กองทุนเงินทดแทน จ่ายอย่างไร

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

อย่างไรก็ตาม กองทุนเงินทดแทนเป็นส่วนที่นายจ้างจ่ายเงินสมทบและให้ความคุ้มครองเฉพาะจากการทำงานเท่านั้น แต่ก็ไม่ใช่ว่านายจ้างทุกกิจการจะต้องจ่ายเงินสมทบให้กองทุนเงินทดแทน เพราะบางกิจการก็ได้รับการยกเว้น เช่น

  • ราชการส่วนกลาง, ราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นเฉพาะข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ
  • รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
  • รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ สำหรับลูกจ้างซึ่งมิใช่เป็นการจ้างงานในประเทศ
  • ลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

ต่างจากกองทุนประกันสังคมอย่างไร

โดยทั่วไปแล้วลูกจ้างส่วนใหญ่จะรู้จักกองทุนประกันสังคมมากกว่า เพราะเป็นกองทุนที่ผู้ประกันตนในมาตรา 33 นายจ้าง และรัฐบาลเป็นคนจ่ายเงินสมทบ โดยกองทุนประกันสังคมจะให้ความคุ้มครองผู้ประกันตนใน 7 กรณี ที่ไม่ได้มาจากการทำงาน ได้แก่

  • เจ็บป่วย
  • คลอดบุตร
  • ทุพพลภาพ
  • เสียชีวิต
  • สงเคราะห์บุตร
  • ชราภาพ
  • ว่างงาน

ตัวอย่างเช่น พนักงานบริษัทเกิดอุบัติเหตุจักรยานล้มจนขาหัก ก็สามารถใช้บัตรประชาชนยื่นขอใช้สิทธิประสังคมในการเข้ารักษากับโรงพยาบาลที่เลือกไว้ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขของประกันสังคม

ดังนั้น ความแตกต่างระหว่างกองทุนเงินทดแทน กับ กองทุนประกันสังคม มีอยู่ 2 ส่วนหลัก คือ ผู้ที่จ่ายเงินสมทบ กับสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองนั่นเอง

กองทุนเงินทดแทน เป็นกองทุนที่นายจ้างเป็นผู้จ่ายเงินสมทบเป็นรายปีให้กับสำนักงานประกันสังคม ซึ่งนายจ้างแต่ละบริษัทจะจ่ายเงินสมทบไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของธุรกิจ ซึ่งกองทุนเงินทดแทนจะใช้ในกรณีที่ลูกจ้างเจ็บป่วย ประสบอุบัติเหตุ ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต จากการทำงานให้นายจ้างเท่านั้น!

เข้าใจง่าย ๆ คือ กองทุนเงินทดแทนเป็นส่วนที่นายจ้างจ่ายเงินสมทบและให้ความคุ้มครองลูกจ้างเฉพาะจากการทำงานเท่านั้น

"การยื่นขอเงินทดแทน" เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทำได้อย่างไร

"ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน" ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ประกันตนทุพพลภาพ

ประกันสังคม ชวนลูกจ้างรู้จัก "คลินิกโรคจากการทำงาน "

กองทุนเงินทดแทน จ่ายอย่างไร

แต่ก็ไม่ใช่ว่านายจ้างทุกกิจการจะต้องจ่ายเงินสมทบให้กองทุนเงินทดแทนมีกิจการที่ได้รับการยกเว้น ดังนี้ 

• ราชการส่วนกลาง, ราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นเฉพาะข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ

• รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์

• รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ สำหรับลูกจ้างซึ่งมิใช่เป็นการจ้างงานในประเทศ

• ลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

ส่วนกองทุนประกันสังคม ทุกคนจะรู้จักและคุ้นเคยกับกองทุนประกันสังคมมากกว่า เพราะเป็นกองทุนที่ลูกจ้าง นายจ้าง และรัฐบาลเป็นผู้จ่ายเงินสมทบ โดยกองทุนประกันสังคมจะให้ความคุ้มครองผู้ประกันตนใน  7 กรณี อันไม่เนื่องจากการทำงาน

