ราคาประเมินที่ดิน 2565 กรมที่ดิน

ราคาประเมินที่ดิน ใช้สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามทีี่กฎหมายกำหนด เป็นราคาที่ดินที่ได้รับการประเมินโดยกรมธนารักษ์ เราจะใช้ราคาประเมินที่ดินนี้เมื่อเราต้องการซื้อ-ขาย-โอนที่ดินก็จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอน หรือ เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามราคาประเมินนั่นเอง วิธีการตรวจสอบราคาประเมินง่าย ๆ ไม่ว่าคุณจะมีข้อมูลโฉนดอยู่ในมือ หรือ ไม่มีข้อมูลโฉนดเลยก็ตาม

Show
  • ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

  • ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

 

ราคาประเมินที่ดิน 2565 กรมที่ดิน

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่ายๆ เพียงเตรียมโฉนดที่ดินให้พร้อมแล้วมาค้นหาราคาประเมินที่ดินกันใน 3 ขั้นตอน

  1. เข้าเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์

  2. ค้นหาราคาประเมิน โดยมีทางเลือกการค้นหา 2 แบบคือ

    1. ค้นจากเลขที่โฉนด เพียงกรอกเลขที่โฉนด หน้าสำรวจ และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ

    2. ค้นหาจากเลขที่ดิน เพียงกรอกเลขที่ดิน ระวาง และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ

  3. ดูราคาประเมินที่ดินได้ที่ด้านขวามือ

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

นายหน้าอสังหา หรือเจ้าของที่ดินบางครั้งก็อยากจะตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แต่ไม่ได้พกโฉนดติดตัวไว้ หรือยังไม่มีข้อมูลโฉนดทำให้ค้นหาราคาประเมินที่ดินได้ลำบาก แต่ไม่ต้องห่วง เราจะแนะนำวิธีการตรวจสอบราคาประเมินที่ดินโดยที่ไม่ต้องใช้โฉนด เพียงรู้ตำแหน่งแปลงที่ดิน และมีมือถือพร้อมอินเตอร์เนทก็ตรวจสอบได้แล้ว เพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น

  1. เข้าเว็บไซต์ “ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน”ของกรมที่ดิน หรือ แอพลิเคชั่น Landmaps

  2. ค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณง่าย ๆ
    คุณสามารถซูมแผนที่เข้าไปค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณ หรือค้นหาจากจังหวัด เขต แขวง หรือแม้กระทั่งค้นหาสถานที่สำคัญ เหมือนการใช้ google maps จะช่วยให้คุณมองเห็นที่ตั้งที่ดินคุณได้ง่ายขึ้น เช่น ที่ดินของคุณตั้งอยู่ใกล้ ศูนย์ราชการนนทบุรี คุณก็ค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดนี้แล้วซูมไปบนแผนที่เพื่อหาที่ตั้งที่ดินของคุณ

  3. Double-click คลิกบนที่ตั้งที่ดินของคุณ 2 ครั้ง ระบบจะแสดงขอบเขตที่ดินขึ้นมา ให้คุณคลิกบนกรอบขอบเขตที่ดินของคุณ และสามารถดูรายละเอียดข้อมูลโฉนด ขนาดที่ดิน รวมทั้งราคาประเมินได้ทันที

ถ้าหากแปลงที่ดินที่คุณสนใจไม่แสดงราคาประเมินที่ดินบนเว็บไซต์ทันที คุณก็สามารถนำข้อมูลโฉนดที่ดิน ได้แก่ หมายเลขระวาง เลขที่ดิน เลขที่โฉนดที่ดิน และหน้าสำรวจ ไปค้นหาราคาประเมินที่ในเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ตามขั้นตอนการค้นหาราคาประเมิน แบบมีโฉนดที่ดิน ด้านบนได้

     เพียงแค่นี้คุณก็สามารถตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ทั้งแบบมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินในมือ รวมทั้งช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน เช็คตำแหน่งที่ตั้งและรูปแปลงที่ดินให้ตรงกับข้อมูลของคุณได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หากคุณรู้ราคาประเมินที่ดินของคุณแล้ว สามารถคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างได้ง่าย ๆ ด้วยเครื่องมือคำนวณบนเว็บไซต์ Feasy เพียง “เพิ่มที่ดิน” แล้วอ่านรายงานศักยภาพที่ดิน ซึ่งประกอบไปด้วยเครื่องมือคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงราคาตลาดที่ดินในทำเลใกล้เคียง (ราคาที่สะท้อนถึงมูลค่าที่ดินในแต่ละพื้นที่) สีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้าง และเครื่องมือคำนวณค่าเช่าที่ดิน

สมัครสมาชิกฟรี!เช็คศักยภาพอสังหาฯ ของคุณได้ทันที

Keyword: ราคาประเมินที่ดิน, โฉนด

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

ราคาประเมินที่ดินใหม่เลื่อนประกาศใช้มา 2 ปีแล้ว ด้วยเหตุ Covid-19 และภาวะเศรษฐกิจ สรุปล่าสุดกรมธนารักษ์เตรียมประกาศให้ราคาประเมินที่ดินใหม่มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2566

ดังนั้นในระหว่างนี้การทำนิติกรรมทั้งโอนที่ดิน ทั้งการเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง, ค่าธรรมเนียมการโอนและค่าจดจำนอง ยังคงใช้ฐานราคาประเมินที่ดินเดิม (รอบปี 2559-2562) ในการคำนวณไปก่อน

สำหรับผู้สนใจ วันนี้ Home Buyers เปรียบเทียบราคาประเมินที่ดินเก่า-ใหม่* ในกรุงเทพฯมาให้ดูค่ะ (เฉพาะถนนสายหลักๆ ในแต่ละเขต) เผื่อใช้เป็นประโยชน์ในการวางแผนซื้อที่ดินซื้อบ้านค่ะ

พื้นที่เขตห้วยขวาง พญาไท ราชเทวี และดินแดง

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตประเวศ สวนหลวง

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตดอนเมืองและหลักสี่

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตบางเขน สายไหม

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตบางขุนเทียน จอมทอง บางบอน

พื้นที่เขตพระนคร ดุสิต ป้อมปราบศัตรูพ่ายปทุมวัน บางรัก สัมพันธวงศ์ ยานนาวา สาทร บางคอแหลม

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตบึงกุ่ม สะพานสูง คันนายาว

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตบางกะปิ วังทองหลาง

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตจตุจักรและบางซื่อ

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตลาดพร้าว บางเขน(บางส่วน)

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

เขตพระโขนง วัฒนา คลองเตย บางนา

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตบางกอกน้อย บางพลัด ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตหนองแขม บางแค ภาษีเจริญ

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตธนบุรี คลองสาน บางกอกใหญ่ ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตมีนบุรี คลองสามวา

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตหนองจอก

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

พื้นที่เขตลาดกระบัง

เทียบราคาประเมินที่ดินกรุงเทพฯ ก่อนประกาศใช้  1 มกราคม 2566

หมายเหตุ

        *(ร่าง)ราคาประเมินที่ดินใหม่(รอบปี 2563-2566)) ข้อมูลโดย “ฐนัญพงษ์ สุขสมศักดิ์” ผู้อำนวยการกองประเมินราคาทรัพย์สิน กรมธนารักษ์ ที่ให้สัมภาษณ์กับ“ประชาชาติธุรกิจ” เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563
        ** เป็นการสรุปภาพรวมราคาประเมินที่ดินรายถนนหลักๆเท่านั้น ไม่สามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงราคาประเมินรายแปลงได้