การพูดมีความสําคัญต่ออาชีพอย่างไร

การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี นักสื่อสารจะสร้างความสัมพันธ์ก่อนการสื่อสารโดยการเข้าใจความต้องการของผู้ฟัง พูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ อยู่ในโลกของผู้ฟัง มีความรักให้กับผู้ฟัง อยากช่วยเหลือผู้ฟัง มากกว่าความต้องการของผู้สื่อสารเพียงอย่างเดียว ทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ดี และความเข้าใจในเจตนาของผู้สื่อสาร ว่าต้องการสื่อสารเพื่อจุดประสงค์ใด ถ้าผู้สื่อสารเปิดใจก่อน ก็จะได้รับการเปิดใจจากผู้ฟังเช่นเดียวกัน

การพูดให้จูงใจผู้ฟัง นักสื่อสารที่ดีจะเริ่มต้นการพูดน่าสนใจ มีพลังในการสื่อสารกระตุ้นให้ผู้ฟังเกิดความกระตือรือร้นที่จะรับฟัง โดยการทำให้ผู้ฟังมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ชัดเจน เห็นคุณค่าและประโยชน์จะเกิดขึ้นเมื่อนำไปปฏิบัติ เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับผู้ฟังมากกว่าเรื่องของผู้สื่อสาร หากเป็นเรื่องของผู้สื่อสารก็เป็นเพียงประสบการณ์ที่อยากให้ผู้ฟังได้นำไปคิด และประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ฟังอีกทีหนึ่ง

การรับฟังความต้องการของผู้ฟัง นักสื่อสารบางคนพยายามที่จะสื่อสารความต้องการของตัวเอง จนลืมทำหน้าที่รับฟัง ทำให้ผู้ฟังปิดรับการสื่อสารด้วยเช่นกัน เพราะผู้ฟังก็อยากให้ผู้สื่อสารเข้าใจความต้องการของเขาด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นนักสื่อสารที่ดีจะสนใจความต้องการของผู้ฟัง และสื่อสารข้อความหรือข้อมูลที่ตรงกับความต้องการ การสื่อสารก็จะเกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย ทำให้ข้อมูลไม่ตกหล่น เนื่องจากเป็นสิ่งที่ผู้ฟังต้องการจะรับฟังอยู่แล้ว

การเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ การสื่อสารที่ดีถ้าเราเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งผู้ฟังอยากได้รับความสนใจ อยากได้รับการยอมรับ และชอบคำชมมากกว่าคำตำหนิ หากนักสื่อสารเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติของผู้ฟัง และปฏิบัติตัว ดังที่มนุษย์ทุกคนต้องการ ก็จะทำให้นักสื่อสาร สามารถต่อเชื่อมกับผู้ฟังได้ง่าย และตรงตามที่ผู้ฟังต้องการ จะทำให้ข้อความหรือข้อมูล และวิธีการที่ใช้ในการสื่อสาร เหมาะสมกับผู้ฟังมากยิ่งขึ้น แต่หากนักสื่อสาร หลีกเลี่ยง หรือไม่สนใจธรรมชาติของมนุษย์ สนใจในสิ่งที่ต้องการสื่อสารเพียงอย่างเดียว ย่อมทำให้ไม่ได้รับการตอบสนอง จากผู้ฟังเต็มประสิทธิภาพ

การมองผู้ฟังด้วยทัศนคติเชิงบวก การสื่อสารให้กับผู้อื่น ย่อมไม่ราบรื่นทุกครั้งไป เนื่องจากความคิดเห็นของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน ภาษาที่ใช้อาจถูกตีความไปอีกแบบหนึ่งได้ ดังนั้นนักสื่อสารต้องมองผู้ฟังด้วยทัศนคติเชิงบวก ไม่ตีความด้านลบ และไม่จินตนาการไปเองว่าผู้ฟังรู้สึกอย่างไร เพราะมิเช่นนั้นนักสื่อสารก็จะใช้น้ำเสียง สีหน้า กริยา และคำพูดที่เป็นเชิงลบได้ ซึ่งจะทำให้เกิดการต่อต้านจากผู้ฟังด้วยเช่นกัน คนมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเป็นเพราะ
     ความเชื่อไม่เหมือนกัน
     ค่านิยมที่ยึดถือแตกต่างกัน
     ประสบการณ์ในอดีตไม่เหมือนกัน
     กฎ-มาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้วยกัน

ดังนั้นหากต้องการให้การสื่อสารสมบูรณ์และเกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย นักสื่อสารควรระวังแนวความคิดที่แตกต่างกันตรงนี้ไว้ด้วย

การพัฒนาการสื่อสารของตัวเองไม่ยาก เพราะเรามีโอกาสที่จะสื่อสารกับบุคคลทั่วๆ ไปอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นหากฝึกฝนและปรับปรุงให้ดีขึ้นไปเรื่อยๆย่อมทำให้เรากลายเป็นนักสื่อสารที่ดีในอนาคตแน่นอน

สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายและความ สําคัญของการพดู 2. ความมุ่งหมายและ องค์ประกอบของการพดู 3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี

1. ความหมายและความสําคัญของการพดู 1.1 ความหมายของการพดู “การพูด” ก า ร พู ด ก็ คื อ พ ฤ ติ กร ร ม ใน ก า ร ส่ื อ ความหมายของมนุษย์โดยใช้เสียงที่เป็นภาษา ทําให้ผู้ฟังเข้าใจได้ อาจใช้อากัปกิริยาท่าทาง ประกอบ เพ่ือถ่ายทอดความรู้ ความคิดเห็น และ ค ว า ม รู ้สึ ก จ า ก บุ ค ค ล ห น่ึ ง ไป ยั ง อี ก บุ ค ค ล ห นึ่ ง หรอื จากผูพ้ ดู ไปยังผฟู้ ัง

1. ความหมายและความสําคัญของการพดู 1.2 ความสาํ คัญของการพูด การพดู มีความสําคัญดังนี้ การพดู ชว่ ยให้การดําเนินชีวิตประจําวันดําเนินไปได้ การพดู เป็นเครอ่ื งมอื ในการติดต่อสื่อสาร การพูดทําให้ประสบความสําเรจ็ ในอาชีพการงาน เชน่ ด้านการค้า ด้านศาสนา ด้านการเมือง การพูดช่วยให้เกิดความเข้าใจกันได้ง่าย

2. ความมงุ่ หมายและองค์ประกอบของการพูด 2.1 ความมุ่งหมายของการพูด ในการพูดทุกคร้ัง ผู้พูดควรตั้งความมุ่งหมายไว้ให้ ชัดเจนว่าพูดเรื่องอะไร โดยคํานึงถึงความสนใจ ความเช่ือ ทศั นคติ และความสามารถในการรบั รูข้ องผู้ฟงั ด้วย การพูดท่ีมีความมุ่งหมายชัดเจน จะช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจ เรอ่ื งราวได้ตรงกับความต้องการของผ้พู ูด การพดู เพือ่ ใหค้ วามรู้ การพูดเพอื่ ความบันเทงิ การพูดเพอ่ื จูงใจ หรอื โน้มน้าวจิตใจ

2. ความมงุ่ หมายและองค์ประกอบของการพูด 2.2 องค์ประกอบของการพดู การพูดเปน็ วธิ กี ารติดต่อสอ่ื สารของมนุษย์ ดังนั้น องค์ประกอบ ของการพูดก็คือ องค์ประกอบของการสอ่ื สารนั่นเอง คือ ผู้พูด ผู้ฟัง เรอ่ื งทพ่ี ูดหรอื เนื้อเรอ่ื งท่ีพดู ส่ือหรอื ช่องทางในการติดต่อสอื่ สาร ตําราบางเล่มอาจรวมปฏิกิริยาจากผู้ฟังเป็นองค์ประกอบ ของการพูดด้วย เช่น ถ้าเรอื่ งที่พูดเป็นเรอื่ งที่ผู้ฟังยอมรบั ผู้ฟังก็ อาจปรบมอื หรอื พยกั หน้ารบั ฟัง

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.1 การพูดสาธติ หมายถึง การพูดอธิบายการปฏิบัติสิ่งใดส่ิงหน่ึง มีการใช้ อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือประกอบ โดยผู้พูดมีจุดประสงค์ให้ผู้ฟังมี ความเขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิและอาจปฏิบตั ิตามได้ด้วย 3.1.1 การเตรยี มตัวก่อนพูดสาธติ 1. กําหนดจดุ มุง่ หมายของการสาธติ 2. จัดลําดับเน้ือหาให้ต่อเนื่อง 3. จัดทาํ เอกสารแสดงข้ันตอนการปฏิบัติ 4. เตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ทแ่ี สดงประกอบในแต่ละขนั้ ตอน 5. ประสานงานกับฝา่ ยจัดสถานท่ี 6. ตรวจสอบและทดลองใชอ้ ุปกรณ์ก่อนการสาธติ 7. ทดลองพดู สาธติ และประเมนิ ผลว่าควรปรบั ปรุงตรงจดุ ใด

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.1.2 การดําเนินการสาธติ 1. จัดเตรยี มอุปกรณ์ไว้ให้เปน็ ระเบียบตามลําดับ 2. อธบิ ายจดุ มงุ่ หมายของการสาธติ และบอกให้ผู้ชมทราบ ว่าควรปฏิบัติตามอย่างไรระหว่างการสาธติ 3. อุปกรณ์ทใ่ี ชป้ ระกอบการสาธติ ควรแสดงเมอ่ื ถึงขั้นตอนของการปฏิบตั ิ 3.1.3 องค์ประกอบทจ่ี ะช่วยให้การพูดสาธติ สัมฤทธผิ ล 1. ผู้สาธติ จะต้องเป็นผู้ทมี่ คี วามรูใ้ นเรอ่ื งทจี่ ะสาธติ เป็นอย่างดี 2. ผ้สู าธติ จะต้องมีบุคลิกภาพดี แต่งกายเรยี บรอ้ ยและ เหมาะสมกับเรอื่ งทจ่ี ะสาธติ 3. ใชถ้ ้อยคําให้เหมาะสมกับเรอ่ื งทจ่ี ะพูด ควรใชภ้ าษาทง่ี ่ายแก่การเข้าใจ

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.1.4 ข้อควรคํานึงในการพดู สาธติ 1. อุปกรณ์ทจ่ี ะนํามาประกอบการพดู ต้องสามารถชว่ ยให้ผู้ฟังเข้าใจได้ดียง่ิ ข้ึน 2. ไม่ควรก้มหน้าก้มตาพูดกับอุปกรณ์ตลอดเวลา ควรมองหน้าผฟู้ ังบา้ ง 3. การเปดิ โอกาสให้ผ้ฟู ังลองใชอ้ ุปกรณ์ 3.1.5 หลักการพูดสาธติ วิธกี ารทาํ ส่ิงของ 1. ปฏิสนั ถารกับผู้ฟัง 2. บอกเรอื่ งทจ่ี ะสาธติ และบอกจดุ มุ่งหมาย 3. บอกส่งิ ทตี่ ้องใชแ้ ละปรมิ าณ 4. พดู เรยี งลําดับข้ันตอนก่อนหลังใหถ้ กู ต้อง 5. พูดอธบิ ายไปโดยคิดว่าผฟู้ ังไม่มคี วามรูใ้ นเรอื่ งนั้น ๆ 6. ใช้ภาษาพูดงา่ ย ๆ 7. ใช้ภาษาทกี่ ระชับรดั กุม 8. ใช้ตัวเลขแผนภมู ิ กราฟ ตาราง ประกอบการอธบิ ายให้ชดั เจน 9. สรุปเรอ่ื งด้วยการบอกประโยชน์ทผี่ ฟู้ ังจะได้รบั ไปใช้ให้มากทสี่ ุด

