หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

เราสามารถแยกเอทานอลออกจากสารละลายเอทานอลในน้ำด้วยวิธีการรเหยแห้งได้หรือไม่เพราะเหตุใด

ช่วยหน่อยนะ!! โดย:  มอส   [29 ม.ค. 2564 15:00]

ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ

ข้อคิดเห็นที่ 1:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ทำไม่ได้ครับ เหตุผลเพราะ น้ำกับเอทานอลมีจุดเดือดที่ใกล้เคียงกัน (จุดเดือดเอทานอล 78 °C  จุดเดือดของน้ำ 100 °C )
ถ้าใช้วิธีการระเหยแห้งทั้งน้ำและเอทานอลจะระเหยออกไปด้วยกัน เพราะจุดเดือดใกล้เคียงกัน
วิธีการแยกน้ำกับเอทานอล ทำได้โดยการกลั่นลำดับส่วนครับ

โดย:  เคมิสต์  [27 เม.ย. 2564 11:08]

ข้อคิดเห็นที่ 2:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ได้

โดย:  สิง  [23 ธ.ค. 2564 08:56]

ข้อคิดเห็นที่ 3:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ได้

โดย:  สัง  [23 ธ.ค. 2564 08:56]

ข้อคิดเห็นที่ 4:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ได้

โดย:  ใส  [23 ธ.ค. 2564 08:56]

ข้อคิดเห็นที่ 5:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ได้

โดย:  สวจ  [23 ธ.ค. 2564 08:57]

ข้อคิดเห็นที่ 6:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ไม่ได้

โดย:  มิ้นท์  [5 ม.ค. 2565 10:58]

ข้อคิดเห็นที่ 7:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ได้มั้ง

โดย:  ใครไม่รู้  [14 ม.ค. 2565 16:04]

ข้อคิดเห็นที่ 8:

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

ไม่รู้

โดย:  ปริศนา  [1 ก.ย. 2565 13:06]

หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้ กรุณากดปุ่มนี้

 ˹��¡�����¹��� ����¡���
    ����ͧ
"��á���Ẻ������"
�Ӫ��ᨧ : ������͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�ӵͺ����

 1. �������§�ӴѺ��кǹ�÷���Դ���㹡�á�����١��ͧ
�������� �����ʹ ��äǺ��
�����ʹ �������� ��á�������
�����ʹ ��á������� ��äǺ��
�����ʹ ��äǺ�� ��á�������

2. ��ѡ��÷����㹡���¡����¡�á��蹤�͢���
����ᵡ��ҧ�ͧ�س����Ԣͧ���
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش��ʹ�ͧ���
����˹��蹢ͧ���ᵡ��ҧ�ѹ
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش�������Ǣͧ���

3. �ͧ���� A �ըش��ʹ 90 ͧ�������� ����»�����Ѻ�ͧ���� B ����ըش��ʹ 145 ͧ��������
�����Ը���¡��÷�� 2 ��Դ�͡�ҡ�ѹ

��á���Ẻ������
��á����ӴѺ��ǹ
�����������
��õ���֡

4. �ҡ��� 3 ����ͷӡ���¡����������㴨ж١�¡�͡�����͹
��� A
��� B
��÷���ͧ�͡�Ҿ�����ѹ
��������㴶١�¡�͡����

5. ����¡��ü��㹢��㴤�����Ըա�á���
��Ӽ����š�����
��ӹ�
��ӷ���
��Ӥ�ͧ

6. ��ҹӹ����ҹ�������ҡ��蹨���ŵ������
�ͧ���������� �����������ҹ
�ͧ����������������������ҹ
�ͧ������������� ���� �����
�ͧ���������Ƿ��������ҹ����͹���

���ٻ���仹��ͺ�Ӷ����� 7-8

    

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

7. �ҡ�ٻ�Ըա���¡��ù�����¡�������
��������
��á��蹴����͹��
��á���Ẻ������
��á����ӴѺ��ǹ

8. ����¡��ôѧ�ٻ������¡��ù����
��ӵ�ŷ���㹹����ҹ
�������ǧ㹹����֡
����ա��蹨ҡ��٤��Ի���
����ѹ������ҡ���紻����

