกเนอร์ มีความเชื่อเกี่ยวกับธรณีวิทยาของโลกนี้ว่าอย่างไร

     .  ขั้วโลกเหนือเคยสลับขั้วกับขั้วโลกใต้มาก่อน

     .  โลกเมื่อ 225 ล้านปีก่อนเป็นผืนน้ำทั้งหมด

     .  โลกเมื่อ 225 ล้านปีก่อนมีผืนแผ่นดินใหญ่ติดต่อกันเป็นผืนเดียว

     .   โลกเมื่อ 225 ล้านปีก่อนแผ่นดินโลกขั้วเหนือ-ใต้ แยกออกจากกัน

7.  ข้อใดจัดประเภทของสัตว์ตามลักษณะพื้นที่ได้ไม่ถูกต้อง

      .  สัตว์ในเขตขั้วโลก : หมีขาว  กวางคาริบู

      .  สัตว์ในเขตป่าอบอุ่น : หมีโคอาลา นกกีวี

      .  สัตว์ในเขตป่าดิบ : กอริลลา  เสือ

      .  สัตว์ในเขตภูเขา : ม้าลาย  ยีราฟ

8.  พืชชนิดใดที่เกิดบริเวณในน้ำกร่อย

     .  สาหร่าย     หญ้าทะเล

     .  แหน           ผักตบชวา

     .  แสม           ลำพู

     .  ต้นอ้อ         ต้นทองหลาง

9.  ข้อใดอธิบายการเกิดลมทะเลได้ถูกต้อง

      .  ลมที่เกิดในเวลากลางวันพัดจากบกลงสู่พื้นน้ำ

      .  ลมที่เกิดในเวลากลางวันพัดจากพื้นน้ำขึ้นสู่พื้นดิน

      .  ลมที่เกิดในเวลากลางคืนพัดจากบกลงสู่พื้นน้ำ

      .   ลมที่เกิดในเวลากลางวันพัดจากพื้นน้ำขึ้นสู่พื้นดิน

10. การเกิดปรากฏการณ์ในข้อใดที่ไม่สัมพันธ์กัน

       .  โลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดกลางวัน  กลางคืน

       .  โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ทำให้เกิดฤดูกาล

       .  ดวงจันทร์โคจรรอบโลกทำให้เกิดข้างขึ้น-ข้างแรม

       .  ดวงจันทร์โคจรรอบดวงอาทิตย์ทำให้เกิดสุริยุปราคา

ข้อ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ก่อนเรียน

หลังเรียน

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่3

1.  พื้นที่ของทวีปใดที่ไม่มีเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

     ก.  ทวีปเอเชีย

     ข.  ทวีปยุโรป

     ค.  ทวีปออสเตรเลีย

     ง.  ทวีปอเมริกาเหนือ

2.  ภูมิประเทศของทวีปเอเชียส่วนใดที่อยู่ในเขตซีกโลกใต้

     ก.  ตั้งแต่พื้นที่ของประเทศมาเลเซียลงไป

     ข.  ตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ลงไป

     ค.  ตั้งแต่พื้นที่ของประเทศบรูไนลงไป

     ง.   หมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และติมอร์-เลสเต

3.  ภูมิประเทศในบริเวณใดที่เป็นที่ราบสูงที่สุดในโลก

     ก.  ที่ราบสูงทิเบต

     ข.  ที่ราบสูงเดกกัน

     ค.  ที่ราบสูงอนาโตเลีย

     ง.  ที่ราบสูงไซบีเรีย

4.  การจำแนกภูมิอากาศแบบเคิปเฟินใช้เกณฑ์ในการแบ่งตามข้อใด

     .  ปริมาณฝน ความกดอากาศ สัตว์ธรรมชาติ

     .  ปริมาณฝน ภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติ

     .  ปริมาณฝน ลมพายุ พืชพรรณธรรมชาติ

     .   ปริมาณฝน ความกดอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ

5.  บริเวณใดของพื้นที่ทวีปอเมริกาใต้ที่ปกคลุมด้วยป่าดิบชื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลก

      .  บริเวณที่ราบสูงโบลิเวีย

      .  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปารากวัย

      .  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโอรีโนโก

      .  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแอมะซอน

 6.  ลักษณะภูมิประเทศใดของทวีปอเมริกาเหนือที่มีความสวยทางธรรมชาติที่กลายเป็น 1 ใน 7

     สิ่งมหัศจรรย์ของโลก

     .  เทือกเขาอะแลสกา

     .  ยอดเขาแมกคินลีย์

     .  แกรนด์แคนยอน

     .  เทือกเขาร็อกกี

7.  ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ทับถมตะกอนของดินแม่น้ำเป็นแหล่งอารยธรรมทางด้าน

     ประวัติศาสตร์ชาติไทยหมายถึง ลักษณะของภูมิภาคใด

      .  ภาคเหนือ

      .  ภาคกลาง

      .  ภาคตะวันออก

      .  ภาคใต้

8.  ภูมิภาคใดของโลกที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในปัจจุบัน

     .  เอเชียใต้

     .  เอเชียตะวันออก

     .  อเมริกาเหนือ

     .  ยุโรปตะวันออก

9.  การสร้างสรรค์ทางด้านภูมิปัญญาไทยต่างๆ ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในสภาพของพื้นที่ใด

      .  บริเวณเขตภูเขาสูง

      .  บริเวณที่ราบสูง

      .  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ

      .   เขตที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล

10. ตระกูลภาษาใดที่ประชากรทั่วโลกนิยมใช้ติดต่อสื่อสารกันมากที่สุดในปัจจุบัน

       .  ตระกูลภาษาอัลตาอิก

       .  ตระกูลภาษาดราวีเดี่ยน

       .  ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

       .  ตระกูลภาษาแอโฟร-เอเชียติก

ข้อ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ก่อนเรียน

หลังเรียน

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่4

1.  ข้อใดจัดลำดับความแรงของลมพายุตามแรงลมจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง

     ก. ดีเปรสชัน            โซนร้อน             ไต้ฝุ่น

     ข. ไต้ฝุ่น            โซนร้อน             ดีเปรสชัน

     ค. โซนร้อน            ไต้ฝุ่น             ดีเปรสชัน

     ง.  ดีเปรสชัน            ไต้ฝุ่น            โซนร้อน

2.  การเกิดปรากฏการณ์สึนามิที่จังหวัดภูเก็ต มีสาเหตุมาจากอะไร

     ก.  เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร

     ข.  เกิดภูเขาไฟระเบิดบนเกาะ

     ค.  เกิดลมพายุขนาดใหญ่พัดเข้าชายฝั่ง

     ง.   เกิดแผ่นดินแยกตัวบนพื้นดิน

3.  การเกิดสึนามิ เมื่อ พ.ศ 2547 ประเทศใดได้รับผลกระทบมากที่สุด

     ก.  ไทย

     ข.  อินเดีย

     ค.  ศรีลังกา

     ง.  อินโดนีเซีย

4.  ปรากฏการณ์ใดที่เป็นสาเหตุให้เกิดภูเขาไฟปะทุ

     .  แผ่นดินไหว

     .  สึนามิ

     .  พายุพัดกระหน่ำ

     .   การขุดเจาะน้ำมัน

5.  พื้นที่ในภาคใดของประเทศไทยที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว

      .  ภาคเหนือ

      .  ภาคตะวันตก

      .  ภาคกลาง

      .  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

 6.  การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกในข้อใดที่ทำให้ถนน สายไฟฟ้า ท่อประปา และท่อแก๊สฉีกขาด

     .  แผ่นดินสะเทือน

     .  แผ่นดินเลื่อน

     .  แผ่นดินถล่ม

     .  ธรณีสูบ

7.  กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจใดที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะแก๊สเรือนกระจก ส่งผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อนมากที่สุด

