การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น from อ้อมตรี๊ฟ ทิฟฟี่

Show
10. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (Frequency Division Multiplexer หรือ FDM) เป็นวิธีที่ใช้กันทั้งระบบที่มีสายและระบบคลื่นวิทยุ ซึ่งหลักการของการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่นี้คือ การนำสัญญาณจากแหล่งต่างๆมารวมกัน ให้อยู่ในคลื่นพาห์เดียวกันที่ความถี่ต่างๆ และสัญญาณเหล่านี้สามารถที่จะใช้เส้นทางร่วมกันได้ซึ่งต่างจากแบบแรกที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้

          �繡���������Ẻ�ͧ�ҧ ���Ѻ�������� � �ѹ ���¤������ ʶҹշ�� 2 ʶҹ� ����ö������Ѻ������������ � �ѹ ��е�ǡ�ҧ������� 2 ��� �Ҩ�������ѹ�������¡���������Ѻ�Ѻ �Ѻ�������Ѻ�觡��� ����������Ẻ����ջ���Է���Ҿ�ա���Ẻ��� � ��������Դ���˹�ǧ����㹪�ǧ�������¹ʶҹ������ҧ����Ѻ�Ѻ�����

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูล ก็ทำหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียวด้วยเช่นกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำหน้าที่รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน

2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex-Transmission)

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล แต่จะต้องสลับกันทำหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล จะเป็นผู้ส่ง

พร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลประเภทนี้ เช่น การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร

ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล

3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission)

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและ ผู้รับข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโทรศัพท์ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถ

พูดพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน  โดยปกติการสื่อสารข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ใช่่การส่งข้อมูล

แบบสองทิศทางพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูลได้

สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่าง

เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทางพร้อมกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก

           ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนำข้อมูล

           สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารของข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ

1. แบบทิศทางเดียว (Simplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว” (One-way Communication)เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้เช่น การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ การเผยแพร่ภาพและรายการต่างๆของสถานีโทรทัศน์ เป็นต้น

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใดทางหนึ่ง (Either-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ต้องกดสวิตซ์ เพื่อเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร

กิจการวิทยุสมัครเล่นที่ระบุในข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ว่า กิจการวิทยุสมัครเล่นคือ กิจการวิทยุคมนาคม เพื่อวัตถุประสงค์ในการฝึกฝนตนเองในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน และในการทดสอบทางเทคนิคโดยพนักงานวิทยุสมัครเล่น ซึ่งได้แก่ บุคคลที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง และมีความสนใจในเรื่องวิทยุสื่อสารเป็นการส่วนตัว มิใช่เพื่อผลประโยชน์ทางการเงิน หมายความว่าอย่างไร

ก. ห้ามไม่ให้พูดคุยเรื่องอื่นนอกจากเรื่องทางเทคนิควิทยุสื่อสาร

ข. ห้ามไม่ให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นค้าขายสินค้าเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น

ค. ห้ามใช้ความถี่วิทยุสมัครเล่นในการประสานงานช่วยเหลือสังคม

ง. ห้ามไม่ให้ใช้ประโยชน์จากสื่อสารผ่านความถี่วิทยุสมัครเล่นเพื่อรับค่าตอบแทน

คำถามต่อไป

คำถามที่ 2/100

ข้อใดไม่ใช่เรื่องที่ข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศกำหนดว่าจะต้องมีการทดสอบก่อนออกใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ก. ข้อบังคับและกฎหมายทั้งในประเทศและสากล

ข. ความสามารถในการรับ และ ส่ง เป็นรหัสมอร์ส

ค. ความรู้ทางเทคนิคเกี่ยวกับระบบวิทยุสื่อสาร

ง. ความปลอดภัย และการป้องกันการรบกวนด้านการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 3/100

มาตรา 60 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระองค์กรหนึ่งทำหน้าที่รับผิดชอบและกำกับการดำเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ โดยคำนึงถึงประโยชน์ 4 ด้าน หนึ่งในนั้นคือ

ก. ให้ประชาชนมีอิสรภาพในการใช้คลื่นความถี่

ค. การตั้งวิทยุชุมชนอย่างทั่วถึง

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 4/100

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ คือ “เจ้าพนักงาน ผู้ออกใบอนุญาต” ซึ่งในปัจจุบันได้มอบอำนาจให้ผู้ใดบ้าง

ก. ประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ข. เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ค. พนักงานของสำนักงาน กสทช. ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 5/100

ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจจะใช้เครื่องวิทยุคมนาคมได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน ต้นสังกัดของตน หมายความว่าไม่อยู่ในการกำกับดูแลของ กสทช. ใช่หรือไม่

ก. ใช่ เพราะต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานต้นสังกัดเท่านั้น

ข. ใช่ เพราะสามารถซื้อเครื่องวิทยุคมนาคมที่ไม่มีเลขทะเบียนวิทยุคมนาคมได้

ค. ใช่ เพราะหน่วยงานมีอำนาจเหนือกว่า กสทช.

ง. ไม่ใช่ เพราะ กสทช. กำกับดูแลการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในภาพรวมโดยเป็นการกำกับผ่านหน่วยงาน

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 6/100

ของกลางที่มีและใช้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 (เครื่องเถื่อน) สำนักงาน กสทช. จะดำเนินการอย่างไร

ก. คืนให้เจ้าของเมื่อคดีสิ้นสุด

ข. คืนให้พนักงานสอบสวนเจ้าของคดี

ง. มอบให้สมาคมวิทยุสมัครเล่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 7/100

นายไข่เค็มถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจเรียกตรวจและพบวิทยุคมนาคม ซึ่งนายไข่เค็มมีเพียงใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นติดกระเป๋าอยู่แต่ไม่ได้นำใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมมาด้วย นายไข่เค็มควรทำอย่างไร

ก. แสดงใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นและเปิดให้ดูหมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคม และบอกว่าเครื่องนี้ถูกต้องตามกฎหมายมากกว่าเครื่องที่เอวของตำรวจเสียอีก

ข. แสดงใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นและเปิดให้ดูหมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคม และบอกว่าใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมอยู่ที่บ้าน สามารถนำมาแสดงได้ถ้าจำเป็น

ค. แสดงใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นและเปิดให้ดูหมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคม และบอกว่าเราเป็นอาสาสมัครที่ได้รับการคุ้มครองจาก กสทช.