9. ����¡��ô����Ըա�á����������ѡ�������Ӥѭ
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش��ʹ
��������ö㹡�������
��������ö㹡�ôٴ�Ѻ
����ᵡ��ҧ�ͧ�ش��������

10. �����¡����Ը�����Ǩ�ͺ�����ú���ط����������

��á�ͧ
����ⷡ�ҿ�
��á����ӴѺ��ǹ
���ʡѴ�����͹��

การแยกสาร

        การแยกสาร  เป็นการทำให้สารบริสุทธิ์  การแยกสารจะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับความเหมาะสม  องค์ประกอบ  ประหยัดและสะดวก

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

        วิธีการแยกสาร  ที่ควรรู้จัก  มีดังนี้

1. การกรอง (filtration)

        เป็นวิธีที่ใช้แยกของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่า 10 – 4  cm ออกจากของเหลวโดยที่ของแข็งนั้น

ไม่ละลายในของเหลว หรือมองเห็นชัดด้วยตาเปล่าว่าเป็นสารเนื้อผสมที่มีของแข็งแขวนลอยอยู่ใน

ของเหลว เช่น น้ำโคลน , น้ำแป้ง , แยกผลึกเกลือออกจากสารละลายเกลืออิ่มตัว         

2. การกลั่น (distillation) 

มีหลักการสำคัญๆ คือ การทำให้ของเหลาวกลายเป็นไอแล้วทำการควบแน่นเป็นของเหลวอีก  ซึ่งการกลั่นมีหลายแบบ

        2.1.การกลั่นแบบธรรมดา (simple distillation)  มีหลักการดังนี้

                 – สารองค์ประกอบต้องมีจุดเดือดต่างกันมาก  โดยตัวถูกละลายต้องมีจุดเดือดสูงกว่าตัวทำละลาย

                –  ตัวถูกละลายต้องเป็นสารที่ระเหยยาก เช่น  เกลือ  น้ำตาล

         2.2. การกลั่นลำดับส่วน (fractional distillation) มีหลักการดังนี้

        – ใช้แยกองค์ประกอบที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก  และมีสารหลายชนิดปนกันอยู่  เช่น  การกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม,  แอลกอฮอล์ปนน้ำ  เป็นต้น

         2.3. การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำ (steam distillation) มีหลักการ  คือ

                –  ใช้ไอน้ำพาสารระเหยที่อยู่ในพืชออกมา

                –  สารที่ต้องการสกัดต้องเป็นสารที่ระเหยง่าย        

                –  สารที่ต้องการ  ต้องไม่รวมตัวกับน้ำ เพื่อสะดวกในการแยกออกจากน้ำ เมื่อได้สารที่สกัดแล้ว

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

3. การสกัดด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction)

ใช้แยกสารออกจากของผสมเนื้อเดียวที่อยู่ในรูปสารละลาย

โดยเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมดังนี้

        – ตัวทำละลายต้องละลายสารที่ต้องการสกัดได้ดี  แต่ไม่ละลายสารอื่น

        – ตัวทำละลายต้องไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการสกัด

        – สามารถแยกตัวทำละลายออกจากสารที่สกัดได้โดยง่าย  เพื่อนำตัวทำละลายมาใช้อีก  เป็นการประหยัด

        – หาง่าย  ราคาถูก

        ส่วนมากใช้สกัดน้ำมันพืช  ตัวทำละลายที่นิยม  คือ  เฮกเซน

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

4.โครมาโตกราฟี  (chromatography)

          เป็นวิธีการแยกสารโดยอาศัยความแตกต่างในการละลายและการดูดซับ  เนื่องจากสารแต่ละชนิดจะมีความสามารถในการละลายและการดูดซับได้ต่างกัน  โดยสารที่ละลายได้ดีจะถูกดูดซับได้น้อยแต่เคลื่อนที่ได้เร็ว  ในทางตรงข้าม  สารใดที่ละลายได้น้อยจะถูกดูดซับได้มากเคลื่อนที่ได้ช้า

       

        การหาค่าอัตราการเคลื่อนที่ (Rate of flow ;  Rf )

        สูตร                         Rf     =   ระยะทางที่สารเคลื่อนทีได้ / ระยะทางที่ตัวทำละลายเคลื่อนที่ 

ค่า Rf จะมากน้อย  ขึ้นอยู่กับ

        – ชนิดของตัวทำละลาย

        – ชนิดของตัวดูดซับ

        – สภาวะต่างๆ  เช่น  อุณหภูมิ,  ความดัน

        – ความสามารถในการละลายของสาร

สรุปสาระสำคัญของโครมาโตกราฟีแบบกระดาษ

        – สารชนิดเดียวกันจะมีค่า   Rf   เท่ากัน  ถ้าใช้สภาวะเดียวกัน

        – ค่า   Rf   จะมีค่าไม่เกิน  1  และไม่มีหน่วย

        – ถ้าแยกสารได้หลายสาร  และมีค่า   Rf   ได้หลายค่า  แสดงว่า  สารนั้นเป็นสารไม่บริสุทธิ์  ถ้าแยกได้เพียงชนิดเดียว  จะมีค่า   Rf   ค่าเดียว  แต่สรุปไม่ได้  ว่าสารนั้นเป็นสารบริสุทธ์หรือสารละลาย  เนื่องจากสารบางชนิดไม่มีสี  หรือองค์ประกอบต่างๆ  เคลื่อนที่ได้เท่ากันหรือใกล้เคียงกัน

        ข้อดีวิธีโครมาโตกราฟี

        – ใช้ทดสอบสารตัวอย่างที่มีปริมาณน้อยได้

        – ใช้ทดสอบมั่วไปในทางปริมาณวิเคราะห์ และคุณภาพวิเคราะห์

        – ใช้แยกสารที่มีสีและไม่มีสีได้

        – อาจแยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมออกจากกันได้

        – ถ้าแยกองค์ประกอบต่างๆ ได้  ก็สามารถสกัดสารออกจากตัวดูดซับได้

        ข้อจำกัดของโครมาโตกราฟี

        เมื่อองค์ประกอบต่างๆ เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้เท่าๆ กัน  จะแยกออกจากกันไม่ได้  หรือแยกได้แต่ไม่บริสุทธิ์  ซึ่งแก้ได้โดย

        – เปลี่ยนตัวทำละลาย

        – เพิ่มความยาวของกระดาษโครมาโตกราฟี

หาก ต้องการ แยกสาร ผสม ระหว่าง แอลกอฮอล์ กับ น้ำ ควร เลือก ใช้วิธีการ ใด

5. การตกผลึก (crystallization)

        เป็นการแยกสารโดยทำสารให้อิ่มตัวที่อุณหภูมิสูง  และปล่อยให้เย็นก็จะตกผลึกออกมา  ได้ของแข็งที่มีรูปทรงเรขาคณิต  ซึ่งอาจต้องเลือกตัวทำละลายให้เหมาะสม  ดังนี้

        –     ต้องละลายสารที่ตกผลึกได้มากที่อุณหภูมิสูง 

        –     ต้องละลายที่ที่เจือปนได้ที่อุณหภูมิต่ำ

        –     ไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ตกผลึก  และกำจัดออกง่าย

6. การใช้กรวยแยก (seperating Funnel)

        ใช้แยกของเหลวออกจากของเหลวที่ไม่ละลายซึ่งกันและกัน โดยนำของเหลวผสมเทใส่กรวยแยก  ของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า ผเบากว่า) จะอยู่ชั้นบน และของเหลวที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะอยู่ชั้นล่าง  จากนั้นค่อยๆ ไขก๊อกแยกของเหลวแต่ละชั้นออกมา

ข้อสอบ

1. วิธีที่ประหยัด และสะดวกที่สุดในการแยกเกลือออกจากน้ำทะเล คือข้อใด
   ก. การกลั่น
   ข. การกรอง
   ค. การระเหย
   ง. การตกผลึก

เฉลย ค.

2. วิธีการกลั่นน้ำให้บริสุทธิ์โดยการกลั่นแบบธรรมดา สารในข้อใดใช้วิธีการนี้แยกไม่ได้
   ก. น้ำทะเล
   ข. น้ำคลอง
   ค. น้ำเชื่อม
   ง. น้ำผสมแอลกอฮอล์

เฉลย ก.