วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

เปิดหมดเปลือกทุกกระบวนการผลิตทูน่ากระป๋อง! ต้องยอมรับเลยว่า ไม่ว่าจะเป็นของกิน หรือของใช้ กว่าจะเปิดใจ เลือกใช้ ผู้บริโภคต้องคิดหนัก ซึ่ง นอติลุส เข้าใจทุกคนดี ยิ่งยุคนี้ สิ่งเร้ามากมายทำให้ทุกคนกังวลใจกว่าเดิม ดังนั้น นอติลุส ยิ่งต้องทวีคูณความใส่ใจในกระบวนการผลิต ให้ชัวร์เรื่องความปลอดภัยแบบเกินร้อย! ได้เวลาบุกโรงงาน ตรวจเช็กกระบวนการผลิต กว่าจะเป็นนอติลุสทูน่า บอกเลยว่าขั้นตอนเพียบ!

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 1 : เตรียมปลาทูน่า

เรื่องปลาทูน่าต้องยกให้ นอติลุส เพราะเราใส่ใจสุขภาพคุณ ตั้งแต่เริ่มต้น ‘รับวัตถุดิบ’ (Raw Material) ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องคัดขนาดของปลาให้ตรงกับสเป็กที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด โดยปลาทูน่าที่รับมานั้นจะต้องผ่านการแช่แข็ง และมีอุณหภูมิต่ำกว่า -9 องศาเซลเชียลเท่านั้น

หลังจากนั้นก็เข้าสู่ขั้นตอน ‘การะละลาย’ (Thawing) ด้วยการนำน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 30 องศาเซลเชียลใส่ในถังเพื่อละลายน้ำแข็ง จุดสำคัญของขั้นตอนนี้ คือ การละลายปลาที่ดี อุณหภูมิของน้ำในถังจะต้องสม่ำเสมอ ย้ำนะว่าต้องสม่ำเสมอจริงๆ! เพราะถ้าหากอุณหภูมิขณะพัก (BBT)​ ของปลาทูน่าในถังละลายเดียวกัน เกิดไม่เท่ากันทั้งถังขึ้นมา เรื่องใหญ่แน่!

ขั้นตอนสุดพิถีพิพันต่อมา คือ ‘การผ่าท้องควักไส้’ (Butchering) ขั้นตอนนี้ว่าด้วยการผ่าท้อง ควักไส้ปลา เพื่อทำความสะอาด และป้องกันการเหม็นหืน สิ่งสกปรก และจุลินทรีย์ต่างๆ โดยการผ่าท้องปลาทูน่านั้น จะต้องทำให้ตัวปลามีแผลน้อยที่สุด และเรียงตัวปลาลงตะแกรงนึ่งให้พอดีตามไซส์ ไม่ให้ปลาหล่นมาทำกัน รวมถึงต้องตัดท้องปลาแยกส่วนออกมา เพราะหากนึ่งรวมกันอาจทำให้ท้องปลาไหม้ได้ ทั้งหมดนี้เพื่อให้ปลาทูน่าออกมามีคุณภาพที่ดีที่สุด

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 2 : นึ่งปลาทูน่าให้สุก

หลังจากเตรียมปลาทูน่าเรียบร้อยแล้ว ปลาจะถูกส่งมาทำ ‘การนึ่ง’ (Pre-Cooking) ให้สุกที่อุณหภูมิ 70-90 องศาเซลเซียส และนำท้องปลาไปเข้า Exhaust Box ที่อุณหภูมิเท่าๆ กัน

เมื่อนึ่งปลาทูน่าจนสุก ก็ได้เวลา ‘ลดอุณหภูมิปลา’ (Side-Spray) โดยขั้นตอนนี้จะใช้น้ำฉีดพ่นเป็นละอองฝอยๆ ลงบนตัวปลาทันทีที่ออกจากหม้อนึ่ง สลับกับใช้พัดลมเป่า เพื่อไม่ให้ผิวปลาด้านนอกไหม้

จากนั้นก็ได้เวลา ‘พรมทำปลาเย็น’ (Chill Room) ด้วยการใช้น้ำพรมลงบนตัวปลา และใช้พัดลมเป่าสลับ เพื่อให้หนังปลาไม่แห้งจนเกินไปจนยากต่อการขูดทำความสะอาด (Cleaning) และเป็นการรักษาน้ำหนักปลาด้วย โดยขั้นตอนการขูดทำความสะอาดนั้น เราจะต้องแยกเอาสิ่งที่ไม่ต้องการออกให้หมด และเหลือไว้เพียงแค่เนื้อปลาเท่านั้น

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 3 : บรรจุปลาทูน่าลงกระป๋อง

ได้เวลา ‘บรรจุ’ (Packing) เนื้อปลาทูน่าลงกระป๋อง พร้อมเติมสารละลาย เช่น น้ำมัน น้ำเกลือ น้ำแร่ลงไป เพื่อเพิ่มรสชาติที่กลมกล่อม จากนั้นก็ทำ ‘การปิดผนึก’ (Seaming) ให้เรียบร้อย และตรวจสอบอีกครั้ง

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 4 : ฆ่าเชื้อครั้งที่ 1

บรรจุเนื้อปลาทูน่าลงกระป๋องแล้ว และตรวจสอบการปิดผนึกแล้ว ถึงเวลาของ ‘การฆ่าเชื้อ’ (Retoring) โดยขั้นตอนการนี้ เราจะฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อโรคต่างๆ ด้วยความร้อนที่อุณหภูมิอุณหภูมิมากกว่า 110 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดันมากกว่า 9 PSI ที่สามารถฆ่าเชื้อไวรัส Covid-19 ได้ จากนั้นใช้พัดลมเป่าให้แห้ง เพื่อป้องกันสนิม

