ทําบัตรประชาชน วันเสาร์ สํานักงานเขต

จุดบริการด่วนมหานคร สำนักงานเขตปทุมวัน เปิดให้บริการทุกวัน สามารถทำบัตรประชาชนทุกกรณี คัดรับรองสำเนาเอกสารฉบับภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ได้แก่

  • ทะเบียนบ้าน
  • ทะเบียนคนเกิด
  • ทะเบียนคนตาย
  • ทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนที่มีในฐานข้อมูล

สะดวกง่าย ๆ ได้ที่ MBK Center ชั้น 5 โซน A ได้แล้วตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน 2565

  • วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 10.00 - 19.00 น.
  • วันเสาร์ - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 - 18.00 น.

การจองคิวออนไลน์สำหรับทำบัตรประชาชน สามารถเข้าไปจองได้ที่ "BMA Q" ใน App store หรือ Google Play

สิทธิพิเศษ! สำหรับผู้จองคิวทำบัตรประชาชน 20 ท่านแรก รับของที่ระลึกฟรี

สอบถามข้อมูลได้ที่ 02-250-0125 หรือ MBK Contact Call Center 1285

 

ทําบัตรประชาชน วันเสาร์ สํานักงานเขต

BMA Express คือ บริษัทรถไฟฟ้าขนส่งที่ดำเนินการขนส่งโดยใช้รถไฟฟ้าของกรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration) ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการขนส่งสาธารณะแก่ประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บริษัท BMA Express จะมีรถไฟฟ้าขนส่งบนเส้นทางต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร โดยมีรถไฟฟ้าขนส่งประเภทต่าง ๆ อยู่บนเส้นทาง เช่น รถไฟฟ้าขนส่งสาธารณะ (BTS), รถไฟฟ้าขนส่งระหว่างอำเภอ (MRT), รถไฟฟ้าขนส่งเชื่อมโยงระหว่างเขต (ARL) และรถไฟฟ้าขนส่งเชื่อมโยงระหว่างจังหวัด (Provincial ARL)

ทําบัตรประชาชน วันเสาร์ สํานักงานเขต
ทําบัตรประชาชน วันเสาร์ สํานักงานเขต
จุดบริการด่วนมหานคร BMA Express Service

ทำบัตรประชาชน ที่ BTS

1.หากเดินทางมาด้วย BTS สถานีอื่นๆ ให้แวะทำที่สถานีพร้อมพงษ์ เพราะจุดบริการอยู่ด้านในตัวสถานี
เช่น จากสถานีแบริ่ง ไป อุดมสุข เสียค่าตั๋ว 10 บาท แต่สามารถแวะไปทำที่พร้อมพงษ์ได้เลย โดยไม่ต้องซื้อตั๋วไปพร้อมพงษ์
แต่ระวังมาถึงตอนพักเที่ยงของเจ้าหน้าที่พอดี แบบจขกท. ต้องนั่งรอ 1 ชม.นะคะ (เลยโดนปรับตอนขาออก 42 บาท)
**BTS มีกฏว่าหากผู้โดยสารอยู่ในระบบเกิน 2 ชม. นับจากที่รูดบัตรเข้า จะถูกปรับอีก 42 บาทนะจ้ะ โดนมาแล้ว เพิ่งจะรู้ว่ามีกฏแบบนี้
แต่เป็นสิ่งที่ดีนะทำให้ผู้โดยสารกระฉังกระเฉงดี

2.แนะนำให้มาวันธรรมดา คนจะน้อย แล้วก็เวลาทำการของ BMA Express มีหยุดเวลาพักเที่ยงนะคะคือ 12.00-13.00
วันจันทร์ – ศุกร์ 09:00 – 20:00 น. / ทำบัตรประชาชน วันหยุดราชการ หรือ หยุด นักขัตฤกษ์ 10:00 – 18:00 น. ทําการต่อบัตรประชาชน วันเสาร์-อาทิตย์ ได้
สถานี BTS ที่บริการทำบัตรประชาชนมี 3 สถานีดังนี้ (ควรโทรถามก่อนว่าเครื่องใช้การได้ไหมนะคะ เดี๋ยวไปเก้อ)
สถานีพร้อมพงษ์ : เบอร์ติดต่อ 02-663 5203-4 ( อยู่ในสถานี –แนะนำอันนี้)
สถานีสยาม : เบอร์ติดต่อ 02-250 0125-6
สถานีหมอชิต : อยู่ฝั่งทางออกหมายเลข 2 เบอร์ติดต่อ 02-272 5346
เท่าที่สัมผัสได้คือ เจ้าหน้าที่สถานีพร้อมพงษ์(มาจากเขตคลองเตย)ยิ้มแย้มแจ่มใส ร่าเริงมาก บริการรวดเร็ว มีระบบ
รอแค่ 1-2 คิวก็ได้ทำแล้ว รอประมาณ 10 นาที ถ่ายรูปตรวจสอบข้อมูลรับบัตรอีก 9 นาที