ง. แสดงใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นและเปิดให้ดูหมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคม และบอกว่าให้โทรไปสอบถาม กสทช. ได้ ถ้าไม่เข้าใจ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 8/100

นายไข่เค็มถูกจับเนื่องจากเครื่องรับ-ส่งวิทยุย่านสมัครเล่นมีการเปิดแบนด์เพื่อให้สามารถรับฟังข่ายสื่อสารของตำรวจได้ จะทำให้นายไข่เค็มเป็นบุคคลที่มีทะเบียนประวัติอาชญากรติดตัว ในกรณีใด

ก. ในกรณีที่สำนักงาน กสทช. เป็นผู้ดำเนินคดี จะต้องมีการทำประวัติอาชญากรรม

ข. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นผู้ดำเนินคดี จะต้องมีการทำประวัติอาชญากรรม

ค. จะต้องมีการทำประวัติอาชญากรรมทุกกรณี

ง. ไม่ต้องมีการทำประวัติอาชญากรรมทุกกรณี

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 9/100

กิจการวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ เนื่องจาก

ก. พนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นผู้มีฐานะดี สามารถลงทุนซื้ออุปกรณ์และเครื่องมือราคาแพง

ข. พนักงานวิทยุสมัครเล่นมีโอกาสศึกษาทดลอง วิจัย และสร้างอุปกรณ์ที่ใช้คลื่นความถี่ที่กำหนดไว้สำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น

ค. พนักงานวิทยุสมัครเล่นอยู่ใกล้ชิด กสทช. ซึ่งเป็นแหล่งความรู้ด้านโทรคมนาคม

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 10/100

กิจการวิทยุสมัครเล่น หมายถึง

ก. กิจการวิทยุคมนาคมเพื่อวัตถุประสงค์ในการฝึกฝนตนเองในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและการทดสอบทางเทคนิคโดยพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ข. กิจการวิทยุคมนาคมเพื่อวัตถุประสงค์ในการติดต่อสื่อสารของหน่วยงานด้านความมั่นคง

ค. กิจการวิทยุคมนาคมเพื่อวัตถุประสงค์ในการแสวงหาผลประโยชน์ทางการเงิน

ง. กิจการวิทยุคมนาคมเพื่อวัตถุประสงค์ในการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานของรัฐ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 11/100

ผู้ที่ยังไม่ได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น สามารถใช้คลื่นความถี่ในกิจการวิทยุสมัครเล่นได้ในกรณีใด

ก. ทดลองออกอากาศเพื่อฝึกฝนตนเองโดยใช้สถานีวิทยุสมัครเล่นควบคุมข่าย และต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลจากผู้ที่ได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ข. ทดลองออกอากาศเพื่อฝึกฝนตนเองโดยใช้สถานีวิทยุสมัครเล่นขององค์กรวิทยุสมัครเล่น (Club station) และต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลจากผู้ที่ได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ค. ทดลองออกอากาศเพื่อฝึกฝนตนเองโดยใช้สถานีวิทยุสมัครเล่นสำหรับกิจกรรมพิเศษ (Special event station) และต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลจากผู้ที่ได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 12/100

พนักงานวิทยุสมัครเล่นจะถูกยกเลิกสัญญาณเรียกขานก็ต่อเมื่อ

ก. พนักงานวิทยุสมัครเล่นเสียชีวิต

ข. ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นหมดอายุไปแล้วเป็นระยะเวลาเกินกว่า 2 ปี

ค. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นจากการกระทำผิดกฎหมาย

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 13/100

สถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ที่จัดให้เป็นกิจการรอง หมายถึง

ก. ต้องไม่ก่อให้เกิดการรบกวนอย่างรุนแรงต่อสถานีที่จัดให้เป็นกิจการหลัก ทั้งที่ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่อยู่ก่อนหรือภายหลัง

ข. ไม่สามารถเรียกร้องขอสิทธิคุ้มครองการรบกวน

ค. ได้รับสิทธิคุ้มครองการรบกวนจากสถานีอื่น ๆ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 14/100

กิจการวิทยุสมัครเล่นได้จัดสรรให้ใช้ย่านความถี่ 146 - 147 MHz กำหนดเป็นกิจการรอง และหากมีการรบกวนการใช้งานในกิจการหลักอย่างรุนแรง พนักงานวิทยุสมัครเล่นจะต้องดำเนินการอย่างไร

ก. สถานีวิทยุสมัครเล่นได้รับการจัดสรรถูกต้อง ถือว่าเป็นกิจการหลัก ดังนั้น ไม่จำเป็นต้องระงับการใช้คลื่นความถี่

ข. ดูว่าความจำเป็นของใครสำคัญกว่าในขณะนั้นให้เป็นผู้ใช้ก่อนและอีกฝ่ายหยุดรอ

ค. แจ้งให้สถานีวิทยุคมนาคมของกิจการหลักระงับการใช้คลื่นความถี่เพราะได้รับการจัดสรรในภายหลัง

ง. จะต้องระงับการใช้คลื่นความถี่ทันที

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 15/100

พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นได้รับอนุญาตให้เข้ารหัสด้วยโทนแบบ DTMF, CTCSS หรืออื่น ๆ ที่คล้ายกันหรือไม่

ข. ให้ใช้ได้เฉพาะ DTMF ไม่อนุญาตให้ใช้ CTCSS

ค. ให้ใช้ได้เฉพาะ CTCSS ไม่อนุญาตให้ใช้ DTMF

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 16/100

คลื่นความถี่ช่วงใดในย่าน 10 เมตร ที่กำหนดให้ใช้สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 17/100

หากต้องการติดต่อสื่อสารประเภทเสียงในโหมด Single Side Band (SSB) ย่าน 10 เมตร จะต้องใช้ที่ความถี่ใด

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 18/100

พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นสามารถทดลองใช้การสื่อสารย่าน HF ได้ที่ความถี่ใด

ง. 28.000 MHz – 29.7000 MHz

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 19/100

ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของแนวทางการใช้งานความถี่ (Band plan)