• เจ็บป่วย

• คลอดบุตร

• ทุพพลภาพ

• เสียชีวิต

• สงเคราะห์บุตร

• ชราภาพ

• ว่างงาน

สรุปแล้วความแตกต่างระหว่างกองทุนเงินทดแทน กับ กองทุนประกันสังคม จะอยู่ที่สาเหตุของการเกิดสิทธิซึ่งกองทุนเงินทดแทนจะดูแลลูกจ้างที่เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง ส่วนกองทุนประกันสังคมจะดูแลผู้ประกันตนที่เจ็บป่วยที่ไม่เกี่ยวกับการทำงาน

ในการจัดเก็บเงินสมทบ : กองทุนประกันสังคมจัดเก็บเงินสมทบจาก 3 ฝ่ายคือ รัฐบาล นายจ้าง และลูกจ้าง ส่วนกองทุนเงินทดแทนจะจัดเก็บเงินสมทบจากนายจ้างเพียงฝ่ายเดียว 

สำหรับการเข้ารับการรักษา : กองทุนประกันสังคมเมื่อเจ็บป่วยต้องเข้ารับการรักษาจากสถานพยาบาลที่ได้เลือกไว้ใช้สิทธิ์ โดยไม่มีการกำหนดค่ารักษาพยาบาลไว้  ส่วนกองทุนเงินทดแทนสามารถรักษาจากสถานพยาบาลใดก็ได้ แต่ต้องสำรองจ่ายไปก่อนหากไม่ได้เป็นโรงพยาบาลที่กองทุนเงินทดแทนทำความตกลงไว้ และมีการกำหนดเพดานค่ารักษาพยาบาลไว้

ทราบถึงความแตกต่างระหว่าง กองทุนเงินทดแทน กับ กองทุนประกันสังคม กันแล้ว ดังนั้น เลือกใช้ความคุ้มครองให้ถูกประเภทเพื่อสิทธิประโยชน์สูงสุดของลูกจ้าง และผู้ประกันตน หากมีข้อสงสัยสามารถตรวจสอบ หรือติดตามข่าวสารสำนักงานประกันสังคมผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ได้ที่

กองทุนทดแทน จ่ายยังไง

กองทุนเงินทดแทน เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นทุนในการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หรือถึงแก่ความตาย หรือสูญหายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง โดยนายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเพียงฝ่ายเดียว กิจการที่ได้รับการยกเว้น ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น

กองทุนเงินทดแทน จ่ายตอนไหน

กองทุนเงินทดแทน จะเรียกเก็บเงินสมทบจากนายจ้าง เป็นรายปี (ปีละ 1 ครั้ง) โดยในปีแรกนายจ้างจะต้องจ่าย เงินสมทบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คน สำหรับ ปีต่อๆ ไป จ่ายภายในเดือนมกราคมของทุกปี เงินสมทบที่เรียก เก็บต้นปี คำนวณมาจากจำนวนเงินค่าจ้างที่ประมาณการ ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจไม่เท่ากับค่าจ้างจริงที่จะเกิดขึ้น ...

ใครเป็นผู้มีหน้าที่ จ่ายเงินกองทุนทดแทน

นายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทนเพียงฝ่ายเดียว เพียงปีละ ๑ ครั้ง มีลักษณะเหมือนเบี้ยประกัน และเมื่อลูกจ้างทำงานให้แก่นายจ้างเล้วเกิดประสบอันตราย ลูกจ้างก็จะมีสิทธิได้รับเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน ซึ่งประกอบด้วยค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนรายเดือน ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน และค่าทำศพ

จ่ายกองทุนเงินทดแทนได้ที่ไหนบ้าง

1. ชำระผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร (ไม่เสียค่าธรรมเนียม) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 2. ไปรษณีย์ ชำระด้วยธนาณัติ พร้อมยื่นสำเนาใบแจ้งการประเมินเงินสมทบกองทุนเงินทดแทนประจำปี (กท.26ก).
www.sso.go.th..
เข้าระบบ e-Service..
เลือกกองทุนเงินทดแทน.