      .  การประกอบอาชีพเกษตรกรรม

      .  การตัดไม้ทำลายป่า

      .  การทำอุตสาหกรรม

      .  การขับรถยนต์ปล่อยควันเสีย

8.  ข้อใดเรียกชื่อพายุหมุนได้ไม่สัมพันธ์กับบริเวณที่เกิด

     .  พายุ วิลลี-วิลลี        :      บริเวณทะเลติมอร์

     .  พายุเฮอริเคน           :      บริเวณทะเลแคริบเบียน

     .  พายุไซโคลน           :      บริเวณมหาสมุทรอินเดีย

     .   พายุดีเปรสชัน        :      บริเวณทะเลจีนใต้

9.  การกระทำใดที่ส่งผลต่อการเกิดภัยจากดินหรือโคลนถล่ม

      .  การสร้างเขื่อน

      .  การสร้างถนนผ่านไหล่เขา

      .  การปลูกพืชแบบขั้นบันไดเชิงเขา

      .   การตัดต้นไม้ใหญ่บนสันเขาและไหล่เขา

10. การเกิดกระแสน้ำอุ่นไหลย้อนกลับจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรทางมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกไปทางมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกทำให้เกิดปรากฏการณ์ใดในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

       .  เกิดพายุหมุนไต้ฝุ่น

       .  เกิดพายุหมุนเฮอริเคน

       .  เอลนิโญ

       .  ลานีญา

ข้อ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ก่อนเรียน

หลังเรียน

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่5

1.  วิธีใดเป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขปัญหาความแห้งแล้งของประเทศไทย

     ก. การทำฝนเทียม

     ข. การปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ป่า

     ค. การทำคลองส่งน้ำให้ทั่วถึง

     ง.  การขุดเจาะบ่อบาดาลให้ครบทุกพื้นที่

2.  ประเทศใดในโลกที่เป็นผู้ปล่อยแก๊สเรือนกระจกมากที่สุด และเป็นต้นเหตุทำให้เกิดภาวะโลกร้อน

     ก.  สหรัฐอเมริกา และจีน

     ข.  จีน ญี่ปุ่น

     ค.  ฝรั่งเศส อังกฤษ

     ง.   เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย

3.  กิจกรรมใดที่มีส่วนในการทำลายโอโซนของโลกมากที่สุด

     ก.  การต่อเรือ

     ข.  การเคาะพ่นสีรถยนต์

     ค.  การก่อสร้างอาคารสูง

     ง.  การสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า

4.  อีก 10 ปีข้างหน้าโลกจะเกิดวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อมใดอย่างรุนแรง

     .  การขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรง

     .  การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

     .  มลพิษจากแหล่งอุตสาหกรรม

     .   ถูกทุกข้อ

5.  เขตพื้นที่บริเวณใดที่ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุด

      .  เขตที่ราบ

      .  เขตที่ราบสูง

      .  เขตภูเขาสูงสลับหุบเขา

      .  เขตพื้นที่ราบสลับทะเลทราย

 6.  ทรัพยากรธรรมชาติใดที่ใช้ได้ไม่มีวันหมด และเป็นพลังงานสะอาด

     .  น้ำมัน

     .  ถ่านหิน

     .  แก๊สธรรมชาติ

     .   พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์

7.  หน่วยงานใดที่ดูแลรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยโดยตรง

      .  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

      .  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

      .  กระทรวงศึกษาธิการ

      .  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

8.  การแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ ตามเมืองใหญ่ของไทยวิธีการใดที่ช่วยลดมลพิษทางอากาศได้ดีที่สุด

     .  การแก้ไขปัญหาจราจรที่ติดขัด

     .  ย้ายเมืองหลวงใหม่จัดวางระบบผังเมืองใหม่

     .  ห้ามรถบรรทุกเข้าในเขตตัวเมือง

     .  จัดแบ่งโซนอุตสาหกรรม กับชุมชนแยกออกจากกัน

9.  สาเหตุใดที่ทำให้เกิดวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากที่สุดในปัจจุบันมากที่สุด

      .  การเพิ่มของจำนวนประชากร

      .  การขยายตัวทางเศรษฐกิจ

      .  ความเจริญทางวิทยาศาสตร์

      .   การพัฒนาเทคโนโลยี

10. กฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน

       .  สนธิสัญญาบาเซิล

       .  อนุสัญญาแรมซาร์

       .  พิธีสารมอนทรีออล

       .  พิธีสารเกียวโต

ข้อ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ก่อนเรียน

หลังเรียน