ก. ข้อกำหนดการใช้งานความถี่สำหรับติดต่อสื่อสารในแต่ละประเภท

ข. ตารางกำหนดเวลาการใช้งานคลื่นความถี่

ค. ตารางแสดงความถี่ของการทำเน็ต

ง. ตารางแสดงช่องความถี่สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นควบคุมข่ายหรือสถานี Club station

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 20/100

ในช่วงความถี่ 144.3750 – 144.5000 MHz กำหนดใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทใด

ก. การติดต่อสื่อสารระบบกำหนดตำแหน่งสถานีวิทยุสมัครเล่นอัตโนมัติ (APRS)

ข. การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณวิทยุโทรพิมพ์ (RTTY), การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณข้อมูล (Packet Radio) และการติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณโทรทัศน์แบบสแกนช้า (SSTV)

ค. การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่องที่มีการมอดูเลต (MCW) และการใช้งานประเภทให้สัญญาณ (Beacon)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 21/100

เพราะเหตุใดการขออนุญาตตั้งสถานีวิทยุสมัครเล่นที่เชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่นต่อสำนักงาน กสทช. จึงกำหนดให้ยื่นเอกสารผ่านสมาคมวิทยุสมัครเล่นที่ทำหน้าที่บริหารสถานีวิทยุสมัครเล่นควบคุมข่ายในพื้นที่

ก. เพื่อให้สมาคมฯ มีอำนาจว่ากล่าวตักเตือน

ข. เพื่อช่วยให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคลื่นความถี่ กำลังส่ง และความสูงของสถานีวิทยุสมัครเล่นที่เชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่นนั้นให้เหมาะกับพื้นที่และจำนวนสถานีฯ ที่มีอยู่แล้ว

ค. เพื่อให้สถานีวิทยุสมัครเล่นที่เชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่นถูกบันทึกว่าเป็นผลงานของสมาคมฯ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 22/100

การบันทึกเสียงข้อความประชาสัมพันธ์ข่าวสารในกิจการวิทยุสมัครเล่นและเปิดออกอากาศแทนการอ่านซ้ำ ๆ กัน มีความผิดหรือไม่

ก. มีความผิดตามข้อ 2.6 ในภาคผนวก 7 การส่งเสียงรายการโฆษณา

ข. มีความผิดเพียงครึ่งเดียวเพราะเป็นการโฆษณาในกิจการวิทยุสมัครเล่น

ค. ไม่ถือเป็นการโฆษณาเพราะไม่มีค่าตอบแทน

ง. ไม่มีความผิดถ้าไม่มีดนตรีประกอบ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 23/100

เมื่อเกิดภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉิน พนักงานวิทยุสมัครเล่นจะต้องดำเนินการอย่างไรเป็นลำดับแรก

ก. ระงับการใช้คลื่นความถี่ที่กำลังใช้อยู่นั้นทันที

ข. ใช้งานตามปกติ จนกว่าจะได้ข่าวว่า สำนักงาน กสทช. ประกาศให้หยุดใช้

ค. เข้าไปช่วยประสานและรายงานต่อกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในความถี่กลาง

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 24/100

สัญญาณเรียกขานของพนักงานวิทยุสมัครเล่น มีลักษณะอย่างไร

ก. อักษรและ/หรือตัวเลขเพื่อระบุประเทศ (Prefix) 2 ตัว ตัวเลขเพื่อระบุเขต 1 ตัว ตามด้วยตัวอักษรหนึ่งถึงสามตัว

ข. อักษรและ/หรือตัวเลขเพื่อระบุประเทศ (Prefix) 2 ตัว ตัวเลขเพื่อระบุเขต 1 ตัว ตามด้วยตัวอักษรหนึ่งถึงสี่ตัว

ค. อักษรและ/หรือตัวเลขเพื่อระบุประเทศ Prefix 2 ตัว ตัวเลขเพื่อระบุเขต 1 ตัว และสามารถกำหนดตัวอักษรตามหลังกี่ตัวก็ได้ถ้าเป็นสถานีที่จัดตั้งขึ้นในโอกาสพิเศษ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 26/100

การสื่อสารทางวิทยุควรใช้ภาษาอย่างไร

ก. ใช้ภาษาที่สละสลวยลึกซึ้ง

ข. ใช้ภาษาอย่างกันเองสุด ๆ

ง. ใช้ภาษาธรรมดาที่สื่อความหมายชัดเจนเข้าใจง่าย

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 27/100

เราสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในความถี่วิทยุสมัครเล่นได้หรือไม่

ก. ใช้ได้บ้างตามสมควรกับกาลเทศะ

ข. ไม่ได้ ต้องใช้ภาษาไทยเพียงอย่างเดียวเท่านั้น

ค. ใช้ได้ในการคุยกับนักวิทยุสมัครเล่นชาวต่างประเทศ ห้ามใช้คุยกันเอง

ง. ใช้ได้เลยถ้าไม่กลัวถูกหมั่นไส้

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 28/100

ข้อใดต่อไปนี้แสดงว่าเป็นการถูกรบกวนด้วยสัญญาณแบบ QRM

ก. หน้าปัดเครื่องวิทยุคมนาคมในรถยนต์แสดงความแรงสัญญาณเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามการเหยียบคันเร่ง

ข. มีสัญญาณทะลุข้ามมาจากช่องข้างเคียง

ค. มีสัญญาณเงียบ หรือมีการดัดเสียงพูดเข้ามารบกวน

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 29/100

นางไข่หวาน : “QRU คะ?”
นางสาวไข่ดาว : “QRU ค่ะ 73”
จากบทสนทนาของนักวิทยุสมัครเล่นข้างต้น หมายความว่าอย่างไร

ก. นางไข่หวานให้นางสาวไข่ดาวพูดตามเพื่อหัดใช้รหัส Q

ข. นางสาวไข่ดาวล้อเลียนนางไข่หวาน

ค. นางไข่หวานถามว่านางสาวไข่ดาวมาจากรัสเซียหรือ นางสาวไข่ดาวตอบว่าใช่ค่ะ ฉันมาจากรัสเซีย

ง. นางไข่หวานถามว่าหมดข้อความหรือยัง นางสาวไข่ดาวตอบว่าหมดข้อความแล้ว สวัสดีค่ะ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 30/100