3. ถ้า ต่อบัตรประชาชน ให้นำบัตรประชาชนเก่า บัตรประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรที่ชำรุด พร้อมกับใบขับขี่ หรือพาสปอร์ตไปด้วย เพื่อใช้ในการยืนยันบุคคล หากไม่มีก็เอาสำเนาบัตรประชาชนไปก็ได้จะทำให้เร็วขึ้น (เตรียมเอกสารให้ดี ถ้าไม่มีต้องวิ่งไปหาร้านซีร๊อกส์ให้วุ่นวาย) หรือทำในกรณีอื่นๆเช่นเปลี่ยนชื่อเปลี่ยนนามสกุล เปลี่ยนที่อยู่ ทำครั้งแรกบลาๆๆๆ ให้เตรียมหลักฐานนั้นๆให้ครบ ถ้าหน้าเปลี่ยนเยอะให้พาบุคคลเช่นพ่อ-แม่ไปยืนยันเพิ่ม
เจ้าหน้าที่จะแจกบัตรคิวพร้อมใบเอกสารสำหรับกรอกรายละเอียดของเรา
ชื่อ นามสกุล ภาษาอังกฤษ(สะกดตามพาสปอร์ต) กรุ๊ปเลือด ศาสนา สถานภาพ และ เบอร์โทรศัพท์
**บัตรหายไปที่เขตเท่านั้น BMA Expressไม่ทำให้นะ**

4. ต่อล่วงหน้าได้ 60 วัน ไม่ต้องตอบคำถามว่า ทำไมมาต่อก่อนหมดอายุ เพราะเจ้าหน้าที่ไม่ได้ถาม ถ้าหมดอายุเกิน 2 เดือน โดนปรับ 50 บาท

5. มีระบบบัตรคิว ดูตามคิวที่ปรากฏบนหน้าจอ กับเสียงประกาศของเจ้าหน้าที่ เพื่อเข้าห้องเย็น(ห้องทำงานของเจ้าหน้าที่ BMA Express)

6.1ขั้นแรกเจ้าหน้าที่จะสอบถามข้อมูลจำเพาะของผู้รับบริการ เช่น ชื่อนามสกุล ชื่อพ่อชื่อแม่ ที่อยู่ เขตที่ทำบัตรครั้งแรก-ครั้งที่สอง (ถามเยอะมากสงสัยมีขบวนการพยายามฟอกบัตรมาเนียนเยอะ) ตอบถูกก็ไปขั้นต่อไปได้เร็ว

ส่องขั้นตอนทำบัตรประชาชน-ทะเบียนบ้าน สูญหาย 2565 ต้องแจ้งความไหม-ใช้เอกสารอะไรบ้าง พร้อมเผยสถานที่ให้บริการหลายแห่ง เช็คเลย

ผู้สื่อข่าวฐานเศรษฐกิจ ได้รวบรวมข้อมูลในกรณีที่ทำบัตรประชาชน-ทะเบียนบ้าน สูญหาย 2565 ต้องดำเนินการอย่างไร ใช้เอกสารอะไรบ้าง เนื่องจากเอกสารทั้ง 2 รูปแบบนั้นถือเป็นเอกสารราชการที่ออกให้สำหรับคนไทยที่มีชื่อในทะเบียนบ้านเท่านั้น เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการแสดงตน ใช้พิสูจน์และยืนยันตัวบุคคลในการติดต่อราชการ การขอรับบริการหรือสวัสดิการในด้านต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐรวมทั้งใช้ประกอบการทำธุรกรรมต่างๆ ทำนิติกรรม ฯลฯ

 


คุณสมบัติการทำบัตรประชาชน
- มีสัญชาติไทย 
-อายุตั้งแต่ 7 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี และต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) 

 

 


กรณีบัตรประชาชนหาย ต้องทำอย่างไรบ้าง
-หากทำสูญหาย ไม่ต้องแจ้งความสามารถขอยื่นเรื่องทำบัตรใหม่ได้เลย ณ ที่ว่าการอำเภอ หรือสำนักงานเขตเทศบาล ภายในเวลา 60 วันนับตั้งแต่วันที่บัตรหาย หากพ้นกำหนด ต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท 