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 5 : บรรจุลงกล่อง

ฆ่าเชื้อเสร็จเรียบร้อย ทูน่ากระป๋องนอติลุส ก็จะถูกส่งต่อมาบรรจุลงกล่อง ด้วยมือพนักงานที่ผ่านการตรวจวัดอุณหภูมิ สวมหน้ากาก ถุงมือ และล้างเจลแฮลกอฮอล์อย่างดี 

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 6 : ฆ่าเชื้อครั้งที่ 2

สถานการณ์นี้ บอกเลยว่าฆ่าเชื้อครั้งเดียวไม่พอ ต้องฆ่าเชื้อแล้ว ฆ่าเชื้ออีก! โดย นอติลุส จะทำการพ่นฆ่าเชื้อที่บรรจุภัณฑ์ และในห้องเก็บสินค้าอีกครั้ง ตรวจสอบความปลอดภัยอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ก่อนนำออกไปจัดจำหน่ายยังผู้บริโภค

วิธีเก็บทูน่ากระป๋องที่เปิดแล้ว

Step 7: ฆ่าเชื้อครั้งสุดท้าย พร้อม Delivery ความอร่อย

ตรวจสอบจนแน่ใจว่าไร้เชื้อโรค 100% ก็สามารถส่งต่อ นอติลุสทูน่าที่คัดสรรคุณภาพ ความอร่อย และปลอดภัย ไปยังผู้บริโภคซึ่งแน่นอนว่า ก่อนจะส่งออกไปยังตู้คอนเทนเนอร์ พาหนะที่ใช้ในการขนส่งสินค้าก็ต้องถูกพ่นฆ่าเชื้อก่อน นอติลุส จึงมั่นใจว่าทูน่ากระป๋องนอติลุสทุกกระป๋อง อร่อย สะอาดปลอดภัย ผู้บริโภคอิ่มได้หายห่วง!

กระบวนการผลิต ‘ทูน่ากระป๋องนอติลุส’ อาจจะดูย้ำคิด ย้ำทำในเรื่องการฆ่าเชื้อไปสักนิด แต่ถ้าไม่ครบ 7 ขั้นตอนที่กล่าวมานี้ ไม่มีทางที่จะหลุดออกมาจากโรงงานได้แน่นอน! เพราะเรื่องความสะอาด ปลอดภัย ฆ่าเชื้อจนกว่าจะมั่นใจว่าปลอดเชื้อโรค เป็นสิ่งที่ ‘นอติลุส’ ให้ความสำคัญมาเป็นอันดับ 1 และถึงแม้ว่าปลาทูน่าของเราจะผ่านกระบวนการมากมายแค่ไหน ก็มั่นใจได้เลยว่า ความอร่อย และสารอาหารจากปลาทูน่ายังอยู่ครบถ้วน นอติลุส ยืนหนึ่งเหมือนเดิม ไม่มีตกแน่นอน!

ปลาทูน่ากระป๋องต้องแช่เย็นไหม

สำหรับปลาทูน่ากระป๋อง เป็นการนำเนื้อปลามาผ่านกระบวนการผลิตที่มั่นใจว่าเป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่งอยู่แล้ว จึงสามารถเก็บรักษาทูน่ากระป๋องได้ในตู้กับข้าว หรือชั้นวางอาหารที่ปราศจากความชื้นและพ้นจากแสงแดด การนำทูน่ากระป๋องไปแช่เย็นยิ่งเป็นการเพิ่มความชื้น และกระตุ้นให้กระป๋องเกิดเป็นสนิม ซึ่งนั่นคืออันตรายมากด้วย

อาหารกระป๋องเปิดแล้วเก็บยังไง

๑. เปิดแล้วและเหลือ ควรถ่ายใส่ภาชนะอื่นๆ เช่น ภาชนะแก้วมีฝาปิดแล้วเก็บไว้ในตู้เย็น ๒. ไม่ควรเก็บอาหารกระป๋องไว้นาน ควรเลือกบริโภคอาหารกระป๋องที่ยังอยู่ในสภาพดี สังเกต วัน เดือน ปีที่หมดอายุด้วย ๓. ควรเก็บอาหารกระป๋องไว้ในที่แห้งและเย็น แต่ไม่อับชื้นและไม่ถูกแสงแดด ป้องกันการเสียและเป็น สนิมเร็วกว่าปกติ ๔. เก็บอาหาร ...

ทูน่ากระป๋องเก็บได้นานไหม

เฉลย... ยังกินได้อีก เพียงแต่เคล็ดลับในการเก็บรักษาปลาทูน่านั้นต้องถ่ายจากกระป๋องเป็นภาชนะ อื่น ซึ่งไม่ใช่โลหะ แล้วปิดฝา นำไปใส่ตู้เย็นช่องปกติเท่านั้นเอง แต่ควรรับประทานให้หมดภายใน 3 วัน ส่วนที่ยังไม่เคยเปิดฝา สามารถเก็บไว้ได้นานถึง 36 เดือนเลยทีเดียว

อาหารกระป๋องหากเปิดใช้งานแล้วใช้ไม่หมดควรเก็บรักษาอย่างไร

- อาหารกระป๋อง ให้เก็บไว้ในที่แห้ง ไม่อับชื้น อาหารกระป๋องที่เปิดแล้วทานไม่หมด ต้องเก็บใส่ภาชนะอื่นที่สะอาด มีฝาปิดมิดชิด เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค และควรเก็บในตู้เย็น ใช้แค่พอดี ทำในปริมาณที่พอกิน