ถ้าเราไม่มีเครื่องมือทดสอบราคาแพง เราจะใช้วิธีอะไรที่ทำให้รู้ได้ว่าคุณภาพของสัญญาณจากสถานีของเราเป็นอย่างไร

ข. ขอยืมเครื่องมือจากเพื่อน

ค. อาศัยการรายงานจากเพื่อนนักวิทยุสมัครเล่นด้วยกัน

ง. ไม่จำเป็นต้องรู้คุณภาพสัญญาณ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 31/100

ในความถี่ 28 MHz ถ้าได้รับรายงานสัญญาณว่า 59 หมายความว่าสัญญาณที่รับได้นั้นแรงและชัดที่สุด แต่บางครั้งยังมีการต่อท้ายว่าบวก 60 dB (ดีบี) หมายความว่าอย่างไร

ก. เสียงที่รับได้นั้นชัดเจน 180 เท่า

ข. เสียงที่รับได้นั้นดังมากจนอีกนิดเดียวลำโพงจะแตก

ค. มิเตอร์วัดความแรงขึ้นเกินระดับ 9 กับอีก 60 ไมโครโวลต์

ง. มิเตอร์วัดความแรงขึ้นเกินระดับ 9 ไปจนเกือบเต็มสเกล

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 32/100

ข้อใดคือตัวอย่าง Phonetic Alphabet (การอ่านออกเสียงตัวอักษร) ที่นิยมใช้ในการท่องเที่ยวหรือการโรงแรม

ก. A-Able B-Baker C-Charlie D-Dog

ข. A-Alpha B-Bravo C-Charlie D-Delta

ค. A-Alpha K-Kilo T-Tango Z-Zulu

ง. A-Alpha G-Golf H-Hotel P-Papa

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 33/100

สัญญาณเรียกขาน I2NDT ออกเสียงตาม ITU Phonetic Alphabet อย่างไร

ข. อินเดีย-ทู-โนเวมเบอร์-เดลตา-แทงโก

ง. อินเดีย-ทู-น็อต-เดลตา-ทู

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 34/100

สัญญาณเรียกขาน JA3AER ออกเสียงตาม ITU Phonetic Alphabet อย่างไร

ก. เจแปน-อัลฟา-ทรี-อัลฟา-เอคโค-โรมิโอ

ข. เจแปน-อเมริกา-ทรี-อเมริกา-เอคโค-เรดิโอ

ค. จูเลียต-อัลฟา-ทรี-อัลฟา-เอคโค-โรมิโอ

ง. เจแปน-อเมริกา-ทรี-อเมริกา-เอคโค-โรมิโอ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 35/100

สัญญาณเรียกขาน 9M2RS ออกเสียงตาม ITU Phonetic Alphabet อย่างไร

ก. ไนน์-ไมค์-ทู-ราชิด-สุลตาน

ข. ไนน์-ไมค์-ทู-ราชิด-สุลตาน

ค. ไนน์-ไมค์-ทู-โรมิโอ-ชูการ์

ง. ไนน์-ไมค์-ทู-โรมิโอ-เซียรา

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 36/100

สัญญาณเรียกขาน OZØZA ออกเสียงตาม ITU Phonetic Alphabet อย่างไร

ก. ออสการ์-ซูลู-ซีโร-ซูลู-อัลฟา

ข. ออสการ์-ซีบรา-ซูลู-ซีบรา-อัลฟา

ค. ออสการ์-ซูลู-ออสการ์-ซูลู-อัลฟา

ง. ซีโร่-ซูลู-ซีโร่-ซูลู-อัลฟา

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 37/100

คำว่าสถานี DX ต่างจาก DXpedtion อย่างไร

ข. สถานี DX หมายถึงสถานีที่อยู่ห่างไกล และ DXpedtion หมายถึงการทำกิจกรรมโดยไปตั้งสถานีพิเศษในที่ห่างไกล

ค. สถานี DX เป็นสถานีในประเทศ และ DXpedtion เป็นสถานีต่างประเทศ

ง. สถานี DX เป็นสถานีในยาน VHF และ DXpedtion เป็นสถานีในย่าน HF

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 39/100

ข้อใด “ไม่ใช่” การปิดท้ายข้อความอย่างถูกต้อง ที่แสดงว่า HS2PBB ต้องการให้ HSØMAI เป็นฝ่ายพูด และขณะนั้นในความถี่มีผู้ร่วมสนทนาอีกหลายคน

ก. HSØMAI จาก HS2PBB, with the group

ข. HSØMAI with the group, HS2PBB

ค. HSØMAI - HS2PBB with the group

ง. HSØMAI - HS2PBB และทุกคนในความถี่ที่เป็น with the group กันทั้งนั้น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 40/100

การกล่าวลาระหว่างพนักงานวิทยุสมัครเล่นต่างเพศที่สนิทสนมกัน ในภาษาของนักวิทยุสมัครเล่นมักจะใช้คำว่าอะไร

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 41/100

เพราะอะไรเมื่อพบเหตุและได้ประสานงานขอความช่วยเหลือแล้ว จึงควรรออยู่ในที่เกิดเหตุจนกว่าเจ้าหน้าที่จะมาถึง

ก. เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่

ข. เพื่อให้เจ้าหน้าที่รู้ว่าใครเป็นผู้แจ้ง

ค. เพื่อเล่ารายละเอียดให้เจ้าหน้าที่ทราบ

ง. เพื่อช่วยเจ้าหน้าที่รับหน้านักข่าว

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 42/100

เพราะเหตุใดพนักงานวิทยุสมัครเล่นจึงสามารถเป็นจิตอาสาที่ดีของประเทศชาติในด้านการสื่อสาร

ก. จากการที่พนักงานวิทยุสมัครเล่นได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการสื่อสารทางวิทยุด้วยตนเอง

ข. จากการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และเครือข่ายของนักสื่อสารสมัครเล่น

ค. มีความรู้และเครื่องมือสื่อสารที่สามารถช่วยเหลือสังคมและสร้างข่ายสื่อสารสำรองของชาติ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 43/100

ถ้าพบผู้บาดเจ็บต้องการความช่วยเหลือ อะไรบ้างที่เราควรสังเกตก่อนแจ้งขอความช่วยเหลือ

