ค่า ไฟ ปกติ หน่วย ละ กี่ บาท

ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย

ลักษณะการใช้  สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว


1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า ราคาต่อหน่วย
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) 2.3488 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) 2.9882 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) 3.2405 บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) 3.6237 บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) 3.7171 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 4.4217 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 8.19
1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า บาท/หน่วย
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) 3.2482 บาท
250 หน่วยต่อไป ( หน่วยที่ 151 – 400 ) 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 4.4217 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 38.22
1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff )
อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On Peak Off Peak
1.3.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ 5.1135 2.6037 312.24
1.3.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 5.7982 2.6369 38.22

หมายเหตุ On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ใน อัตราข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือนในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือนติดต่อกัน 3เดือนในเดือนถัดไป จะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.1 ตามเดิม
2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.2 ตลอด ไป
3. ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้อัตราข้อ 1.3 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อนหรือชำระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติและหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนสามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราเดิมได้
4. สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้
5. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
6. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 (ประเภทที่ 1 อัตราข้อ 1.1) ซึ่งติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 (15) แอมแปร์ และใช้ไฟฟ้า ไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับค่าไฟฟ้าฟรีทั้งหมดในเดือนนั้น

ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า

1. อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าฐาน และ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) โดยมี การเรียกเก็บ Ft ทุกเดือน แยกเป็นรายการ ในใบเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า ทั้งนี้ Ft ที่เรียกเก็บ จะปรับเปลี่ยน ทุกๆ 4 เดือน โดยกำหนดให้ Ft เป็นอัตราคงที่ต่อหน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า

อัตราค่าไฟฟ้าใหม่นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ค่าไฟฟ้า ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 เป็นต้นไป

ข้อมูลนี้เป็นอัตราค่าไฟฟ้าอัปเดตล่าสุด สำหรับบ้านเรือนที่อยู่อาศัยหรือบริเวณที่เกี่ยวข้องโดยต่อผ่านเครื่องวัดไฟฟ้าเครื่องเดียว

ค่าไฟจะถูกเก็บโดยการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ส่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟผ.) จะมีหน้าที่จำหน่ายไฟฟ้า ซึ่งอัตราค่าไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับประเภทของการใช้งานด้วย ข้อมูลด้านล่าง เป็นอัตราสำหรับบ้านเรือนที่อยู่อาศัย

อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

  • 15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 2.3488 บาท
  • 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.9882 บาท
  • 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 3.2405 บาท
  • 65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) หน่วยละ 3.6237 บาท
  • 50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) หน่วยละ 3.7171 บาท
  • 250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 4.2218 บาท
  • เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท

อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน

  • 150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) หน่วยละ 3.2484 บาท
  • 250 หน่วยต่อไป ( หน่วยที่ 151 – 400 ) หน่วยละ 4.2218 บาท
  • เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท

อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ Time of Use Tariff (TOU Tariff)

สำหรับบ้านอยู่อาศัยที่ขอติดตั้งมิเตอร์แบบคิดค่าไฟตามช่วงเวลาของการใช้งาน

  • On Peak เวลา 09.00 – 22.00 น. วันจันทร์ – วันศุกร์
  • Off Peak เวลา 22.00 – 09.00 น. วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 00.00 – 24.00 น. วันเสาร์ – วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ

แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์

  • On Peak : 5.7982
  • Off Peak : 2.6369

แรงดัน 12-14 กิโลโวลต์

  • On Peak : 5.1135
  • Off Peak : 2.6307

ข้อมูลที่ควรทราบเพิ่มเติม

  • ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ไม่เป็นนิติบุคคล และใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือนติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน นับถึงเดือนปัจจุบัน ได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรี
  • อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
  • ผู้ใช้สามารถขอบิลค่าไฟแบบออนไลน์ได้ จากบทความนี้ วิธีขอรับบิลค่าไฟฟ้าออนไลน์ผ่านอีเมลและ SMS แทนบิลแบบกระดาษ

ที่มา : www.mea.or.th

การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ค่าไฟหน่วยละกี่บาท พลังงานไฟฟ้า อัตราค่าไฟฟ้า

ค่า ไฟ ปกติ หน่วย ละ กี่ บาท

มนุษย์สายไอทีผู้รักสุขภาพ ชอบทดลอง คนคว้า หาความรู้ พร้อมกับแบ่งปันความรู้ที่ได้มาให้กับผู้อ่าน เราอยากให้ทุกคนใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้นด้วยความรู้บนโลกอินเตอร์เน็ตที่ค้นหาได้ง่าย

ค่าไฟหน่วยละกี่บาท

4. การคิดค่าไฟฟ้าอัตราปกติแบบก้าวหน้าคืออะไร 15 หน่วยแรก (หน่วยที่ 1-15) หน่วยละ 2.3488 บาท 10 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 16-25) หน่วยละ 2.9882 บาท 10 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 26-35) หน่วยละ 3.2405 บาท 65 หน่วยถัดไป (หน่วยที่ 36-100) หน่วยละ 3.6237 บาท

หน่วยค่าไฟบ้านกี่บาท

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน.

ค่าไฟฟ้าTOUหน่วยละกี่บาท 2565

สำหรับในรอบเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมานั้น กกพ. ได้มีมติให้ปรับเพิ่มค่าเอฟที โดยให้เรียกเก็บที่ 24.77 สตางค์ต่อหน่วย ส่งผลให้อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 23.38 สตางค์ต่อหน่วย เป็น 4.00 บาทต่อหน่วย

ค่าไฟหน่วยละกี่บาท ปี 2564

อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน 15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 2.3488 บาท 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.9882 บาท 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 3.2405 บาท