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.1.6 หลักการพูดสาธติ ระบบการทาํ งาน 1. ปฏิสนั ถารกับผฟู้ งั สรา้ งบรรยากาศทเ่ี ปน็ กันเอง 2. บอกเรอื่ งทีจ่ ะสาธิตและจุดมงุ่ หมายให้ผฟู้ ังทราบ 3. อธิบายระบบการทาํ งานตามลําดับขน้ั 4. ตอบคําถามให้ชัดเจน แจ่มแจ้ง ละเอียดลึกซงึ้ 5. เลือกใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกับผฟู้ ัง

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.2 การพูดเพื่อขายสินค้าหรอื บรกิ าร การพูดเพื่อการขายสินค้าหรอื บรกิ ารเป็นหัวใจสําคัญของธุรกิจ จะเห็นได้ว่าอัตราการแข่งขันเพื่อช่วงชิงตลาดทางการค้า นับวันจะมี สูงข้ึนเรอื่ ย ๆ หน่วยงานหรือหน่วยธุรกิจแต่ละแห่งจึงพยายามหาวิธี เสนอขายสินค้าหรอื บรกิ ารให้ได้มากทีส่ ุดวิธีหน่ึง ท่ีทําให้ลูกค้าสนใจใน สินค้าหรอื บรกิ าร คือ การพูดเพอื่ ดึงดดู ใจลกู ค้า หลักในการพดู ขายสินค้าหรอื บรกิ าร 1. พดู ให้ลูกค้าเห็นประโยชน์ทจี่ ะได้รบั 2. ศึกษาหาข้อมลู ของลูกค้า 3. ควรหาจังหวะเวลาในการพูดทเี่ หมาะสม 4. พดู เสนอเน้ือหาอย่างกระชับชัดเจน 5.ผู้พูดต้องคํานึงอยูเ่ สมอวา่ ในขณะน้ันผฟู้ งั หรอื ลกู ค้าสําคัญทสี่ ุด

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.3 การสมั ภาษณ์ 3.3.1 ความสําคัญของการสัมภาษณ์ 1. ในกรณีทเ่ี ป็นการสัมภาษณ์เพอ่ื คัดเลือกบุคคลเข้าทาํ งาน 2. ในกรณีทเี่ ป็นการสัมภาษณ์ผู้มีชื่อเสยี งในอาชพี ต่าง ๆ หรอื เป็นนักการเมอื ง 3. ทางการตลาดใช้การสมั ภาษณ์เปน็ วิธวี ิจัยหรอื หาข้อมลู ทางการตลาด 3.3.2 ประเภทของการสัมภาษณ์ 1. การสมั ภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ เป็นการสมั ภาษณ์แบบไมม่ หี ลักเกณฑ์ หรอื แบบแผน มักใช้สําหรบั การซักถามความคิดเห็นทวั่ ๆ ไปของประชาชน 2. การสัมภาษณ์แบบเปน็ ทางการ เป็นการสัมภาษณ์ทมี่ หี ลักเกณฑ์ มแี บบแผน ต้องมีการเตรยี มความพรอ้ ม ไม่วา่ จะเป็นเรอ่ื งการต้ังคําถาม การนัดหมายเวลา

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.3 การสัมภาษณ์ 3.3.3 วิธกี ารสัมภาษณ์ 1. การสมั ภาษณ์แบบตัวต่อตัว 2. การสมั ภาษณ์โดยใชแ้ บบสอบถาม 3. การสมั ภาษณ์โดยการใชโ้ ทรศัพท์ 3.3.4 การเตรยี มการสัมภาษณ์ 1. ควรนัดหมายใหผ้ ู้สมั ภาษณ์ทราบวนั เวลา หัวขอ้ เรอ่ื งและคําถามทใ่ี ช้ ในการสมั ภาษณ์ ก่อนทจ่ี ะมีการสัมภาษณ์ 2. ศึกษาความรูพ้ ื้นฐานเกี่ยวกับเรอื่ งทจ่ี ะสัมภาษณ์ 3. คําถามที่นํามาใช้สัมภาษณ์ 4. เตรยี มอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการสัมภาษณ์

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.3 การสัมภาษณ์ 3.3.5 ลักษณะของคําถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ยุพดี ทรงทอง (2546 : 203) ได้กล่าวไว้วา่ บุคคลท่ีเป็นผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ ควรเป็นบุคคลทส่ี ําคัญและน่าสนใจ ดังนี้ 1. ผเู้ ป็นตัวอย่างทด่ี ีในสังคม เชน่ ข้าราชการดีเด่น เกษตรกรดีเด่น ฯลฯ 2. ผ้มู คี วามสาํ คัญในบ้านเมือง เช่น นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรกี ระทรวง 3. ผ้ทู สี่ งั คมกําลังสนใจ เชน่ นักกีฬายอดเย่ียม ดาราภาพยนตร์ นางสาวไทย ฯลฯ 4. ผู้ประสบความสําเรจ็ ในการงานและอาชีพ เช่น นักเรยี นทไ่ี ด้รบั ทนุ เล่าเรยี นหลวง 5. ผู้ประสบภัยรา้ ยแรงต่าง ๆ 6. ผูเ้ ปน็ แขกเมอื ง 7. ผู้มีความรูแ้ ละประสบการณ์ตามหัวขอ้ เรอ่ื งทผ่ี สู้ ัมภาษณ์ต้องการ

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.3 การสมั ภาษณ์ 3.3.6 คุณสมบตั ิของผู้สมั ภาษณ์ 1. มีมนุษยสมั พนั ธด์ ี 2. มคี วามรูด้ ี 3. ศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกับเรอื่ งทจ่ี ะสัมภาษณ์ 4. มีมารยาททงั้ ในการพูด ฟัง และการถาม 5. มบี ุคลิกภาพดี 6. มีความสามารถในการใช้คําพูด 7. สามารถสรา้ งบรรยากาศให้เป็นกันเอง 3.3.7 ลักษณะของคําถามทใี่ ชใ้ นการสัมภาษณ์ 1. คําถามเปิด 2. คําถามปิด 3. คําถามหยั่ง 4. คําถามนํา

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.3 การสมั ภาษณ์ 3.3.8 คุณสมบัติของผสู้ ัมภาษณ์ 1. กล่าวปฏิสนั ถารผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ 2. ให้เกียรติและแสดงความสนใจผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 3. ไม่ควรถามนอกเรอ่ื ง 4. ควรให้เวลาผใู้ ห้สมั ภาษณ์ตอบ 5.ควรให้เกียรติผอู้ าวโุ สก่อน 6. จดบนั ทกึ เฉพาะประเด็นท่ีสาํ คัญ 7. ควรกล่าวขอบคณุ ผใู้ ห้สัมภาษณ์ 3.3.9 การเขียนบทบนั ทกึ จากการสัมภาษณ์ 1. บันทกึ เรอ่ื งทส่ี ัมภาษณ์ 2. รายละเอียดเก่ียวกับปัญหา คําถาม คําตอบ 3. บันทกึ ขอ้ คิดเห็น หรอื บทสรุปของผูส้ มั ภาษณ์ 4. เรยี บเรยี งเปน็ บทบนั ทกึ จากการสัมภาษณ์ตามแบบฟอรม์

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.3 การสัมภาษณ์ 3.3.10 การเตรยี มตัวของผู้ให้สัมภาษณ์เพือ่ สอบเข้าทาํ งาน 1. หาความรูเ้ กี่ยวกับองค์กร หน่วยงาน บรษิ ัททก่ี ําลังสมัครเขา้ ทาํ งาน 2. เตรยี มพรอ้ มทง้ั จิตใจและรา่ งกาย 3. ลองต้ังคําถามและฝกึ หาคําตอบทจ่ี ะสง่ ผลให้เกิดผลดีกับตัวเอง 4. เตรยี มเอกสารทจ่ี ําเป็นต้องนําติดตัวไปในวันสมั ภาษณ์ 5. เมอื่ ถกู เรยี กเข้าไปสมั ภาษณ์ ควรยกมอื ไหว้ กล่าวคําสวสั ดี 6. ตอบคําถามทกุ ข้ออย่างชดั เจน ชดั ถ้อยชัดคํา 7. กิรยิ ามารยาทต้องให้ดูสภุ าพเรยี บรอ้ ย 8. ไมค่ วรพดู ซ้าเติม หรอื ให้เห็นความไม่ดีของหน่วยงานเดิม 9. ถ้าผูส้ มั ภาษณ์ให้โอกาสซกั ถามเรอ่ื งงานหรอื ช่วงเวลาในการทาํ งาน ก็ควรซักถามอยา่ งสนใจ

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.4 การพดู เพอ่ื ประชาสมั พันธ์ ก า ร พู ด เพื่ อ ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ เป็ น ก า ร แจ้ ง ค ว า ม เ ค ลื่ อ น ไห ว ข อ ง หน่วยงานให้บุคคลทว่ั ไปได้ทราบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน อาจ พูดประชาสมั พนั ธโ์ ดยตรง ทางโทรศัพท์ หรอื พดู ผา่ นสอ่ื มวลชน หลักในการพดู เพอ่ื การประชาสัมพันธ์ 1. พูดในสง่ิ ทถี่ กู ต้องและเปน็ ความจรงิ 2. ควรพดู เรอ่ื งสําคัญเพียงเรอ่ื งเดียวเพอ่ื ปอ้ งกันความสบั สนของผ้ฟู ัง 3. พูดด้วยภาษาทเ่ี ขา้ ใจง่าย กระชับ และชัดเจน 4. พูดด้วยถ้อยคําทไี่ พเราะ สภุ าพ นุ่มนวล และแสดงความสนิทสนมเปน็ กันเอง 5. ควรมีเอกสารประกอบเพ่ือให้ผฟู้ ังเข้าใจงา่ ยขนึ้

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.5 การพูดแนะนําตนเองและวทิ ยากร 3.5.1 ขนั้ ตอนการพูดแนะนําตนเองในงานสังคม 1. กล่าวชอื่ นามสกุล ให้ชัดเจน ด้วยน้าเสียงสุภาพ 2. บอกสถานทท่ี าํ งานให้ค่สู นทนาได้รูจ้ ักเพิม่ ขนึ้ อีกเล็กน้อย 3. อาจบอกตําแหน่งด้วยก็ได้ แต่ควรใช้ความระมัดระวงั 4. บอกความสนใจเพอื่ เพิม่ ประเด็นการสนทนาให้มากข้ึน 3.5.2 ขน้ั ตอนการพูดแนะนําตนเองในการทํากิจธุระ 1. กล่าวชอ่ื นามสกลุ ให้ชัดเจน ด้วยน้าเสียงสุภาพ 2. บอกกิจธุระทมี่ าติดต่อ เพื่อให้ผทู้ เ่ี รามาติดต่อด้วยเข้าใจ จะได้ดําเนินการ ติดต่อสอื่ สารจนบรรลุวตั ถปุ ระสงค์

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.5 การพูดแนะนําตนเองและวิทยากร 3.5.3 การพูดแนะนําตนเองในช้นั เรยี น 1. กล่าวแสดงความเคารพอาจารย์ และทกั ทายเพือ่ นรว่ มชัน้ เรยี น 2. บอกชอ่ื นามสกลุ ภมู ิลําเนา 3. ประวตั ิการศกึ ษา 4. อุปนิสยั 5. บอกความสามารถพเิ ศษ ความสนใจ 6. อาหารทชี่ อบ สที ชี่ อบ 7. ความใฝ่ฝันในอนาคต 3.5.4 การพูดแนะนําวิทยากร 1. แนะนําชือ่ นามสกลุ 2. ตําแหน่ง หน่วยงาน งานในหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบ 3. ความถนัด ความสามารถพเิ ศษ ประสบการณ์ 4. ผลงานทสี่ รา้ งช่อื เสยี ง

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชพี 3.6 การสนทนาทางโทรศัพท์ มารยาทในการสนทนาทางโทรศัพท์ 1. กล่าวคําวา่ สวัสดีค่ะ สวัสดีครบั ตามด้วยช่อื และนามสกลุ 2. พดู ด้วยน้าเสียงทส่ี ภุ าพ อ่อนโยน เป็นธรรมชาติ 3. ฟงั คู่สนทนาพดู ให้จบเสยี ก่อน ไมค่ วรพดู แทรกข้นึ มา 4. ถ้าต่อโทรศพั ทผ์ ดิ ควรกล่าวคําขอโทษผู้รบั ด้วย 5. เมื่อจบการพดู ควรกล่าวคําว่า สวสั ดี และวางหูอยา่ งน่ิมนวล

3. การพูดประเภทต่าง ๆ ในงานอาชีพ 3.7 การนําเสนอขอ้ มลู หรอื บรรยายสรุป การพดู เพอ่ื นําเสนอข้อมลู หรอื บรรยายสรุปมหี ลักการพูดดังนี้ 1. พดู ให้เห็นความเปน็ มาของเรอ่ื งทก่ี ําลังจะพดู 2. เรอ่ื งทพี่ ดู เปน็ ผลงานเรอ่ื งอะไร ของใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน เม่ือไร และอยา่ งไร 3. ความสาํ คัญของผลงานนั้น ประโยชน์ทผี่ ู้ฟงั จะได้รบั 4. เรยี บเรยี งบทพูดด้วยภาษาของตนเอง 5. พดู ให้ตรงประเด็น ไมอ่ อกนอกเรอื่ ง 6. ใช้น้าเสยี งและลีลาทสี่ ุภาพน่าฟงั 7. พูดเพอื่ นําเสนอขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องหรอื บรรยายสรุปภายในเวลาทก่ี ําหนด 8. ควรมีสื่อประกอบการพูด เช่น รูปภาพหรอื ตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์

สรุปท้ายบท การพูดจะประสบความสําเรจ็ ได้ ผู้พูด จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม ท้ั ง ใ น เ รื่ อ ง บุคลิกภาพ การใช้ภาษา และเน้ือหาท่ีจะใช้ พูด ควรมีการวิเคราะห์ผู้ฟังก่อนพูดทุกครง้ั การเลือกใช้วิธีการพูด ก็มีส่วนสําคัญท่ีจะทํา ให้ประสบความสําเรจ็ ในการพดู ได้

การพูดมีความสําคัญในงานอาชีพอย่างไรบ้าง

การพูดเป็นการสื่อสารที่สำคัญประการหนึ่งในงานอาชีพ ที่ต้องให้ความสำคัญต่อการพูด เพราะเป็นสื่อสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการชี้แจงและทำความเข้าใจได้สะดวกและรวดเร็ว หากมีศิลปะในการพูดย่อมทำให้เจริญก้าวหน้า และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ

ความสำคัญของการพูดในงานอาชีพ มี 3 ประการ อะไรบ้าง

๑) ต้องมีประสบการณ์ด้านการพูดมาเป็นอย่างดี ๒) ต้องมีความรอบรู้ระเบียบวิธีการพูดในที่ชุมนุมชน ๓) ต้องเป็นผู้ยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น

การสร้างภาพลักษณ์มีความสำคัญอย่างไรกับการพูดในงานอาชีพ

๑. สร้างภาพลักษณ์ เป็นการพูดเพื่อให้ผู้ฟังเกิดความสนใจและเห็นคุณสมบัติที่ดี ของสินค้าหรือหน่วยงานของผู้พูด เป็นการสร้างความเชื่อถือศรัทธาให้ผู้ฟังเกิดทัศนคติ และค่านิยมที่ดีซึ่งจะส่งผลให้ประสบความสาเร็จ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีย่อมทาให้เกิด ความประทับใจ ทาให้สนใจหน่วยงานนั้นๆ ได้

การพูดมีความสำคัญอย่างไร

การพูดเป็นการสื่อสารของมนุษย์ที่มีความส าคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ และการประกอบ อาชีพเป็นอันมาก เพราะมนุษย์จะต้องใช้การพูดเพื่อการสื่อสารให้บุคคลที่เกี่ยวข้องเข้าใจกันก่อน ถ้าสื่อสารกันได้ดี การกระท ากิจการงานต่าง ๆ จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้การสื่อสาร กันด้วยค าพูด สามารถถึงผู้รับได้รวดเร็ว แสดงออกถึงจุด ...