วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา

โอกาสเสี่ยงตกงานสูงไหม เงินเดือนจะมากรึเปล่า ลองพิจารณากันดู (สำหรับการเรียนในคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถวม.ชื่อดังภาคเหนือ)

1.ไม่มีใบประกอบโรคศิลป์ ไม่สามารถทำงานเป็นเทคนิคการแพทย์ พยาบาลได้ เจาะเลือดไม่ได้ ผ่าตัดไม่ได้ รักษาคนไม่ได้ วิจัยได้อย่างเดียว

2. ไม่สามารถทำงานเป็นนักสาธารสุขแบบมีใบประกอบวิชาชีพได้ รุ่งสุดเห็นจะเป็นนักจุลชีววิทยา แต่ปี 2015 นักจุลชีววิทยาก็หางานได้ยากเช่นกัน

3.มีเพียงไปสอบขอใบประกอบการเป็นผู้เพาะเลี้ยงจุลินทรีย์และใช้จุลินทรีย์ที่ก่อโรคได้ เท่านั้น ของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ส่วนใหญ่ต้องทำงานเป็นนักจุลชีววิทยา)

4.โอกาสโตในสายงานเพื่อเป็นใหญ่ขององค์กรยาก ส่วนมากเป็นเจ้าหน้าที่ห้องแลบ เงินเดือนไม่สูง ถ้าเทียบกับสายงานข้างต้น

5.ตำแหน่งงานมักอยู่ล่างสุดของผังองค์องค์กร และยิ่งไปกว่านั้นบางที่รับเจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ แต่กลับกลายเป็นว่ารับเฉพาะบุคคลในกลุ่มสหเวชศาสตร์เท่านั้น

6.ลองสอบถามข้อมูลจากคณะ หรือค่ายเพาะกล้า Med-Sci จะตอบว่าทำงานกรมวิทย์ หรือเซล หรือเรียนต่อเป็นนักวิจัย บอกเลยว่าตอนนี้คนกรมวิทย์ยังปะท้วงกันอยู่เลยในตำแหน่งนักวิทย์ว่าเงินเดือนน้อยประมาณ ไม่เกินหมื่นก็มี และอาชีพเงินเยอะคือเซลขายเครื่องมือ บอกเลยว่าสาขากลุ่มวิทยาศาตร์ชีวภาพทั้งหมดก็สามารถขายได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้นให้ถามว่าจุดยืนของคณะนี้ และหลักสูตร อยู่ตรงไหนกันแน่??

7.บุคคลที่ประสบความสำเร็จจริงๆอันเนื่องมาจากหลักสูตร ต้องลองถามคณะดูว่าทำงานตรงสายมีกี่ %  อย่ารวมเซลเพราะไม่ใช้จุดประสงค์แท้จริงหรือ อาชีพอื่นที่ไม่ได้ใช้องค์ความรู้จากหลักสูตร หรือเป็นนักวิจัยจริงๆมีเท่าใด โอกาสโตในสายงานต้องลองถามวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่นๆ ถึงโตได้ก็อาจเป็นเบื้องหลังให้แก่สาขาวิชาชีพอื่น

ความเห็นส่วนตัว : หลักสูตรยังไม่ค่อยมั่นคงหรือเปล่า??  เพราะมีการปรับปรุงบ่อยดูจากประวัติ และใช้การโฆษณาเป็นหลักในการเชิญชวน โดยเฉพาะชื่อเสียงของนักวิทยาศาตร์ที่มีชื่อเสียง หรืออาจารย์ แต่ทั้งนี้อยากให้ดูว่า ข้อมูลอาจารย์แต่ละคนจบอะไรมา จบที่ไหน เป็นต้น

คิดดีๆว่าหลักสูตรนี้ ตลาดแรงงานต้องการมากน้อยเพียงใด เพราะถ้าพลาด หรือรู้ว่าไม่ใช่สำหรับตัวเองอาจทำให้เสียเวลา ซิ่ว หรือไปเรียนป.ตรีใหม่ หรือเสี่ยงที่ทำงานไม่ตรงสาย เป็นได้

ทั้งนี้อยากให้ทุกคนที่อ่านใช้สติ ประเมินจากความเป็นจริง และหาจุดยืนที่แท้จริงของหลักสูตร ซึ่งเมื่อไม่กี่ปีก่อน คณะนี้มีหลักสูตร 5 ปี สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คู่ขนานนิติศสาตร์บัณฑิต และวิทยาศาสต์การแพทย์ คู่ขนานบริหารธุรกิจ จะได้เป็นแบบหมอพรทิพย์จริงๆๆหรือ ??
โดยถ้าใครเลือกสายบริหาธุรกิจ ก็ต้องทิ้งองค์ความรู้วิทย์แพทย์ ใครเลือกสายนิติกร ก็ต้องทิ้งองค์ความรู้สายวิทย์แพทย์ มันเป็นหลักสูตรเผื่อเลือกมากไปอะ และถ้าเหมือนรุ่นพี่หลายคนที่จบมาและต้องไปเรียนป.ตรีเพิ่มใหม่ ...อีกกี่ปีจะจบ  สุดท้ายต้องปิดหลักสูตร ..เหตุผล???

      ต่อมาตอนนี้เปิดให้เรียนถึงขั้นจบโทได้เลยเฉพาะสาขา  ...คำถามคือตลาดแรงงานต้องการขนาดนั้นจริงหรือ??  หางานง่ายเพราะองค์ความรู้กว้างไปหมด (ไม่เถียง) จริงหรือ ...ให้ตั้งคำถามรอไว้เลยสำหรับคนที่จะเข้าเรียน หรือเรียนไปแล้ว จะอยู่ตรงไหนในสังคม จะทำอาชีพอะไรได้กันแน่ องค์กรไหนบ้างที่จะรับ เซิสหาในเว็บสมัครงานง่ายรึเปล่า

       สุดท้าย สำหรับคนที่กำลังเรียนอยู่ หรือศิษย์เก่า ขอให้ไตร่ตรองให้ดีก่อนโต้แย้งนะ คิดให้ดีก่อน และรักตัวเองให้มากๆ ลองมองหาคำตอบเกี่ยวกับสายงานที่จบไปว่ามันชัดเจนแค่ไหน ซึ่งสำหรับผู้ที่กำลังเรียนอยู่ ก็ขอให้ฝึกทักษะสำหรับสร้างอาชีพไว้เยอะๆ เพราะถ้าวันนึง ที่คุณต้องจบจากคณะนี้ไป หลักสูตรของคณะนี้ก็จะเป็นใบเบิกทางอาชีพให้คุณส่วนนึง ซึ่งวันนึงคุณอาจจะรู้ว่า สิ่งที่ I พิมพ์จะถูกต้อง หรือผิด หรือไม่

หวังว่าเนื้อหาในประโยคพิมพ์นี้คงให้แง่คิดแก่บุคคล หลายๆคนได้
(ชีวิตของคนหลายคน อาจถูกกำหนดโชคชะตาโดยหลักสูตรที่เรียนจาก ป.ตรี แล้วถ้าไม่ใช่ ใครล่ะ จะรับผิดชอบ ถ้าไม่ใช่ตัวผู้เลือกเรียนเอง)

หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ระดับปริญญาตรี)

ชื่อหลักสูตร  ชื่อย่อ  ภาคปกติ  ภาคพิเศษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา  วท.บ.(จุลชีววิทยา)  
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา
วิทยาาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์  วท.บ.(วิทยาศาสตร์การแพทย์)  
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยากายวิภาค  วท.บ.(พยาธิวิทยากายวิภาค)  
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล  วท.บ.(ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล)  
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา

การจัดการเรียนการสอนแบบปริญญาตรีต่อเนื่องปริญญาโท

ชื่อหลักสูตร  ชื่อย่อ  ภาคปกติ  ภาคพิเศษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต่อเนื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ หรือสาขาจุลชีววิทยา หรือสาขาวิชาชีวเคมี หรือสาขาวิชาปรสิตวิทยา หรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์ หรือ จุลชีววิทยา หรือ ชีวเคมี หรือปรสิตวิทยา หรือวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ สรีรวิทยา)
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ต่อเนื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมี วท.ม.(ชีวเคมี)
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  
ลำดับ  หลักสูตร/สาขาวิชา  ค่าใช้จ่าย
ตลอดหลักสูตร
ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 5
ภาคต้น ภาคปลาย ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย
1 จุลชีววิทยา  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
2 วิทยาศาสตร์การแพทย์  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
3 พยาธิวิทยากายวิภาคศาสตร์  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
4 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (ตรีต่อเนื่องโท)  210,000 20,000 20,000 20,000 20,000 10,000 20,000 20,000 10,000 20,000 14,000 7,000 14,500 14,500
5 วิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตรีต่อเนื่องโท)  210,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 10,000 20,000 20,000 20,000 20,000
*** หมายเหตุ ***
1. หลักสูตรลำดับที่ 4 และ 5 : กรณีนิสิตไม่สามารถเรียนระดับปริญญาโทได้สำเร็จ หรือประสงค์จะยุติแผนการเรียนปริญญาโท และขอสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเท่านั้น
2. กรณีหลักสูตรลำดับที่ 4 และ 5 นิสิตเรียนครบตามแผนการเรียน (5ปี) ให้เก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาเป็นไปตามที่กำหนดไว้ (ค่าธรรมเนียมตลอดหลักสูตร 210,000.-บาท)
3. นิสิตแผนการเรียนตรีต่อเนื่องโท เมื่อศึกษาครบตามแผนการเรียน จะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในภาคเรียนต้น ชั้นปีที่ 4 และจะเข้าสู่แผนการเรียนระดับปริญญาโท ในภาคต้น

23,440 total views, 27 views today

วิทยาศาสตร์การแพทย์ มี กี่ สาขา อะไร บ้าง

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ประกอบด้วยภาควิชาทั้งหมด 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากายวิภาค-ศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา และภาควิชาชีวเคมี ซึ่งโอนย้ายมาจาก คณะแพทยศาสตร์ เป็นการรวมภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนในระดับ Pre- Clinic ทาง

วิทยาศาสตร์การแพทย์ทำอาชีพอะไร

แนวทางการประกอบอาชีพ 1. นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และผู้ช่วยวิจัยทางการแพทย์ ประจำสถาบันการศึกษา โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน บริษัท ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัยต่างๆ 2. เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, จุลชีววิทยา, อณูวิทยา และนิติวิทยาศาสตร์ 3. เจ้าหน้าที่ประจำงานตรวจสอบคุณภาพ (Q.C.)

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

_____________________________________________________________________________________________________ ถาม : คณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์เรียนกี่ปี ตอบ : ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปี

วิทยาศาสตร์การแพทย์ มีม.อะไรบ้าง

🔬 คณะสหเวชศาสตร์ / เทคนิคการแพทย์.
จุฬา ฯ – สหเวชศาสตร์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
ม.ธรรมศาสตร์ – สหเวชศาสตร์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
ม.มหิดล – เทคนิคการแพทย์ – เทคนิคการแพทย์ ... .
ม.ศรีนครินทรวิโรฒ – สหเวชศาสตร์ – กายภาพบำบัด ... .
ม.เชียงใหม่ ... .
ม.บูรพา ... .
คณะสหเวชศาสตร์ ม.นเรศวร.
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.