ก. สภาพและสาเหตุของการบาดเจ็บ

ค. ความช่วยเหลือที่ต้องการ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 44/100

เราสามารถใช้สมุดบันทึกการติดต่อสื่อสาร (Logbook) เพื่อพัฒนาสถานีวิทยุสื่อสารของเราได้อย่างไร

ก. เปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของสัญญาณที่รับได้จากสถานีที่ติดต่อเป็นประจำ และบันทึกความรู้ต่าง ๆ ที่มีการแลกเปลี่ยนกัน

ข. ส่งให้สำนักงาน กสทช. ตรวจเก็บคะแนนเพื่อเลื่อนขั้น

ค. ติดตั้งไว้ประดับสถานีเพื่อแสดงความเก๋า

ง. ส่งไปแลกเปลี่ยนกับสถานีอื่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 45/100

ข้อใดไม่จำเป็นในการทำ QSL Card

ข. แสดงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของประเทศ

ค. มีพื้นที่เขียนข้อความส่วนตัว

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 48/100

แบตเตอรี่ชนิดเดียวกันต่ออนุกรมกันจะได้

ก. แรงดันเพิ่ม ความจุเพิ่ม

ข. แรงดันเท่าเดิม ความจุเพิ่ม

ค. แรงดันเท่าเดิม ความจุเท่าเดิม

ง. แรงดันเพิ่ม ความจุเท่าเดิม

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 49/100

เมื่อนำตัวต้านทานค่า 50 กิโลโอห์ม (kΩ) และ 1 เมกะโอห์ม (MΩ) มาต่ออนุกรมกัน ค่าความต้านทานรวมเท่ากับกี่เมกะโอห์ม (MΩ)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 50/100

เมื่อนำหลอดไฟดวงหนึ่งมาต่อกับแรงดันไฟฟ้าขนาด 110 โวลต์ (V) ดีซี (DC) แล้วทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล 0.1 แอมแปร์ (A) แสดงว่าหลอดไฟฟ้าใช้กำลังไฟฟ้าเท่ากับ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 51/100

ก. สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี

ข. สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ยากมาก

ค. สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในบางเวลา

ง. สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ปานกลาง

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 52/100

สูตรที่ใช้ในการหาค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้ารวมของตัวเหนี่ยวนำ (Inductor) ที่ต่อกันอย่างขนาน คือ

ง.

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 53/100

ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance : Z) คือ

ก. ผลรวมความต้านทานทั้งหมดของวงจร (R, XL และ XC)

ข. ผลรวมค่ารีแอกแตนซ์ (Reactance : XL และ XC)

ค. ผลรวมค่าตัวเก็บประจุ (C) และตัวเหนี่ยวนำ (L)

ง. ผลรวมเฉพาะค่าความต้านทาน (R)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 54/100

จากรูปข้างล่างนี้ ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance : Z) เป็นเท่าไร เมื่อ S อยู่ในตำแหน่ง 1

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 55/100

อุปกรณ์ที่ใช้กำเนิดความถี่โดยเกิดการสั่นด้วยความถี่เฉพาะค่าหนึ่งเมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าคือ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 56/100

เครื่องรับวิทยุแบบซูเปอร์เฮเทอโรดายน์ (Superheterodyne) ต่างจากเครื่องรับวิทยุแบบ TRF เพราะว่า

ก. ไม่ต้องมีภาคอาร์เอฟแอมปลิไฟเออร์ (RF Amplifier)

ข. ไม่ต้องมีภาคดีเทคเตอร์ (Detector)

ค. เปลี่ยนสัญญาณความถี่วิทยุที่รับเข้ามาให้เป็นสัญญาณความถี่เสียงโดยตรง

ง. เปลี่ยนสัญญาณความถี่วิทยุที่รับเข้ามาให้มีความถี่ต่ำลงเป็นความถี่กลาง (IF)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 57/100

วงจรสำคัญในเครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงดีซีเพาเวอร์ซัพพลาย (DC Power Supply) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมให้แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกมาให้แรงดันคงที่ตลอดเวลา คือ

ก. เรกติไฟเออร์ (Rectifier)

ง. โวลเตจ เรกูเลเตอร์ (Voltage Regulator)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 58/100

การวัดอัตราการผสมคลื่นเสียงกับคลื่นวิทยุระบบเอเอ็มหรือแอมพลิจูดมอดูเลชั่น (Modulation) แสดงเป็น

ค. เปอร์เซ็นต์ของการผสมคลื่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 59/100

สเควลช์คอนโทรล (Squelch Control) ทำหน้าที่

ก. เร่งลดความดังของสัญญาณที่ได้รับ

ข. ปรับให้เสียงซ่า (Noise) หายไปขณะที่ไม่มีสัญญาณเข้ามา

ง. ปรับความถี่รับให้ตรงกับสัญญาณที่ต้องการ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 61/100

เวอร์ติคัลโพลาไรเซชัน (Vertical Polarization) หมายถึง

ก. สนามไฟฟ้าตั้งฉากกับพื้นโลก

ข. สนามแม่เหล็กขนานกับสนามไฟฟ้า

ค. สนามไฟฟ้าขนานกับพื้นโลก

ง. สนามแม่เหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 62/100

สายอากาศแบบใดที่ไม่ใช่สายอากาศแบบบังคับทิศทาง

ก. สายอากาศแบบ Log-Periodic (ล็อก-พิริออดิก)

ข. สายอากาศแบบ Yagi (ยากิ)

ค. สายอากาศแบบ Telescopic (เทเลสโคปิก)

ง. สายอากาศแบบ Half Wave Dipole (ฮาล์ฟเวฟไดโพล) ที่มีการจัด Polarization (โพลาไรเซชัน) เป็นแบบ Horizontal (ฮอริซอนทอล)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 63/100

สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าข้างล่างนี้เป็นสายอากาศแบบใด

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

ก. Half Wave Dipole (ฮาล์ฟเวฟไดโพล)

ข. Half Wave Folded Dipole (ฮาล์ฟเวฟโฟลเด็ดไดโพล)

ง. Log Periodic (ล็อกพิริออดิก)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 64/100

รูปข้างล่างนี้เป็นสายอากาศแบบใด

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

ข. ล็อก-พิริออดิก (Log-Periodic)