 

 


หลักฐานในกรณีที่ทำบัตรประชาชนหายต้องใช้หลักฐาน ดังนี้
1.เอกสารที่มีรูปถ่าย ซึ่งออกให้โดยหน่วยงานราชการ เช่น ใบอนุญาตขับขี่ หลักฐานการศึกษา หรือหนังสือเดินทาง ฯลฯ
2.หากไม่มีหลักฐานข้อแรก ให้นำเจ้าบ้าน หรือบุคคลน่าเชื่อถือไปรับรองต่อเจ้าหน้าที่

สถานที่ทําบัตรประชาชน มีที่ไหนบ้าง

 

การทำบัตรประชาชน สามารถไปติดต่อ ณ สถานที่ราชการ เช่น สำนักงานเขต, สำนักงานเทศบาล, สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, ที่ว่าการอำเภอในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ปัจจุบันสามารถทําบัตรประชาชนนอกเขตได้แล้ว โดยยื่นขอทำบัตรประจำตัวประชาชนได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ 

 

 

ทั้งนี้ยังมีจุดบริการด่วนมหานคร (BMA Express Service) ที่เปิดให้ไปติดต่อทำบัตรประชาชน ณ สถานีรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพฯ (ยกเว้นกรณีบัตรหาย ไม่สามารถติดต่อทำที่ BTS ได้)

 

1.สถานีรถไฟฟ้าสยาม (หน้าศูนย์การค้าสยามพารากอน)
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.30-19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
2.สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต 
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
3.สถานีรถไฟฟ้าพร้อมพงษ์
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
4.สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.
5.สถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญ่
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.

 

 

กรณีที่บัตรประชาชนหายหรือถูกทำลาย
1. ให้ไปติดต่อแจ้งขอทำบัตรประชาชนใหม่ ณ สำนักงานเขต / ที่ว่าการอำเภอ / เทศบาล ภายใน 60 วัน (หากเกินเวลาที่กำหนด จะต้องเสียค่าปรับ 200 บาท)

2.เอกสารหลักฐาน ดังนี้
     - สำเนาทะเบียนบ้าน (ฉบับเจ้าบ้าน)
     - เอกสารราชการที่มีรูปถ่ายของเจ้าของบัตร เช่น ใบขับขี่ หนังสือเดินทาง เป็นต้น
     -ค่าธรรมเนียม 20 บาท
 

ส่วนทะเบียนบ้าน ถือ เป็นเอกสารที่นายทะเบียนออกให้บ้านแต่ละหลัง กำหนดให้มีเลขประจำบ้าน (เลขที่บ้าน) ซึ่งปลูกสร้างโดยได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรือมีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินที่ปลูกสร้างอาคาร

สํานักงาน เขต หลักสี่ เปิด วัน เสาร์ ไหม

วันเสาร์สำนักงานเขตเปิดให้บริการทะเบียนราษฎร ทะเบียนบัตรประชาชน และรับแจ้งตาย เวลา 08.00 - 16.00 น. (พักเที่ยง 12.00-13.00 น.)

ไปทําบัตรประชาชนวันเสาร์ได้ไหม

วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น. กรณีที่บัตรประชาชนหายหรือถูกทำลาย 1. ให้ไปติดต่อแจ้งขอทำบัตรประชาชนใหม่ ณ สำนักงานเขต / ที่ว่าการอำเภอ / เทศบาล ภายใน 60 วัน (หากเกินเวลาที่กำหนด จะต้องเสียค่าปรับ 200 บาท)

ทำบัตรประชาชนวันเสาร์ได้ที่ไหน

ทำบัตรประชาชนวันเสาร์ได้ที่ไหนบ้าง ?.
1.ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 02-2212141-69 ต่อ 1560-62..
2.สถานีรถไฟฟ้าสยาม 02-2500125-6..
3.สถานีรถไฟฟฟ้าพร้อมพงษ์ 02-6635203..
4.สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต 02-2725346..
5.สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข 02-3993499..
6.สถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญ่ 02-4401604..
7.ห้างสรรพสินค้าพาราไดซ์พาร์ค 02-3259079..

สำนักงานเขตมีนบุรีเปิดทำการวันเสาร์ไหม

>> โดยฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตมีนบุรี เปิดทำการปกติ คือ - วันจันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-16.00 น. ให้บริการงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน งานทะเบียนราษฎร และงานทะเบียนทั่วไป - วันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-16.00 น. ให้บริการงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนและงานทะเบียนราษฎร