การ บำรุง รักษา ศาสน สถาน ต่อ ตนเอง

1. ก้าวเท้าขวาเข้ามัสยิด พลางกล่าวว่า “บิสมิลลาฮฺ อัลลอฮุมมะศอลลิอะลามุฮัมมัด อัลลอฮุมมะอัฟตะฮฺลี อับวาบะเราะฮฺมะติ๊ก”

7.ก้าวเท้าซ้ายออกจากมัสยิด พลางกล่าวว่า “อัลลอฮุมมะศอลลิอะลามุฮัมมัด อัลลอฮุมมะอัฟตะลี อับวาบะฟัฎลิก ”


2. ถอดรองเท้าก่อนเข้ามัสยิด และนำไปไว้ยังสถานที่ ๆ ได้สำรองไว้ หากจะนำรองเท้าเข้าไปด้วย ก็ต้องเช็ดสิ่งสกปรกที่พื้นรองเท้าเสียก่อน แล้วเอาด้านพื้นรองเท้าประกบกันแล้ววางลงที่ข้าง ๆ หรือด้านหน้าที่ตนนั่งหรือละหมาด


3. ก่อนเข้ามัสยิด ต้องทำความสะอาดปากให้หมดกลิ่น หากกินหัวหอมหรือกระเทียม และอาหารที่มีกลิ่นฉุน


4. ห้ามทิ้งหรือทำสิ่งสกปรกในมัสยิด โดยเฉพาะนะยิส (สิ่งสกปรกตามหลักการศาสนา) เช่น เดินด้วยรองเท้าที่เปื้อนนะยิส เป็นต้น


5. ห้ามถ่มน้ำลาย หรือสั่งน้ำมูก หรือเสมหะ ในมัสยิด หรือเช็ดและป้ายสิ่งน่าเกลียดเหล่านี้ที่พรมหรือที่ประตูมัสยิด รวมทั้งในที่ที่อาบน้ำละหมาด ซึ่งอยู่ในมัสยิด และหากพบก็ต้องรีบทำความสะอาดหรือนำออกไปจากมัสยิดทันที


6. พึงหลีกเลี่ยงการวิ่งเล่นหรือทำเสียงดังในมัสยิด แม้เป็นการอ่านอัลกุรอานก็ตาม เพราะจะเป็นการรบกวนผู้ที่กำลังละหมาดหรือกำลังอบรมศาสนากันอยู่


7. ห้ามรับประทานอาหาร หรือนอนในมัสยิด และต้องละเว้นโดยสิ้นเชิงที่จะทำบาปในมัสยิด เช่น การนินทาให้ร้าย ยุแหย่ พูดเท็จและถูกคนอื่น เป็นต้น


8. ไม่ควรนำเด็กอ่อนเข้ามัสยิด แต่เมื่อเด็กรู้เดียงสาโดยเฉพาะเมื่ออายุได้ 7 ขวบ ควรนำเข้ายังมัสยิดด้วย เพื่อเป็นการฝึกหัดการทำอิบาดะฮฺ (ศาสนกิจ) ในมัสยิดและรักมัสยิด



9. สำหรับสุภาพสตรีโดยเฉพาะยังสาว ๆ ที่จะเดินทางไปยังมัสยิด ไม่ควรใส่ของหอมหรือแต่งตัวจนเกินงาม และควรจัดสถานที่เข้าออกหรือที่ละหมาดเฉพาะให้กับสุภาพสตรี เพื่อจะได้ไม่ปะปนและเบียดเสียดกับผู้ชาย
       หากบุคลากร์ในองค์กรใด ปล่อยปละละเลยวัสดุสิ่งของที่เป็นขององค์กรต่างคนต่างนิ่งดูดาย เพราะเห็นว่าไม่ใช่หน้าที่ที่ตนรับผิดชอบแล้ว ความหายนะล้มมละลายย่อมมาเยือนองค์กรนั้นๆ แต่เหตุสำคัญที่จะทำให้องค์กรล้มละลายพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาได้ตรัสไว้ใน กุลสูตร อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต สรุปความได้ดังนี้

หน่วย รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

ชั่วโมง การบำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน

เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน 28 ส.ค. 2563

5.ขณะอยู่บริเวณศาสนสถานควรสำรวมกายวาจา ไม่ส่งเสียงดัง ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ก่อการทะเลาะวิวาทกัน และควรแต่งกายสุภาพ

การ บำรุง รักษา ศาสน สถาน ต่อ ตนเอง

http://atamma.org/content/view/409/102/lang,en/

6.ช่วยบูรณปฏิสังขรณ์ศาสนสถานทีชำรุดทรุดโทรมให้มันคงแข็งแรง โดยช่วยช่วยกันบริจาคทรัพย์ซ่อมแซมหรือชักชวนผู้อื่นบำรุงรักษา

การบำรุงศาสนสถานมีผลดีอย่างไร

การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด เป็นสิ่งที่ช่วยสืบต่ออายุของพระพุทธศาสนา ให้ยืนยาวต่อไป ซึ่งเป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคน ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding) การบำเพ็ญประโยชน์และการบำรุงรักษาวัด เป็นหน้าที่ชาวพุทธทุกคนที่พึงปฏิบัติ เพื่อรักษาและสืบทอดพระพุทธศาสนา

เพราะเหตุใดเราจึงควรร่วมกันบำรุงรักษาศาสนสถาน

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด ศาสนสถานเป็นศูนย์กลางของสังคมและชุมชน ดังนั้นการบำเพ็ญประโยชน์และบำรุงรักษาศาสนสถานจึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อเป็นการสืบทอดและบำรุงรักษาศาสนาให้สามารถตั้งมั่นอยู่ได้ในสังคม ซึ่งสามารถทำได้โดยการ ร่วมกันสร้างบรรยากาศที่ดี ร่วมกิจกรรมและปกป้องดูแลรักษาศาสนสถาน ในโอกาสต่างๆ

เราสามารถบำรุงพระพุทธศาสนาได้อย่างไร

สิ่งหนึ่งที่ชาวพุทธควรทำนอกจากการดำรงชีพก็คือการบำรุงพระพุทธศาสนา หมายถึงการทำให้พระพุทธศาสนามั่นคง เจริญ เป็นที่พึ่งแก่สัตว์โลกได้จริง ปัญหาว่าจะทำอย่างไรจึงจะบำรุงศาสนาได้จริง วิธีปฏิบัติคือการที่ตัวเองปฏิบัติเองให้เป็นคนดีมีศีลธรรม หรือช่วยเหลือกิจพระศาสนา บำรุงวัดวาอาราม เลี้ยงพระเจ้าพระสงฆ์ เป็นต้น...

นักเรียนจะดูแลรักษาศาสนาอย่างไร

1.3 การบำรุงรักษาศาสนสถาน.
1. หมั่นไปทำบุญ รักษาศีล ฟังธรรมที่วัด.
2. ร่วมบำเพ็ญประโยชน์ให้กับศาสนสถาน เช่น ทำความสะอาด ปลูกต้นไม้ เป็นต้น.
3. บริจาคเงินหรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆเพื่อพัฒนาและบูรณะศาสนสถาน.
4. ไม่ทำลายทรัพย์สินของศาสนสถาน ถ้าพบเห็นผู้ทำลายสิ่งของในศาสนสถานควรรีบแจ้งเจ้าอาวาส หรือพระภิกษุสงฆ์.