ค. ควอเตอร์เวฟกราวด์เพลน (Quarter Wave Ground Plane)

ง. ฮาล์ฟเวฟไดโพล (Half Wave Dipole)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 66/100

กรณีฟิวส์ขาด ภายหลังจากตรวจสอบแก้ไขปัญหาแล้ว การเปลี่ยนฟิวส์ใหม่มีหลักการอย่างไร

ก. ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้าเท่ากับของเดิม

ข. ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าของเดิม

ค. ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้าได้น้อยกว่าของเดิม

ง. ใส่ลวดทองแดงเส้นใหญ่แทนของเดิม

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 67/100

การที่สายจ่ายกำลังไฟฟ้าที่ต่อกับแบตเตอรี่ร้อนจัดผิดปกติในขณะใช้งาน โดยทั่วไปเกิดจาก

ก. สายจ่ายกำลังไฟฟ้าต่ออย่างไม่เรียบร้อย เช่น หลวม

ข. การเกิดสนิมที่รอยต่อระหว่างสายจ่ายกำลังไฟฟ้ากับขั้วแบตเตอรี่

ค. สายจ่ายกำลังไฟฟ้าที่มีขนาดเล็กเกินไป

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 68/100

เครื่องมือที่ใช้วัดความต้านทาน มีชื่อเรียกว่า

ข. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)

ค. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter)

ง. วียู มิเตอร์ (VU Meter)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 69/100

เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบไดโอด (Diode) คือ

ก. โอห์มมิเตอร์ (Ohmmeter)

ค. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter)

ง. วียู มิเตอร์ (VU Meter)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 70/100

เอาตัวต้านทานค่า 27 กิโลโอห์ม (kΩ) ¼ วัตต์ (W) เข้าแทนที่ตัวต้านทานค่า 27 กิโลโอห์ม (kΩ) 2 วัตต์ (W) จะเป็นอย่างไร

ก. วงจรนั้นทำงานได้เป็นปกติ

ค. วงจรนั้นทำงานได้ชั่วครู่และตัวต้านทานจะไหม้

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 71/100

รูปข้างล่างนี้หมายถึง

การสื่อสารแบบกึ่งสองทิศทาง เช่น

ก. เอซี โวลต์มิเตอร์ (AC Voltmeter), ดีซี โวลต์มิเตอร์ (DC Voltmeter)

ข. ดีซี โวลต์มิเตอร์ (DC Voltmeter), เอซี แอมมิเตอร์ (AC Ammeter)

ค. เอซี แอมมิเตอร์ (AC Ammeter), ดีซี แอมมิเตอร์ (DC Ammeter)

ง. ดีซี แอมมิเตอร์ (DC Ammeter), ดีซี โวลต์มิเตอร์ (DC Voltmeter)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 72/100

แอมมิเตอร์ (Ammeter) คืออะไร

ก. เครื่องมือที่ใช้วัดแรงดันไฟฟ้า

ข. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า

ค. เครื่องมือที่ใช้กำลังไฟฟ้า

ง. เครื่องมือที่ใช้วัดไดโอด (Diode)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 73/100

เมื่อต้องการวัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์ตัวหนึ่งในวงจรไฟฟ้าจะต้องใช้เครื่องมือวัดชนิดใดและวิธีการวัดอย่างไร

ก. ใช้โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ต่อขนานกับอุปกรณ์

ข. ใช้โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) ต่ออนุกรมกับอุปกรณ์

ค. ใช้แอมมิเตอร์ (Ammeter) ต่อขนานกับอุปกรณ์

ง. ใช้แอมมิเตอร์ (Ammeter) ต่ออนุกรมกับอุปกรณ์

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 74/100

ในขณะที่เครื่องรับ-ส่งวิทยุสแตนด์บาย (Standby) อ่านค่าแอมมิเตอร์ (Ammeter) ได้ 100 มิลลิแอมป์ (mA) เป็นการบอกค่าอะไร

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 75/100

วงจรเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) คือ

ข. อินเวอร์เตอร์ (Invertor)

ค. เรกติไฟเออร์ (Rectifier)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 76/100

เครื่องวัดที่จำเป็นสำหรับการสร้าง ซ่อม ปรับแต่งวงจรของเครื่องรับ-ส่งวิทยุได้แก่

ก. อาร์เอฟเพาเวอร์ มิเตอร์ (RF Power Meter)

ข. เครื่องนับความถี่ (Frequency Counter)

ค. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 77/100

การใช้มัลติมิเตอร์ (Multimeter) วัดแรงดันไฟฟ้าในจุดที่ไม่ทราบค่าต้องปรับซีเล็กเตอร์สวิตซ์ (Selector Switch) ของโวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) อย่างไร

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 78/100

เมื่อใช้มัลติมิเตอร์ (Multimeter) วัดแรงดันกระแสไฟฟ้าสลับได้ 28 โวลต์ ค่าที่อ่านได้เป็นค่า

ก. ค่ายอดถึงยอด (Peak to Peak)

ข. ค่าเฉลี่ยกำลังสอง (Root Mean Square)

ค. กําลังเอนเวโลปค่ายอด (Peak to Peak Envelope Power)

ง. กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย (Average Power)

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 79/100

โคแอกเชียลสวิตช์ (Coaxial Switch) ทำหน้าที่อะไร

ก. ปิด-เปิดเครื่องรับ-ส่งวิทยุ

ค. เลือกว่าจะให้เครื่องรับ-ส่งวิทยุต่อกับสายอากาศต้นใด

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 80/100

เครื่องรับ-ส่งวิทยุแบบมือถือเมื่อต่อกับสายอากาศภายนอกที่มีอัตราขยาย (Gain) สูงและติดตั้งในที่สูง จะเกิดผลอย่างไร

ข. อาจถูกคลื่นความถี่อื่นรบกวน

ค. อาจส่งคลื่นความถี่ไปรบกวนข่ายสื่อสารอื่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 81/100

เหตุใดการใช้งานสายอากาศย่านความถี่ VHF จึงควรติดตั้งให้อยู่ในตำแหน่งสูงที่สุดเท่าที่จะทำได้

ก. เพื่อให้แพร่กระจายคลื่นได้ไกลที่สุด

ข. เพื่อให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ค. เพื่อไม่ให้สายอากาศแพร่กระจายคลื่นฮาร์มอนิก (Harmonic) ออกมา

ง. เพื่อให้ครบวงจรทางไฟฟ้าในเครื่องรับ-ส่งวิทยุ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 82/100

แอตโมสเฟียริก นอยส์ (Atmospheric Noise) คือ

ก. สัญญาณรบกวนที่มนุษย์ทำขึ้น

ข. สัญญาณรบกวนที่เกิดจากธรรมชาติ

ค. สัญญาณรบกวนที่เกิดจากหัวเทียนรถยนต์

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 83/100

การแพร่แปลกปลอม (Spurious Emission) คืออะไร

ก. คลื่นรบกวนที่ไม่พึงประสงค์

ข. คลื่นที่ทำให้กำลังส่งเพิ่มขึ้น

ค. คลื่นที่ต้องการให้ออกอากาศ

ง. คลื่นที่ทำให้แรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 84/100

การใช้กำลังส่งสูงอาจส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง

ก. มีสัญญาณแผ่กระจายไปรบกวนคลื่นความถี่ข้างเคียง

ข. เกิดการรบกวนกับสถานีวิทยุคมนาคมที่ร่วมใช้คลื่นความถี่

ค. มีคลื่นความถี่แปลกปลอมแผ่กระจายออกไปด้วยกำลังแรง

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 85/100

การใช้เครื่องรับ-ส่งวิทยุโดยทั่วไปเราจะปรับอัตราขยายของไมโครโฟนที่ระดับกลาง ๆ เพื่ออะไร

ก. ป้องกันไม่ให้ลำโพงเครื่องรับ-ส่งวิทยุของผู้รับเกิดอาการเสียงแตก

ข. ป้องกันไม่ให้ภาคส่งของเครื่องรับ-ส่งวิทยุเสียหาย

ค. ป้องกันไม่ให้เครื่องรับ-ส่งวิทยุเกิดอาการ Over Modulation และส่งคลื่นความถี่อื่น ๆ ออกไปโดยไม่ตั้งใจ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 87/100

ข้อใดเป็นการกระทำที่บ่งชี้ความมีคุณธรรมสูงสุด

ค. ทำอย่างมีเป้าหมายชัดเจน

ง. ทำด้วยความพากเพียรเรียนรู้

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 89/100

พนักงานวิทยุสมัครเล่นที่ยึดหลักธรรมะที่ว่า “ปิยวาจา” หมายถึงบุคคลใด

ก. บุคคลที่พูดจาสุภาพ อ่อนหวาน และเหมาะสมกับกาลเทศะ

ข. บุคคลที่ชอบแบ่งปัน เสียสละและเผื่อแผ่ผู้อื่น

ค. บุคคลที่ชอบอิสระ มีนิสัยโอบอ้อมอารี

ง. บุคคลที่กระทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 91/100

ข้อใดคือจรรยาบรรณของพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ก. ละเว้นการเล่นวิทยุที่ก่อให้เกิดความรำคาญใจแก่ผู้อื่น

ข. มีความพร้อมที่จะใช้ความรู้ ความสามารถ เพื่อรับใช้ชุมชนและประเทศชาติ

ค. ละเว้นการเล่นวิทยุจนมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของครอบครัว การงาน และชุมชน

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 92/100

ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณของพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ก. มีความพร้อมที่จะใช้ความรู้ ความสามารถ เพื่อรับใช้ชุมชนและประเทศชาติ

ข. จงใจเล่นวิทยุเพื่อก่อให้เกิดความรำคาญใจแก่ผู้อื่น

ค. ละเว้นการเล่นวิทยุจนมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของครอบครัว การงาน และชุมชน

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 93/100

ข้อใดไม่ใช่คุณธรรมและจริยธรรมของพนักงานวิทยุสมัครเล่น

ก. ไม่เก็บรักษาข้อมูลความลับที่ไม่ควรเปิดเผย

ข. รู้รักสามัคคีและเป็นมิตรกับพนักงานวิทยุสมัครเล่นทุกคน

ค. มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานวิทยุสมัครเล่น

ง. ปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 94/100

จากคุณสมบัติที่ดีของนักวิทยุสมัครเล่นตามคำกล่าวของนายพอล เอ็ม ซีกัล (Pual M. Segal) นักวิทยุสมัครเล่นชาวอเมริกัน สัญญาณเรียกขาน W9EEA พฤติกรรมในข้อใดแสดงถึงความเป็นผู้ที่มีความจริงใจในการส่งเสริมและช่วยเหลือเพื่อนนักวิทยุสมัครเล่น

ก. นายกวิน เข้าไปสอนและช่วยแก้ปัญหาระบบสายอากาศของสถานีนายชนาธิป

ข. นายธีรศิลป์ ช่วยสร้างสายอากาศให้นายชนาธิปโดยคิดราคาทุน

ค. นายสารัช พานายชนาธิปไปอบรมอาชีพการขายตรง

ง. นายชนาธิปจ่ายเงินค่าสายอากาศให้นายธีรศิลป์เกินที่เรียกเก็บเพื่อให้เพื่อนมีกำไร

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 95/100

จากคุณสมบัติที่ดีของนักวิทยุสมัครเล่นตามคำกล่าวของนายพอล เอ็ม ซีกัล (Pual M. Segal) นักวิทยุสมัครเล่นชาวอเมริกัน สัญญาณเรียกขาน W9EEA พฤติกรรมในข้อใดแสดงถึงความผู้มีความรักชาติ พร้อมเสมอที่จะใช้ความรู้ความสามารถและใช้สถานีวิทยุสมัครเล่นเพื่อรับใช้สังคมและประเทศชาติ

ก. นายชนาธิป รวมข้อมูลที่ตั้งของสถานีวิทยุสมัครเล่นที่อยู่ในรัศมีการติดต่อของตนและแจ้งสถานีควบคุมข่ายทุกปี เพื่อเป็นข้อมูลในกรณีที่ต้องการการประสานงานในเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ

ข. นายธีรศิลป์ จะปิดสถานีและเก็บอุปกรณ์สำคัญของสถานีไว้ในที่ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรือ ภัยพิบัติ

ค. นายสารัช กล่าวว่าสถานีควบคุมข่ายควรเชิญตนเป็นที่ปรึกษาเพราะตนมีความรู้และเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสื่อสารอย่างเป็นเลิศ

ง. นายกวิน เป็นอาสาสมัครปลูกป่าอย่างทุ่มเท

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 96/100

ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง

ก. ลำเจียก ใช้สัญญาณเรียกขานของตนเองออกอากาศในช่วงที่ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นหมดอายุ

ข. คำปอง แนะนำบุญส่งไม่ให้ดัดแปลงเครื่องวิทยุคมนาคมกิจการวิทยุสมัครเล่นเพื่อนำไปใช้ความถี่ของมูลนิธิสาธารณกุศลต่าง ๆ

ค. คำแก้ว ใช้คำพูดที่อ่อนหวานออกอากาศเสมอจนทำให้มีเพื่อนสมาชิกอยากพูดคุยด้วยอยู่เป็นประจำ

ง. ทศพล รับ-ส่งข่าวสารไปยังบุคคลที่สามในกรณีที่เกิดเหตุภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉินเท่านั้น

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 97/100

ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง

ก. นายกวิน แนะนำและเชิญชวนเพื่อนสมาชิกใช้ความถี่วิทยุให้ถูกต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับอยู่เป็นประจำ

ข. นายธีรศิลป์ ไม่ใช้ความถี่วิทยุในช่วงที่ใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นหมดอายุ

ค. นายปกเกล้า ใช้ความถี่วิทยุ 145.800 MHz เพื่อประสานงานร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภัยพิบัติ

ง. นายสารัช มีความประสงค์จะตั้งสถานีวิทยุสมัครเล่นที่บ้านพัก จึงได้ดำเนินการยื่นคำขอรับใบอนุญาตตั้งสถานีวิทยุคมนาคมที่กำลังส่งไม่เกิน 60 วัตต์

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 98/100

ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการกระทำที่ถูกต้อง

ก. นายเป้ ใช้ถ้อยคำหยาบคายหรือเป็นการดูหมิ่นในการติดต่อสื่อสารอยู่เป็นประจำ

ข. นายปังปอนด์ แนะนำให้นายปิ่นไปซื้อเครื่องวิทยุคมนาคมโดยไม่ต้องขอรับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม

ค. นางสาวมิ้นต์ ใฝ่หาความรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและทำหน้าที่พนักงานวิทยุสมัครเล่นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ง. นางสาวไฉไล เป็นนักวิทยุสมัครเล่นได้ดัดแปลงเครื่องวิทยุคมนาคมกิจการวิทยุสมัครเล่นเพื่อให้สามารถใช้ความถี่ของมูลนิธิสาธารณกุศลต่าง ๆ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 99/100

ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการกระทำที่ถูกต้อง

ก. นายกวิน ทดลองทดสอบการติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME) โดยใช้ความถี่วิทยุ 144.900 MHz และ 145.000 MHz เป็นประจำ

ข. นายธีรศิลป์ ทดลองทดสอบการติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME) โดยใช้ความถี่วิทยุ 144.000 – 144.100 MHz เป็นประจำ

ค. นายสารัช ทดลองทดสอบการติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME) โดยใช้ความถี่วิทยุ 145.800 - 146.000 MHz เป็นประจำ

ง. นายชนาธิป ทดลองทดสอบการติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME) โดยใช้ความถี่วิทยุ 144.150 – 144.375 MHz เป็นประจำ

คำถามก่อนหน้า คำถามต่อไป

คำถามที่ 100/100

ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการกระทำที่ถูกต้องสำหรับการติดต่อสื่อสารผ่านสถานีทวนสัญญาณ (Repeater)

ก. หากติดต่อสื่อสารในขณะที่กำลังมีผู้ใช้งานอยู่ ให้รอจนกว่าผู้ที่ใช้งานอยู่นั้น ทิ้งจังหวะการติดต่อเสียก่อน แล้วค่อยแจ้งสัญญาณเรียกขานของเราเข้าไป

ข. ควรละเว้นการติดต่อสื่อสารโดยใช้สถานีวิทยุคมนาคมชนิดประจำที่

ค. ไม่ครอบครองคลื่นความถี่ของสถานีทวนสัญญาณเป็นของตนเองหรือเฉพาะกลุ่มคน ให้ระลึกเสมอว่ายังมีนักวิทยุสมัครเล่นอื่นที่ต้องการใช้งาน

ข้อใดเป็นรูปแบบส่งสัญญาณการสื่อสารกึ่งสองทาง

1.2 แบบสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex) เป็นการติดต่อสื่อสารแบบกึ่งคู่มีลักษณะในการส่งข้อมูลได้สองทิศทางแบบสลับ แต่ละสถานีสามารถทำหน้าที่ได้ทั้งรับและส่งข้อมูลแต่จะผลัดกันส่งผละผลัดกันรับ จะส่งหรือรับข้อมูลในเวลาเดียวกันไม่ได้ เช่น วิทยุสื่อสารของตำรวจวิทยุสื่อสารของระบบขนส่ง การรับส่งโทรสาร (Fax) เป็นต้น

วิทยุสื่อสาร เป็นทิศทางการสื่อสารแบบใด

เป็นการสื่อสารแบบสองทาง แต่ส่งได้ทีละทาง โดยแต่ละสถานีทำหน้าที่ได้ทั้งรับและส่งข้อมูล เมื่ออุปกรณ์ใดทำหน้าที่เป็นผู้ส่ง อุปกรณ์ตัวอื่นจะทำหน้าเป็นผู้รับ ไม่สามารถส่งข้อมูลสวนทางกันได้ ตัวอย่างของการส่งสัญญาณแบบนี้เช่น วิทยุสื่อสารของหน่วยงานราชการ หรือตำรวจซึ่งต้องผลัดกันพูด เมื่อฝ่ายหนึ่งเป็นผู้พูดต้องกดปุ่มแล้วจึงพูด ...

การสื่อสารกี่ทิศทาง

1. การส่งข้อมูลทิศทางเดียว และสองทิศทางสลับกัน 2. การส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน 3. การเลือกทิศทางการส่งข้อมูลได้เหมาะสมตามความต้องการ ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE ) การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้ 2.1 การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )

ประเภทของการสื่อสารตามทิศทางการสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ได้แก่

1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง โดย ไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์ 2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะ