แบบวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ธรรมชาติของการวดั ผลทางการศกึ ษา.......................................................................... 2

ความมุง หมายของการวดั ผลการศึกษา......................................................................... 3

หลกั ของการวัดผลการศึกษา........................................................................................ 3

ประเภทของการวัดผลประเมินผล................................................................................ 4

จรรยาบรรณของนักวดั ผล............................................................................................ 6

ประโยชนข องการวดั ผลการศกึ ษา................................................................................ 7

2 พฤตกิ รรมทางการศกึ ษา และ เครื่องมือวัดพฤตกิ รรมการเรียนรู............................ 13

มาตรการวดั (Measurement Scales) ...................................................................... 13

การวดั พฤติกรรมทางการศึกษา.................................................................................... 14

การกําหนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรู................................................................................ 15

วิธกี ารประเมนิ พฤตกิ รรมทางการศึกษาและเคร่อื งมือวดั พฤติกรรมการเรยี นรู 17

3 เครอ่ื งมอื วัดพฤตกิ รรมการเรยี นรดู า นพุทธิพสิ ยั ..................................................... 33

ระดบั ขั้นของพฤติกรรมดานพทุ ธิพสิ ยั .......................................................................... 33

วธิ กี ารวัดพฤติกรรมดานพทุ ธพิ สิ ยั ................................................................................ 35

ประเภทของแบบทดสอบ............................................................................................. 35

การเขยี นขอสอบเพอ่ื วัดพฤติกรรมดา นพทุ ธพิ สิ ัย.......................................................... 38

การสรางแบบทดสอบ................................................................................................... 44

4 คุณภาพของแบบทดสอบ...................................................................................... 51

คุณลกั ษณะทด่ี ขี องแบบทดสอบ................................................................................... 51

การวเิ คราะหขอ สอบ..................................................................................................... 53

ความเช่อื มน่ั (Reliability) ........................................................................................... 62

ความเท่ียงตรง (Validity) ........................................................................................... 68

5 เครื่องมือวดั พฤตกิ รรมการเรียนรดู า นจติ พสิ ัย........................................................ 77

ระดับขน้ั พฤติกรรมทางดา นจติ พิสยั (Level of affective domain).......................... 77

ธรรมชาตขิ องการวัดพฤติกรรมดา นจติ พิสยั .................................................................. 78

วธิ กี ารวดั พฤตกิ รรมดานจิตพิสยั ................................................................................... 79

การสรางเครื่องมือวดั จิตพิสัย........................................................................................ 82

การตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมอื วัดจิตพิสัย............................................................ 92

6 เครอื่ งมอื วัดพฤติกรรมการเรยี นรดู านทกั ษะพสิ ยั ................................................... 99

ระดบั ข้นั ของพฤติกรรมดา นทกั ษะพิสัย........................................................................ 99

บทที่ หนา
ธรรมชาตขิ องการวัดพฤตกิ รรมดานทักษะพิสัย............................................................ 100
100
ลักษณะของการวดั พฤติกรรมดา นทกั ษะพิสยั ............................................................. 101
103
วธิ ีการวดั พฤตกิ รรมดานทักษะพสิ ัย............................................................................. 117
117
ขั้นตอนการสรา งเครอ่ื งมือวดั พฤติกรรมดานทกั ษะพิสัย............................................. 128
7 การประเมนิ ผลการเรยี นรูตามสภาพจรงิ และการประเมินภาคปฏบิ ตั ิ...................... 135
135
การประเมินผลการเรยี นรตู ามสภาพจรงิ ...................................................................... 136
137
การประเมินผลดา นการปฏบิ ัติ...................................................................................... 138
8 สถติ ิเบอ้ื งตนสาํ หรบั การวดั และประเมินผลการเรียนรู............................................ 142
146
ความรูเบื้องตนเก่ียวกับสถติ ิ......................................................................................... 151
153
ประเภทของสถิติ.......................................................................................................... 163
163
การแจกแจงความถ่ี (Frequency Distribution) ........................................................ 166
166
การวดั แนวโนมเขาสูสวนกลาง (Measure of Central Tendency).......................... 170
การวดั การกระจาย....................................................................................................... 175
175
สหสัมพนั ธ (Correlation) ......................................................................................... 177
187
ตาํ แหนง ของคะแนน....................................................................................................
193
คะแนนมาตรฐาน (Standard Score) .......................................................................
9 การตัดสนิ ผลการเรยี นรู และการใหขอมลู ยอนกลบั เพ่ือพฒั นาผเู รยี น.....................

การวัดผลการเรยี นรู.....................................................................................................

องคป ระกอบทใี่ ชใ นการตดั เกรด...................................................................................

ระดบั คะแนนหรอื เกรด................................................................................................
การใหข อมลู ยอนกลับเพอ่ื สงเสรมิ การเรียนรู................................................................
10 ตัวอยา งเคร่ืองมอื Digital / Application ดา นการวดั และประเมินผลการเรียนรู..........
เครอ่ื งมอื ดิจทิ ลั /Application ในการบริหารจัดการ....................................................

เครอ่ื งมือดิจิทัล/Application ในการสรา งเคร่อื งมือวัดประเมนิ .................................
เครือ่ งมือดิจิทัล/Application ในการตรวจขอสอบชนิดเลอื กตอบ...............................

ภาคผนวก แนวทางการวดั ประเมินผลในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและเอกสารหลักฐานการศึกษา

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 2551......................................................

บทที่ 1

หลกั การ แนวคดิ เก่ยี วกบั การวัดและประเมินผลการเรียนรู*

ฑติ ยา สทิ ธโิ สภาสกุล1

การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปน องคป ระกอบสําคัญในการจัดการเรยี นรู มีความสําคัญเช่ือมโยง
กับวัตถุประสงคการเรียนรู (Objectives) และการจัดประสบการณในการเรียนรู (Learning experience)
การทําความเขาใจหลักการ แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู จะทําใหเขาใจธรรมชาติ
ของการวัดและประเมินผลการเรียนรู อันจะสามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับสภาพการเรียนรทู ี่เกิดข้ึนจริง
ในหองเรียน

1.1 ความหมายของการทดสอบ การวดั ผล และการประเมนิ ผล
1.1.1 การทดสอบ (Testing)
การทดสอบ หมายถึง กระบวนการใชเครอ่ื งมือชนิดหน่ึงในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อวัดพฤติกรรม

ของมนษุ ย
การทดสอบ เปนกระบวนการของการสังเกตพฤติกรรมของมนุษย และบรรยายผลออกมาเปนตัวเลข

หรอื จํานวน
การทดสอบ หมายถึง การใชเครอ่ื งมอื ตาง ๆ หรือกระบวนการอันมีระบบทใี่ ชในการวดั พฤตกิ รรมของ

บคุ คลตัง้ แตส องคน หรอื มากกวา ขึ้นไป
การทดสอบ หมายถึง การนําเอาชุดเคร่ืองมือวัดหรือสิ่งเราไปกระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมให

ตอบสนองออกมา แลวกําหนดคุณลักษณะของพฤติกรรมที่แสดงออกมาดังกลาวดวยตัวเลข (พิชิต ฤทธ์ิจรูญ,
2554, น. 1)

จากความหมายดงั กลาวอาจสรุปไดวา การทดสอบ หมายถงึ กระบวนการใชเครื่องมอื อยางเปนระบบ
ในการเก็บรวบรวมขอ มลู เพ่ือนาํ ไปใชในการตรวจสอบพฤตกิ รรมของบุคคล เชน การตรวจสอบความสามารถใน
การเรียน

1.1.2 การวดั ผล (Measurement)
การวัดผล หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการใด ๆ ท่ีจะใหไดมาซ่ึงปริมาณ (ตัวเลข) จํานวนหนึ่ง อันมี
ความหมายแทนขนาดของสมรรถภาพที่เปนนามธรรมทีน่ กั เรยี นผนู ั้นมีอยูในตน (นงลักษณ วริ ัชชยั , 2546, น. 1)
การวัดผล หมายถึง กระบวนการที่จะกําหนดตัวเลขใหกับสิ่งของบุคคล หรือเหตุการณอยางมี
กฎ เกณ ฑ ห รือเป น การแป ลงคุณ ลักษ ณ ะใดคุ ณ ลักษ ณ ะห นึ่ งจากส่ิงที่ วัด นั้ น ให เป น ป ริม าณ
(ทวิ ัตถ มณีโชติ, 2549, น. 2)

*ปรับเพิ่มจากบทที่ 1 ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการวัดผลประเมินผลการศึกษา โดยสุภรณ ล้ิมบริบูรณและคณะ. (2559).

การวัดและประเมินผลการเรียนรู (Learning Measurement and Evaluation). คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บา นสมเดจ็ เจาพระยา
1อาจารยประจําสาขาวชิ าการประเมนิ ผลและวิจยั ทางการศึกษา

2 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

สรปุ ไดวา การวดั ผล หมายถึง กระบวนการในการกําหนดตัวเลขใหกับคุณลักษณะตาง ๆ ของคน
สัตว สิ่งของ หรือเหตุการณตาง ๆ อยางมีกฎเกณฑ คือ จะตองดําเนินการอยางมีข้ันตอน เปนระเบียบ
แบบแผน โดยมีเครอื่ งมอื ชว ยในการวดั ซง่ึ จะทาํ ใหไ ดต ัวเลขที่ใชแ ทนลกั ษณะของสิ่งทเ่ี ราตอ งการ

1.1.3 การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผล เปนการพิจารณาตัดสินชี้ขาดคุณคาหรือคุณภาพของส่ิงหนึ่งสิ่งใดโดยใชเกณฑหรือ
มาตรฐานท่กี ําหนดไวเ ปน หลัก (สมหวัง พธิ ยิ านวุ ัฒน, 2544, ออนไลน)
การประเมินผลเปนการนําเอาผลการวดั ผลตาง ๆ มาประมวลชข้ี าดในขัน้ สรุป
การประเมินผล หมายถึง การนําเอาผลจากการวัดหลาย ๆ ครั้ง มาลงสรุป ตีราคา คุณภาพของ
ผูเรยี นอยา งมหี ลกั เกณฑวา สงู ตาํ่ ดีเลว อยางไร (เพชราวดี จงประดับเกียรติ, 2555, ออนไลน)
สรุปไดวา การประเมินผล หมายถึง กระบวนการที่ถัดจากการวัด คือ เม่ือวัดไดป ริมาณแลวก็นําเอา
ปริมาณเหลานั้นมาพิจารณาวินิจฉัย ตัดสิน ใหคุณคาแลวสรุปคุณภาพของส่ิงน้ันๆ วาเปนอยางไร เชน ดี
เลว สงู ต่ํา ผาน ไมผาน เปน ตน

1.2 ธรรมชาตขิ องการวดั ผลทางการศกึ ษา
1.2.1 การวัดผลการศึกษาเปนการวัดในสิ่งที่เปนนามธรรม ซ่ึงไมสามารถวัดไดโดยตรง ตองใช

เคร่อื งมือหรือส่ิงเรา ใหบคุ คลแสดงพฤตกิ รรมออกมากอ น จงึ วดั พฤตกิ รรมน้ันและกาํ หนดคุณลกั ษณะพฤติกรรม
ท่ีแสดงออกดงั กลา ว ดวยตวั เลข เชน การวัดความรู การวดั ความถนัด การวัดความสนใจ ฯลฯ

1.2.2 การวัดผลการศึกษามีหนวยการวัดไมคงท่ีหรือมีความแตกตางกัน เพราะหนวยการวัดจะ
เปล่ียนไปตามเครอ่ื งมือทใ่ี ชวัด กฎเกณฑในการกําหนดตัวเลขเพ่ือแทนปริมาณของส่ิงท่ีตองการวดั ยังสามารถ
กาํ หนดไดแนนอนเหมือนกับเคร่ืองมือวัดทางดานกายภาพ แตในการวัดผลการศึกษาไดพยายามจัดหนว ยการ
วดั ใหคงที่ เชน การทําคะแนนดบิ ใหเ ปนคะแนนที (tscore) หรือ คะแนนมาตรฐานตาง ๆ

1.2.3 การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน (Error) การวัดผลและการประเมินทางการศึกษาก็
เชนเดียวกันกับการวัดในดานอื่น ๆ ยอมตองมีความคลาดเคล่ือนไมมากก็นอย ความคลาดเคล่ือนอาจเกิดจาก
เคร่ืองมือที่ใชวัด วิธีการวัด ตัวผูวัด ตลอดจนสิ่งแวดลอม ฯลฯ ดังน้ันในการวัดผลการศึกษาจึงควรกระทํา
อยางระมดั ระวงั เพื่อใหเ กดิ ความคลาดเคล่อื นนอ ยทีส่ ุดเทาทีจ่ ะทาํ ได

1.2.4 การวัดผลทางการศึกษาเปนการวัดที่ไมสมบูรณทั้งหมด เพราะเราไมสามารถวัดลักษณะตางๆ
ไดท้ังหมด เราสามารถวัดไดบางสวนของเน้ือหา หรือพฤติกรรมท่ีจะสุมออกมาเปนตัวแทนเทานั้น เชน
ตองการวัดความรูความเขาใจเกี่ยวกับคําศัพท ซึ่งนักเรียนไดเรียนรูมาแลวหลายพันคํา เราไมสามารถนํา
คําศพั ททุกคาํ มาสอบวดั ได อาจถามไดประมาณ 50 คาํ ที่คิดวาเปนตัวแทนของคําศพั ทท ัง้ หมด

1.2.5 การวัดผลการศึกษาเปนงานสัมพันธ เพราะผลที่ไดจากการวัดไมมีความหมายในตัวเองจะมี
ความหมายก็ตอเมือ่ นําผลการวดั ไปสัมพันธกับส่งิ อ่นื เชน คะแนนเฉลย่ี ของกลุม เกณฑทต่ี ัง้ ไวลว งหนา

ธรรมชาตทิ ั้ง 5 ประการดงั กลาวขา งตน อาจสรุปไดว า การวดั ผลทางการศกึ ษาเผชิญกบั ปญหาและ
ขอยุงยากหลายประการ เชนเดียวกับการวัดดานอ่ืนๆ แตปญหาและขอยุงยากของการวัดผลการศึกษาจะมี
มากกวา เพราะการวัดทางการศึกษาเปนการวดั ที่เก่ียวกับบุคคลหรือมนุษย ซ่งึ มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอและ
ยากแกการควบคุม อยางไรกต็ ามเราถอื วา การวัดผลเปนเครอื่ งมือ (Tools) หรอื วิถีทาง (Means) ทีจ่ ะนําไปสู

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 3

เปาหมาย (Ends) และมีสวนที่จะชวยใหครู ผูบรหิ าร ตลอดจนผูเกี่ยวของอื่นๆ พัฒนางานศึกษาของเด็กใหดี
ขน้ึ (เพชราวดี จงประดับเกยี รติ, 2555, ออนไลน)

1.3 ความมงุ หมายของการวัดผลการศกึ ษา
กอ นทําการวัดผลการศึกษาทุกคร้ัง ผทู ี่จะทาํ การวดั ผลจะตองต้ังจดุ ประสงค กอนวา ตอ งการวดั ผลเพื่อ

อะไร หรือทําการวัดผลไปทําไม โดยท่ัวไปเราทําการวัดผลเพ่ือจุดมุงหมาย 5 ประการ ดังน้ี (เพชราวดี
จงประดบั เกียรติ, 2555, ออนไลน)

1.3.1 เพือ่ จัดตําแหนง (Placement) เปนการวัดผลเพื่อใหท ราบวา ผูเรียนมคี วามรคู วามสามารถอยู
ในระดบั ใดของกลุม มี 2 ลกั ษณะ คอื การคดั เลอื กและสอบเพอ่ื จาํ แนกผเู รียนตามกลมุ ความสามารถ

1.3.2 เพื่อเปรียบเทียบ (Assessment) เปนการวัดเพื่อเปรียบเทียบความสามารถหลังจากท่ีนักเรียนได
เรยี นรมู าแลววานกั เรียนแตละคน หรือแตล ะกลุมมีการพัฒนาหรือมีความงอกงามข้ึนมาจากเดิมเทา ไร

1.3.3 เพ่ือวินิจฉัย (Diagnostic) เปนการวัดเพื่อคนหาสาเหตุของความบกพรองในการเรียน เชน
นกั เรียนเรยี นวชิ านีอ้ อนเพราะเหตุใด เพื่อครูจะไดทาํ การแกไ ขปรบั ปรงุ หรือจัดสอนซอ มเสริมใหต รงจดุ

1.3.4 เพื่อพยากรณ (Prediction) เปนการวัดเพื่อการนําผลไปทํานายเหตุการณในอนาคตของ
ผเู รียน เชน เพื่อทาํ นายวา นกั เรียนจะเรียนสาขาวิชาน้ไี ดสําเรจ็ หรือไม นยิ มใชใ นการสอบคัดเลือกเขาเรียนตอ
โดยใชแบบทดสอบความถนัดเปนเครือ่ งมอื

1.3.5 เพ่อื ประเมินผล (Evaluation) เปนการนาํ ผลการวดั ไปใชเพอื่ เปนขอมลู ในการตัดสนิ ใจวาสิ่งที่
ตองการวัดน้ันมีคุณภาพเหมาะสมเพียงใด เชน การตัดสินผลการเรียนการประเมินผลหลักสูตร การสอน
การบริหารงาน เปน ตน (เพชราวดี จงประดบั เกยี รติ, 2555, ออนไลน)

1.4 หลักของการวัดผลการศกึ ษา
1.4.1 กาํ หนดวัตถุประสงคการวัดผลประเมินผลใหช ัดเจน เพอื่ จะไดใชวธิ กี าร และเลือกเครอื่ งมือให

เหมาะสมกับการวัดแตล ะครง้ั
1.4.2 ทําการวัดใหตรงกับวัตถปุ ระสงคทต่ี ้ังไว เพอ่ื ใหไ ดผลการวดั ตรงตามความตอ งการอยา งแทจริง
1.4.3 เลือกเครอ่ื งมอื ใหเหมาะกบั วัตถุประสงคและลักษณะของส่ิงท่ีตอ งการวัด
1.4.4 ใชเครื่องมือท่ีมีคุณภาพ เพราะผลการวัดข้ึนอยูกับคุณภาพของเคร่ืองมือ คือถาเครื่องมือมี

คณุ ภาพดผี ลการวัดเชอ่ื ถอื ได ถา เคร่ืองมอื มีคุณภาพไมด ีผลการวัดกค็ ลาดเคล่ือน
1.4.5 มีความยุติธรรมในการวัด ผลการวัดท่ีดีจะตองไดมาจากการวัดที่ปราศจากความลําเอียงไมมี

ความไดเ ปรยี บเสยี เปรยี บระหวา งผถู กู วดั ดวยกัน
1.4.6 แปลผลอยางถูกตอง โดยตองทราบวาคะแนน หรือผลการวัดอยูในระดับใดจะทําใหมี

ความหมายโดยวธิ ีใด จะเปรียบเทยี บกบั ส่งิ ใด เชน เทยี บกบั กลมุ หรือเกณฑ
1.4.7 นําผลการวัดท่ไี ดมาใชใหเกิดประโยชนค ุมคา

4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

1.5 ประเภทของการวัดผลประเมินผล
ประเภทของการวัดผลประเมินผล มรี ูปแบบทแ่ี ตกตา งกันขึ้นอยกู ับเกณฑท ี่ใชใ นการจาํ แนกดังนี้
1.5.1 จําแนกตามจดุ ประสงคก ารประเมนิ แบง เปน 3 ประเภท (ทิวตั ถ มณีโชติ, 2549) ดังน้ี
1) การประเมนิ ผลกอ นสอน (Preassessment or Preevaluation)
2) การประเมนิ ผลยอย (Formative Evaluation)
3) การประเมินผลรวม (Summative Evaluation )
1.5.2 จาํ แนกตามระบบการวดั ผล แบงเปน 2 ประเภท ดงั นี้
1) การวดั ผลแบบองิ กลุม (Normreferenced Measurement)
2) การวดั ผลแบบองิ เกณฑ (Criterionreferenced Measurement)
1.5.3 จาํ แนกตามวิธกี าร/เปาหมายการประเมิน แบงเปน 3 ประเภท ดังน้ี (สรญั ญา จนั ทรชสู กุล, 2561)
1) การประเมินผลการเรยี นรู (Assessment of learning)
2) การประเมินขณะเรยี นรู (Assessment as learning)
3) การประเมนิ เพ่อื การเรียนรู (Assessment for learning)
โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

1.5.1 จําแนกตามจุดประสงคข องการประเมิน
1) การประเมนิ ผลกอนสอน
การประเมินผลกอนสอน เปนการประเมินความรูเดิมกอนทําการสอน ซึ่งจะมุงวัด

ความสามารถของนักเรยี น (Student Performance) ในดานตา ง ๆ ดงั น้ี
(1) ผูเรยี นมีความสามารถทจ่ี ําเปน สาํ หรบั การเรียนการสอนในขน้ั ตอ ไปหรือไม
(2) ผูเรยี นมคี วามรูพน้ื ฐานหรอื ส่งิ ท่จี ะตองเรียนรมู าแลวมากนอ ยเพียงใด
(3) กจิ กรรมการเรียนการสอนทจ่ี ะนํามาเสนอใหน กั เรยี นควรเปนอยางไร

ดงั น้นั ผลของการประเมนิ ผลกอนสอนจะชว ยใหสามารถรวบรวมขอ มลู ตาง ๆ ตอ ไปนี้
(1) นักเรียนคนใดควรที่จะตองกําหนดใหมีความรอบรู (Mastered) ทักษะจําเปนขั้นตน

กอ นท่ีจะเรมิ่ ทําการสอน
(2) นกั เรียนคนใดควรทีจ่ ะไดร บั การยกเวนไมตองเรียนในบางจุดประสงคของการเรยี น
(3) นกั เรียนคนใดควรที่จะตองจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเฉพาะกรณีให

2) การประเมนิ ผลยอ ย
การประเมินผลยอยเปนการประเมินผลระหวางการสอนในแตละรายวิชา โดยจะทําการ

ทดสอบหลังจากจบการเรียนแตละหนวยการสอนแลว จุดประสงคหลักของการประเมินผลยอยก็คือ การวัด
ระดับความรอบรู (Mastered) และการคนหาบางจุดท่ีนักเรียนไมสามารถเรียนใหรอบรูได หรือเปนการ
ประเมินวานักเรียนไดเกิดการรอบรูแลวอยางแทจริงหรือไมน้ันเอง หรืออีกประการหน่ึง ก็คือการประเมิน
ขอบกพรองในการสอนอันเปนกระบวนการนําไปสูการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยอาศัยการวัดผลยอย ๆ
หลายครั้งหลายวิธี ตามจุดประสงคในแตละบทเรียน ซึ่งเปนขอมูลยอนกลับ (Feedback) วานักเรียนเกิด
ความรอบรูหรอื สามารถผานหนว ยเรียนขน้ั ตน พรอมท่จี ะเรยี นในหนวยตอ ไปแลวหรือยงั

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 5

3) การประเมนิ ผลรวม
การประเมินผลรวม เปนการประเมินผลเรียนครั้งละหลาย ๆ หนวยการสอนหรือส้ินสุด

การเรียนการสอนวิชาน้ันแลว เพื่อเปนขอมูลสําหรับตัดสินความสามารถของผูเรียน หรือดูวาผูเรียนเกิด
ความรอบรูในวิชาน้ันหรือไม การประเมินผลรวมในแตละวิชาจึงมักทําเพียง 23 ครั้งตอวิชาเทาน้ัน
จดุ ประสงคห ลกั ของการประเมินผลรวมกเ็ พือ่ ท่จี ะ

(1) ใหเกรด
(2) รบั รองทกั ษะและความสามารถ
(3) พยากรณค วามสาํ เร็จในรายวชิ าทต่ี อ เนอ่ื งตอไป
(4) เปน จดุ เร่ิมตน ของการสอนในรายวิชาทตี่ อเนอ่ื งตอ ไป
(5) เปนขอมูลยอนกลับใหน ักเรยี น
(6) เปรยี บเทยี บผลลัพธบ างประการของนักเรยี นแตละกลมุ

1.5.2 จาํ แนกตามระบบการวัดผล
1) การวัดผลแบบองิ กลมุ
การวัดผลแบบอิงกลุม เปนการวัดเพื่อทําใหทราบผลการเรียนของบุคคลเม่ือเทียบกับคนอ่ืน

หรอื ตรวจสอบความสามารถในการเรียนรขู องผเู รียนวา เกงออน ดีเลว เพยี งใด เม่อื เทียบกับคนสว นใหญ
การวัดในลักษณะดังกลาว จึงเปนการวัดที่มีเปาหมายในการแบงระดับความสามารถของผูเรียนออกเปนกลุม
โดยใชความสามารถทว่ั ไปของกลมุ เปนเกณฑในการแบง ทัง้ นีย้ ึดความคิดท่วี า บุคคลใด เกง ออน ดีเลว
เพียงใดน้ัน ยอมเกงออนดีเลวกวาคน ท่ัว ๆ ไป ดังนั้น การพิจารณาตัดสินผลการเรียน จึงใชสภาพหรือ
ลกั ษณะของกลุมเปนเกณฑพจิ ารณา

คาํ วา “กลุม (Norm)” ในท่ีนก้ี ็คือคาท่ีใชแทนสภาพหรือลักษณะโดยสวนรวมทําหนาท่ีเปน
ตัวแทนลักษณะของผูเรียนทั้งหมด เชน คาเฉลี่ย คามัธยฐาน เปนตน ดังนั้นการวัดผลแบบอิงกลุมจึงใชวิธี
เปรียบเทียบความสามารถของบุคคลกับคาตัวแทนของกลุม แลวสรุปผลการเปรียบเทียบเหลาน้ันใหอยูใน
ลักษณะความสัมพันธกับกลุม หรือเปนอับดับความสามารถ เชน แดงเกงกวาเพ่ือนในกลุมอยูรอยละ 80 หรือ
แดงสอบไดท ี่ 1 ในหอ ง ก. (เยาวดี วิบูลยศรี, 2540, น. 3032)

2) การวดั ผลแบบอิงเกณฑ
การวัดผลแบบอิงเกณฑ เปนการตรวจสอบความสามารถในการเรียนรูของผูเรียนวามีพฤติกรรม
หรอื คุณลักษณะตาง ๆ ถึงระดับของเปาหมายที่ตองหรือไม หรอื เปนไปตามความคาดหวัง ซ่ึงกําหนดไวเปน
เกณฑมากนอยเพียงใด ถาผูเรยี นมีพฤตกิ รรมความสามารถถึงเกณฑท่ีกําหนดไวก็ถือวา บรรลุเปาหมาย และ
เปนผูที่รอบรูแลว (Mastered) ถาความสามารถตํ่ากวาเกณฑท่ีตองการ ก็ถือวายังไมผาน หรือไมเปนไป
ตามคาดหวงั ตองใชเวลาสําหรับแกไขปรับปรุงหรือซอมเสริม การวัดแบบองิ เกณฑ จึงเปนการเปรียบเทียบ
ระหวา งความสามารถของผูเรยี นกับเกณฑท ่กี ําหนดไว
คําวา “เกณฑ (Criterion)” ในที่น้ี ก็คือคุณลักษณะท่ีคาดหวงั จะใหเกิดกับผูเรียน หลังจากเสร็จการ
เรียนการสอนแลว เพ่ือใชเปนมาตรฐานข้ันตํ่าสุด สําหรับการยอมรบั คุณภาพของผูเรียน และใชเปนเคร่ือง
ตัดสินวาผูเรียนผานหรือบรรลุเปาหมายของการเรียนการสอนหรือไม การกําหนดเกณฑจึงตองกําหนดเปน

6 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

เกณฑข้ันต่ําที่ระบุพฤติกรรมที่สําคัญและมีคุณคาตอการเรียนรูของผูเรียน เกณฑที่กําหนดจะสูงตํ่ามากนอย
เพียงใด ผูกําหนดตองคํานึงความเหมาะสมหลายๆ ดานประกอบกัน เชน พ้ืนความสามารถของนักเรียน
ประสิทธิภาพของการสอน เปนตน เกณฑท่ีกําหนดมีไดหลายลักษณะ ทั้งในรูปเวลา ปริมาณ คุณภาพ
ในการปฏิบัติ เชน มุงหวงั ใหผูเรยี นปฏิบัติสิ่งหน่ึงส่ิงใดไดภ ายในเวลา 10 นาที ไดรอยละ 80 หรือกระทํา
ไดอยางถูกตองถูกสัดสวนที่ตองการ เปนตน การสรุปผลการสอบแบบอิงเกณฑ จึงเสนอในรูป
การเปรยี บเทียบระหวา งความสามารถของบคุ คลกับเกณฑทกี่ ําหนดไว เชน แดงไมผ านเรอ่ื งเศษสวน ดําผาน
จุดประสงคไ ปแลว 80 ขอ ยังเหลือ 20 ขอ (สมุ าลี จันทรช ลอ, 2542, น. 153)

1.5.3 จาํ แนกตามวิธีการ/เปา หมายการประเมิน
1) การประเมนิ ผลการเรียนรู (Assessment of learning: AoL)
การประเมินผลการเรยี นรู (Assessment of learning) เปน การประเมินสรุปรวม (summative

assessment) เม่ือส้ินสุดกระบวนการเรียนรูเพ่ือตัดสินคุณคาในการบรรลุวัตถุประสงคหรือผลลัพธการเรียนรู
ซง่ึ ครผู สู อนมบี ทบาทหลักในการประเมิน

2) การประเมนิ ขณะเรยี นรู (Assessment as learning: AaL)
การประเมินขณะเรียนรู (Assessment as learning) เปนการขยายบทบาทของการประเมิน
ความกาวหนาในการเรียนรู (formative assessment) ดวยกระบวนการรวบรวมหลักฐานขอมูลเชิงประจักษ
เก่ียวกับการเรียนรูของผูเรียนขณะเรียนรู เพื่อชว ยใหผูเรียนตระหนักในการเรียนรูของตน ซึ่งผูเรียนมีบทบาทหลัก
ในการประเมิน ผานกระบวนการคดิ ทบทวน สะทอนการเรยี นรูของตนเอง
3) การประเมินเพอ่ื การเรยี นรู (Assessment for learning: AfL)
การประเมนิ เพ่ือการเรยี นรู (Assessment for learning) การประเมินกระบวนการและวิธีการ
เรียนรูของผูเรียน ใชผลการประเมินยอนกลับเพื่อวินิจฉัยปญหาการเรียนรูของผูเรียน ปรับปรุงวิธีการเรียนรู
หรือวิธกี ารทาํ งานของผเู รียนเพอื่ พัฒนาผูเ รยี นเปน รายบุคคล

1.6 จรรยาบรรณของนกั วัดผล
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู ครูผูสอนในฐานะที่เปนนักวัดผลจะตองยึดจรรยาบรรณของนัก

วัดผลไวอยา งเครง ครัด ไดแ ก
1.6.1 มีความซ่ือสัตยสุจริต คือมีใจบริสุทธิ์ตองานวัดผลการศึกษา ไมคดโกง ไมเห็นแกอามิสสินจาง

รางวลั เชน ไมน ําขอสอบ หรือคัดลอกขอ สอบออกจากหองสอบ เปนตน
1.6.2 มีความยุติธรรม คือใหความยุติธรรมแกผูเขารับการวัดผลทุกคน เชน ตรวจใหคะแนนโดยไม

ลาํ เอยี ง ไมใชอ ารมณในการตรวจขอ สอบ เปนตน
1.6.3 มีความขยันและอดทน งานวัดผลการศึกษาตองทําอยางสม่ําเสมอตลอดเวลา ดังนั้นจะตองมี

ความอดทน ขยนั มคี วามมุมานะ ไมเ ฉือ่ ยชา
1.6.4 มีความละเอียดถถ่ี วนและรอบคอบ งานดานการวดั ผลการศึกษาน้นั จะตองละเอยี ด ถี่ถวนและ

รอบคอบ เพราะถาเกิดความผิดพลาดก็มักเกิดปญหาตามมามากมาย เชน การทําขอสอบ การบรรจุซอง การ
กรอกคะแนน เปน ตน

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 7

1.6.5 มีความรับผิดชอบสูง นักวัดผลการศึกษาน้ันจะตองสามารถเก็บความลับไดดี ผูออกขอสอบ
จะตอ งทําอยา งมีประสทิ ธภิ าพและไมท าํ ใหขอสอบรั่วไหล ไมเผอเรอ ตอ งทํางานที่รบั มอบหมายใหสาํ เร็จลลุ วง

1.6.6 ตรงตอเวลา นักวัดผลจะตองเปนคนท่ีตรงตอเวลา เชน การนัดสงขอสอบ นัดวันสอบ นักเรยี น
การสงผลการสอบทันตามกําหนด เปน ตน

1.6.7 สนใจในเทคนิคการวัดผลอยางสมํ่าเสมอ เม่ือมีงานดานการวัดผล นักวัดผลจะตองพยายาม
วดั ผลอยา งเหมาะสมในเชงิ วชิ าการ ใชความรคู วามสามารถอยา งเต็มที่

1.7 ประโยชนข องการวดั ผลการศกึ ษา
การวดั และการประเมินผลทางการศึกษานัน้ เปนบทบาททีส่ าํ คญั ของโรงเรยี นทีจ่ ะตองกระทาํ เพอ่ื ชวย

ใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผล ประโยชนที่พึงไดจากการวัดและการประเมินทาง
การศกึ ษาอาจจําแนกไดด ังน้ี (อนนั ต ศรโี สภา, 2522, น. 12)

1.7.1 ประโยชนตอ ครู
1) ชวยใหค รูทราบถึงผลการเรยี นของเด็ก
2) ชว ยใหค รูทราบวา เดก็ คนใดเกง–ออนดา นใด
3) ชว ยใหครูทราบถงึ อัตราพฒั นาการของเดก็
4) ชวยใหครูสามารถกําหนดและปรบั ปรุงจุดมงุ หมายในการเรยี นการสอน
5) ชวยใหค รทู ราบถึงขอบกพรอ งในการสอนของตนจะไดหาทางแกไขปรับปรุงใหเหมาะสมและมี

ประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้นึ
6) ชวยใหครูรูจักเด็กแตละคนไดดียิ่งข้ึน เชน รูวาเด็กสนใจตองการอะไร แตละคนเปนอยางไร

เปน ตน
1.7.2 ประโยชนตอ นักเรยี น
1) ชวยใหน ักเรียนทราบถงึ ระดบั ความรูความสามารถของตนเอง
2) ชว ยกระตุนใหน กั เรยี นสนใจตอการเรยี นย่งิ ข้นึ
3) ชวยสรางนิสัยในการเรียนใหดีย่ิงขึ้น เชน ฝกความขยันขันแข็ง ความพรอม การเตรียมตัวใน

การสอน ฯลฯ
4) ชวยใหนักเรียนทราบและเขาใจถึงจุดมุงหมายในการเรียน ตลอดจนความตองการของครูได

ถูกตอง
1.7.3 ประโยชนตอการแนะแนว
1) ชว ยใหผ ูแ นะแนวทราบถึงความสามารถของนกั เรียน
2) ชวยใหผูแนะแนวสามารถนําเอาขอมูลที่ไดจากการวัดผลไปใชในการแนะแนวไดถูกตอง เชน

การแนะแนวทางการศกึ ษาตอ การอาชพี ปญหาสวนตัวของเดก็ นกั เรียน เปนตน
1.7.4 ประโยชนต อ การบรหิ าร
การวัดและการประเมินทางการศึกษา หากไดกระทําอยูสม่ําเสมอจะชวยใหผูบริหารวางแผน

การบริหารงานไดรดั กุมข้ึน ตลอดจนชวยใหผูบ ริหารทราบถงึ ขอบกพรองเก่ียวกับการเรียนการสอน จะไดห าทาง

8 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

ปรับปรุงแกไขไดทันทวงที นอกจากน้ีผูบริหารยังจําเปนตองใชการวัด และการประเมินกิจการบริหาร เชน
การคัดเลอื กบคุ คลเขาทํางานในตําแหนงตา ง ๆ การจดั แบงชน้ั เรียน เปนตน

1.7.5 ประโยชนตอการวจิ ัย
การวดั ผลการเรยี นรนู ับเปน กระบวนการและเคร่ืองมือทีส่ าํ คญั ของการวจิ ยั ขอ มลู ตาง ๆ ทีไ่ ดจากการ
วัดท่ีถูกตองเท่ียงตรง และเช่ือม่ันได ยอมอํานวยประโยชนโดยตรงตอการวิจัย และผลของการวิจัยยอม
สามารถนําไปแกปญหาตาง ๆ ไดเปนอยางดี เชน ในดานการบริหาร นโยบาย หลกั สูตร เน้ือหาวิชา วธิ ีสอน
ฯลฯ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน หากไมมีขอมูลผลการวัด ก็ไมสามารถ
ทําการประเมนิ ได การวดั ผลทางการศกึ ษาเปนการวดั ในสิง่ ทเ่ี ปน นามธรรม มีหนว ยการวัดไมคงท่ี มีความคลาด
เคลื่อน (Error) ตลอดจนสัมพันธกับส่ิงอ่ืน มีหลายประเภทขนึ้ อยูกับเกณฑที่ใชในการจําแนก เชน ถาจําแนกตาม
จุดป ระ ส งค ก ารป ระ เมิ น จะ แบ งเป น ป ระ เมิ น กอ น สอ น (Preassessment or Preevaluation)
การประเมินผลยอย (Formative Evaluation) และการประเมินผลรวม (Summative Evaluation )
ถาจําแนกตามระบบการวัดผล จะเปนการวัดผลแบบอิงกลุม (Normreferenced Measurement) และ
การวัดผลแบบอิงเกณฑ (Criterionreferenced Measurement) ถาจําแนกตามวิธีการ/เปาหมาย
การประเมิน จะแบงเปนการประเมินผลการเรียนรู (Assessment of learning) การประเมินขณะเรียนรู
(Assessment as learning) และการประเมินเพื่อการเรียนรู (Assessment for learning) อยางไรก็ดี
การวัดและประเมินผลการเรียนรูจะไมสามารถบรรลุผล หากครูผูสอนไมมีจรรยาบรรณในการใช และตอง
คาํ นึงถงึ ประโยชนที่จะเกิดกับผูเรียน สถานศึกษา ฯลฯ เปน สําคญั

*******************

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 9

กจิ กรรมทายบท

จงทําแบบฝกหดั ตอไปน้ี
แบบฝก หดั ท่ี 1

คาํ ช้แี จง จงพจิ ารณาขอ ความตอ ไปน้ี วา เปนการวัดผลหรอื การประเมนิ ผล
1. วจิ ารณ ชกมวยเกง
2. รตั นาสอบวดั จุดประสงคท ี่ 1 ผา น
3. อารยามเี พชรหนัก 10 กะรัต
4. สุนิสาไดเกรด A วชิ าภาษาไทย
5. สมัครไดค ะแนนเสียงเกา แสนคะแนน
6. อรวีรองเพลงไพเราะ
7. วชั ราทาํ แบบทดสอบได 80 คะแนน
8. สทุ นิ ขับรถดว ยความเรว็ 120 กม./ชม.
9. บานของบษุ บาอยูห างจากบา นของยรุ นนั ท 3 กโิ ลเมตร
10. นางสาวไทยปน ้ีสวยมาก

*******************

แบบฝก หัดที่ 2
คาํ ชแ้ี จง จงตอบคําถามตอไปน้ี ถาตอ งการทราบขอ มูลตอไปน้ี ครูตองทาํ การวัดผลเพ่อื จุดมงุ หมายใด

1. นกั เรียนคนใดเกงเปน ที่ 1 ของหอ ง
2. ผเู ขารับการอบรมไดรับความรูเพม่ิ ขนึ้ ไหม
3. พัชรจี บ ม.6 แลว ควรเรียนตอ สาขาใด
4. วิธีการสอนแบบใหมข องครทู ิพยด ีหรอื ไม
5. เหตุใด ด.ญ.นอ ยจึงอา นหนังสอื ไมออก
6. โสรยาสอบวายน้ําผานหรือไม
7. อนชุ าไดร ะดับผลการเรียนเทาใด เม่อื สนิ้ สดุ ภาคเรยี น
8. อนาคตเพชรสุดาจะเปน ครูไดห รอื ไม
9. วิวัฒนควรเขาเรยี นในหองเกงหรือออนดี
10. ผลการเรียนของจินตนาพฒั นาข้ึนหรอื ไม

*******************

10 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

แบบฝกหัดท่ี 3
คาํ ช้แี จง จงพจิ ารณาขอความตอไปน้วี า ตอ งทําการประเมินผลในระยะใด

1. นักเรียนควรไดผ ลการเรียนระดับใด
2. ครคู วรปรับปรุงการสอนหรือไม
3. นกั เรียนมีความรเู ดิมอยูเพียงใด
4. นกั เรยี นเขาใจแตล ะบทเรียนหรือไม
5. ครูควรปรบั กจิ กรรมอยา งไรจึงจะเหมาะกบั นักเรียน
6. นักเรยี นสมั ฤทธผ์ิ ลในเน้ือหาทง้ั หมดหรือไม
7. นักเรียนบกพรอ งในเน้อื เร่ืองใด
8. นักเรียนควรซํ้าชนั้ หรือควรเล่ือนชน้ั

*******************

แบบฝกหัดที่ 4
คาํ ชแ้ี จง จงพจิ ารณาขอ ความตอไปนวี้ า เปนการรายงานผลแบบองิ กลมุ หรอื อิงเกณฑ

1. รัตนาวดี สอบไดล ําดับท่ี 1
2. พนิ ทพิ ยส อบบทที่ 1 ไมผา น
3. รังษีเกง กวาเพือ่ นๆ อยรู อ ยละ 70
4. มคี นไดค ะแนนสูงกวาอาทรรอยละ 60
5. มนตรา ได E เพราะทําคะแนนไมถงึ รอยละ 50
6. ทพิ ยล ดาทําขอสอบวดั จดุ ประสงคท ่ี 1 ผา นรอยละ 80
7. เปย ทิพยไดค ะแนนสูงกวาคะแนนเฉลย่ี ของหอ งเล็กนอ ย

*******************

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 11

รายการอางอิง

ทิวัตถ มณีโชติ. (2549). การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ :
ศูนยสง เสรมิ วิชาการ.

นงลักษณ วิรัชชัย. (2546). การตัดสินผลการเรียนรู : เกรดและการตัดเกรด ในการประเมินผลการเรียนรู
แนวใหม.กรุงเทพฯ : โรงพิมพจ ุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .

พิชิต ฤทธ์ิจรูญ. (2554). การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในช้ันเรียน (พิมพคร้ังท่ี 3).
กรุงเทพฯ : คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร.

เพชราวดี จงประดับเกียรติ. (2555). การวัดผลประเมินผลการศึกษา (ออนไลน). สืบคนจาก
http://petcharawadee1.blogspot.com/

สรัญญา จันทรช สู กุล. (2561). แนวคดิ หลกั การ และยุทธวธิ กี ารประเมนิ ผลเพือ่ การเรยี นรู. วารสารการวัดผล
การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปที่ 24 ฉบับที่ 1 : กรกฎาคม พ.ศ. 2561 คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

สุภรณ ลิ้มบริบูรณและคณะ. (2559). การวัดและประเมินผลการเรียนรู (Learning Measurement and
Evaluation). กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท 21 เซนจูร่ี จํากัด.

สุมาลี จันทรชะลอ. (2542). การวัดและการประเมินผล (Measurement and Evaluation). กรุงเทพฯ :
บริษทั พิมพด ี.

อนันต ศรีโสภา. (2522). แนวการตอบแบบฝกหัดการวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะ
ศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

บทที่ 2

พฤติกรรมทางการศึกษา และ เคร่ืองมือวัดพฤตกิ รรมการเรียนรู*

เพ็ญพร ทองคาํ สุข1

พฤติกรรมทางการศึกษา เปนคุณลักษณะสําคัญท่ีครูผูสอนจะตองใหความสําคัญ เนื่องดวย
กระบวนการเรียนรู คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมไปสูพฤติกรรมใหม ดังนั้นการทําความเขาใจพฤติกรรม
ทางการศึกษา จะทําใหสามารถเขา ใจ เขา ถึงพฤติกรรมของผูเรียน ตลอดจนเลือกใช สรางเคร่ืองมือวัดประเมิน
การเรียนรูไดอยางถูกตองเหมาะสม เคร่ืองมือวัดผลการเรียนรูมีหลายประเภท ครูผูสอนตองเลือกใชให
เหมาะสมกบั พฤติกรรมทางการศึกษาท่ตี อ งการวดั

2.1 มาตรการวดั (Measurement Scales)
มาตรการวัด ในการวัดผล เปนระดับของขอมูลที่ไดจากการวัดผล โดยการกําหนดตัวเลขเพ่ือแทน

คุณลักษณะหรือ ปริมาณของส่ิงท่ีตองการวัด มีมาตรการวัดสามารถแบงไดเปน 4 ระดับ (ชูศรี วงศรัตนะ,

2541, น. 6) ดงั นี้
2.1.1 มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale) เปนระดับการวัดในระดับตํ่าสุด ซ่ึงตัวเลขที่กําหนดขึ้น

ใชแทนส่ิงท่ีตองการวัด ในมาตรน้ีเปนเพียงการกําหนดขึ้นเพ่ือใชเรียกช่ือ (Name) หรือเปนการจัดประเภท
(Categories) เพ่ือแสดงความแตกตางกนั เทา น้ัน และตัวเลขเหลาน้ไี มม คี วามหมายใดๆ ในทางคณติ ศาสตร เชน

รถเมลสาย 40 หองเรียน 3011 1 แทน เพศชาย 2 แทน เพศหญิง หมายเลขเสื้อของนักกีฬา หมายเลข

โทรศัพท ภูมิลําเนา เชื้อชาติ อาชีพ ฯลฯ ตัวเลขในมาตรนี้จะนํามาเปรียบเทียบกันไมได บอกไดแตเพียงวา

สิง่ นน้ั คอื อะไร จดั อยูในประเภทใด
2.1.2 มาตรเรียงอันดับ (Ordinal Scale) เปนการกําหนดตัวเลขใหเขากับลักษณะขอมูลตาม

ความมากนอย เชน อันดับที่ของผลการเรียน การประกวดเรยี งความ การประกวดพาน การประกวดนางงาม ฯลฯ

ตวั เลขในมาตรนจ้ี ะบอกความหมายในลักษณะมากนอยลดหลั่นกันตามลาํ ดับ
2.1.3 มาตรอันตรภาค (Interval Scale) เปนการกําหนดตัวเลขใหเขากับส่ิงท่ีตองการวัดเพ่ือแทน

ปริมาณของส่ิงนั้น โดยชวงหางของแตละหนวยมีคาเทากัน ตัวเลขเหลาน้ีสามารถนํามาบวก ลบ คูณและหาร

กันได แตไมมีศูนยท่ีแทจริง มีเพียงศูนยสมมติ ดังน้ันจึงมีคาเปน บวก หรือ ลบ ก็ได เชน การวัดอุณหภูมิ

คะแนนสอบวัดความรู คะแนนจากแบบสอบถาม พลงั งาน เปน ตน
2.1.4 มาตรอัตราสวน (Ratio Scale) เปนการกําหนดตัวเลขใหเขากับส่ิงที่ตองการวัดเพ่ือแทน

ปริมาณของสิ่งนั้น โดยชวงหางของแตละหนวยมีคาเทากัน และคา 0 จะเปนศูนยที่แทจริง (Absolute Zero)

ตวั เลขเหลา นสี้ ามารถนํามาบวกลบคณู หารกันได เชน การวัดน้ําหนัก สว นสูง ความยาว พ้นื ท่ี ความเร็ว ฯลฯ

*ปรับเพิ่มจากบทท่ี 2 เครื่องมือที่ใชในการวัดผลการศึกษา โดยสุภรณ ล้ิมบริบูรณและคณะ. (2559). การวัดและ

ประเมินผลการเรียนรู (Learning Measurement and Evaluation). คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บา นสมเดจ็ เจาพระยา
1อาจารยประจาํ สาขาวชิ าการประเมนิ ผลและวิจยั ทางการศึกษา

14 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

2.2 การวัดพฤตกิ รรมทางการศึกษา
จุดมุงหมายทางการศึกษาทุกวิชา ตามแนวคิดและทฤษฎีของบลูม (Bloom) มุงเนนใหผูเรียนเกิด

พฤติกรรม 3 ดาน ( อางถึงใน ศิริชัย กาญจนวาสี, 2548) ไดแก ดานพุทธิพิสัย
(Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) ดงั น้ี

2.2.1 ดานพทุ ธพิ ิสัย (Cognitive Domain) เปน พฤติกรรมทางสมองของบคุ คลมี 6 ขั้น คอื
1) ความรคู วามจาํ (Knowledge)
2) ความเขาใจ (Comprehension)
3) การนําไปใช (Application)
4) การวิเคราะห (Analysis)
5) การสงั เคราะห (Synthesis)
6) การประเมนิ คา (Evaluation)

2.2.2 ดานจิตพิสัย (Affective Domain) เปนการแสดงพฤติกรรมในดานความรูสึกทางจิตใจ
ความสนใจ ความซาบซึ้ง คานยิ ม ทศั นคติ เจตคติ การปรบั ตวั ท่ดี ใี นสงั คม มี 5 ข้นั คือ

1) การรบั รู (Receiving or attending)
2) การตอบสนอง (Responding)
3) การสรา งคุณคา (Valuing)
4) การจดั ระบบคุณคา (Organization)
5) การสรา งลกั ษณะนสิ ัย (Characterization by a Value or Value Complex)
2.2.3 ดานทักษะพสิ ัย (Psychomotor Domain) เปนพฤติกรรมดานทกั ษะในการปฏิบตั ิกิจกรรม มี 7 ขน้ั คอื
1) การรบั รู (Perception)
2) การเตรยี มพรอมปฏิบัติ (Set)
3) การตอบสนองตามแนวทางท่กี ําหนด (Guided Response)
4) การเกิดความสามารถแบบกลไก (Mechanism)
5) การตอบสนองท่ซี ับซอ น (Complex Overt Response)
6) การดดั แปลงใหเ หมาะสม (Adaptation)
7) การรเิ ริ่ม (Origination) 
ในการเรียนการสอนทุกวิชา ครูผูสอนจึงควรมุงเนนใหผูเรียนเกิดพฤติกรรมทั้ง 3 ดาน คือ ดาน
พุทธิพิสัย ดานจิตพสิ ัย และดานทักษะพิสัย สวนจะเนน ดานใดมากหรือนอย ขน้ึ อยกู บั จดุ มุงหมาย ธรรมชาติ
ของแตละวิชา และการวัดผลประเมินผลก็จะตองวัดพฤติกรรมครอบคลุมทั้ง 3 ดานใหสอดคลองกับ
จดุ มุงหมายของแตละวิชาเชนกนั ทั้งนี้ตองกําหนดเปาหมายหรือความคาดหวังท่ีตองการใหเกิดกับผูเรียน หรือ
การกําหนดจดุ ประสงคการเรยี นรู (Learning objectives)

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 15

2.3 การกําหนดจดุ ประสงคการเรียนรู
การวัดและประเมินผลการเรียนรูจะตองกําหนดจุดประสงคการเรียนรู (Learning objectives)

ซึ่งเปนการกําหนดเปาหมายหรือความคาดหวังที่ตอ งการใหผเู รียนมหี รือบรรลุซ่งึ ประกอบดว ยกัน 3 ดา น ไดแ ก
ดา นความรู ทกั ษะ และเจตคติ ท้ังนี้จุดประสงคการเรยี นรูสามารถวิเคราะหและพัฒนาจากหลกั สูตรการศึกษา
ซึ่งตองพิจารณาความเชื่อมโยงของหลักสูตรในหลายระดับ เชน จุดหมายของหลักสูตร จุดประสงคของ
สาขาวิชา มาตรฐานวิชาชพี ของสาขาวิชาและสาขางานจนถึงระดับรายวิชา คอื จุดประสงครายวชิ า มาตรฐาน
รายวิชาและคําอธิบายรายวิชา ท่ีตองการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนบรรลุจุดประสงคระดับหลักสูตร
ในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูโดยทั่วไปจะแบงเปน 2 ระดับคือ 1.จุดประสงคทั่วไป หรือจุดประสงค
ปลายทาง และ 2.จุดประสงคเชิงพฤติกรรมหรือจุดประสงคนําทาง หรือจุดประสงคเฉพาะโดยแตละระดับมี
รายละเอยี ดดงั ตอ ไปนี้ (พนติ เขม็ ทอง, 2541)

2.3.1 จุดประสงคทวั่ ไป (General Objectives)
จุดประสงคท่ัวไปหรือจุดประสงคปลายทาง คือ จุดประสงคท่ีเปนเปาหมายสําคัญท่ีมุงหวังใหเกิด
ขึ้นกับผูเรียนในการเรียนรูแตละเรื่องหรือแตละหนวยการเรียนรูท้ังน้ีลักษณะของจุดประสงคทั่วไปท่ีสําคัญ
มดี งั ตอไปนี้
1) ตอบสนองพฤติกรรมสําคัญของจุดหมายหลักสูตร จุดประสงคสาขาวิชา มาตรฐานวิชาชีพ
สาขาวิชา/สาขางาน จดุ ประสงครายวชิ าและมาตรฐานรายวิชา
2) สะทอนคุณลักษณะที่พึงประสงคที่เปนผลจากการเรียนรู โดยครอบคลุมทั้งดานความรูความคิด
ความสามารถในการปฏิบตั ิ เจตคตแิ ละกจิ นิสยั ท่ีพงึ ประสงค
3) การเขียนจุดประสงคทั่วไป จะใชคํากิริยากวาง ๆ โดยเขียนเปนขอ ๆ แตนอยขอครอบคลุมส่ิงท่ี
ตองการใหเกิดข้ึนกับผูเรียนตามคําอธิบายรายวิชา เชน เพ่ือใหมีความรูความเขาใจ ตระหนัก เห็นคุณคา
สามารถ เปน ตน
ตัวอยางการเขียนจุดประสงคท่ัวไป

(1) ผูเ รียนสามารถประดิษฐเครือ่ งแขวนจากเปลือกหอยได
(2) ผเู รยี นคาํ นวณปรมิ าตรดนิ ถมได
(3) ผูเรียนเขยี นสมการการสมดลุ ได
2.3.2 จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม (Behaviors Objective)
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม หรือจุดประสงคนําทาง หรือจุดประสงคเฉพาะ คือ จุดประสงคที่วิเคราะห
ออกมาจากจุดประสงคท่ัวไป โดยกําหนดพฤติกรรมสําคัญท่ีคาดหวังใหเกิดกับผูเรยี นในการเรียนรูแตละหนวย
การเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู โดยมีองคประกอบท่ีสําคัญ 3 องคประกอบ ไดแก พฤติกรรมที่คาดหวัง
สถานการณหรือเงอื่ นไข และมาตรฐานหรือเกณฑ โดยแตล ะองคประกอบมีรายละเอยี ดดงั ตอ ไปนี้
1) พฤติกรรมท่ีคาดหวัง โดยแตละวัตถปุ ระสงคการเรยี นรูจะตองระบุพฤตกิ รรมที่คาดหวงั เพียง 1
พฤติกรรมและควรพิจารณาเลือกคํากริยาท่ีแสดงพฤติกรรมท่ีคาดหวังใหถูกตองตามระดับขั้นของการเรียนรูท่ี
เกิดขึ้นกับผูเรียน ซ่ึงพฤติกรรมการเรียนรูดังกลาวนั้น ตองสามารถวัดไดและสังเกตได เชน อาน เลาเร่ือง
อธิบาย บอก ช้ี หยิบ เลอื ก ตอบ สรุป ทาํ เขยี น ฟง ปฏบิ ัติ จบั ใจความ ฯลฯ

16 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

2) สถานการณ/เง่ือนไข การกําหนดเง่ือนไขหรือสถานการณน้ันจะเปนปจจัยที่ชวยกําหนด

ขอบเขตของเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงสถานการณหรือเงื่อนไขดังกลาวน้ันจะมีสวนชวยทําให

นักเรียนแสดงพฤติกรรมไดสอดคลองกับสภาพการเรียนรู หรือเปนเง่ือนไขที่ทําใหผูเรียนแสดงพฤติกรรม

ออกมา เชน เมื่อกําหนดขอความให เมอื่ ฟงโฆษณาแลว หลงั จากฟงเพ่ือนเลานทิ านแลว อานในใจจากบทเรยี นแลว

3) มาตรฐานหรือเกณฑ หมายถึงระดับความสามารถท่ีผูเรียนแสดงออกมาในระดับต่ําสุดท่ี

สามารถยอมรับไดวาผูเรียนเกิดการเรียนรูในเน้ือหาอยางแทจริง ซึ่งมาตรฐานหรือเกณฑดังกลาวน้ันเปน

องคประกอบท่ีสําคัญในการชวยตัดสินการเรียนรูของบทเรียนวาผานหรือไมผานจุดประสงค เชน ทําไดทุกขอ

อา นไดถูกตอง เขียนคําใหได 8 ใน 10 คํา บรรยายภาพได เพราะฉะน้ันในการเขียนวัตถปุ ระสงคเชิงพฤติกรรม

จึงตองมีการกําหนดองคประกอบใหครบถวน จึงสามารถประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนไดอยางมี

ประสิทธภิ าพ

ตัวอยางจดุ ประสงคเ ชิงพฤตกิ รรมที่ประกอบดวยสวนประกอบครบทง้ั 3 สวน

1. เม่ือกาํ หนดคาํ มาให 10 คํานกั เรียนสามารถอานออกเสียงไดถกู ตองอยางนอย 8 คํา

2. เมือ่ กําหนดสมการที่มีตัวแปร 2 ตัว มาให 5 สมการนกั เรยี นสามารถแกสมการไดถูกตองอยาง

นอ ย 4 สมการ

3. กาํ หนดระยะทาง 800 เมตรนักศึกษาสามารถวิ่งไดภ ายใน 2 นาที

4. กําหนดภาพมาให 1 ภาพนักเรียนสามารถแตงประโยคใหสอดคลองกับภาพไดอยางนอย 3

ประโยค

พฤติกรรมที่คาดหวัง สถานการณ/ เงือ่ นไข มาตรฐานหรือเกณฑ

สามารถอานออกเสยี งได กาํ หนดคาํ มาให 10 คํา ถูกตอ งอยางนอ ย 8 คาํ

สามารถแกส มการได กาํ หนดสมการท่มี ตี ัวแปร 2 ตัว ถกู ตองอยางนอย 4 สมการ

มาให 5 สมการ

สามารถวงิ่ ได กาํ หนดระยะทาง 800 เมตร ภายใน 2 นาที

ส า ม า ร ถ แ ต ง ป ร ะ โ ย ค ใ ห กําหนดภาพมาให 1 ภาพ อยางนอ ย 3 ประโยค

สอดคลอ งกบั ภาพได

ลักษณะของการเขียนวตั ถุประสงคเชงิ พฤตกิ รรมควรมหี ลักการดงั ตอไปน้ี
1. มีความสอดคลอ งกบั จุดประสงคท่วั ไป โดยแตกยอยออกมาจากจุดประสงคท่ัวไป และแสดงถึง

รายการพฤตกิ รรมคาดหวงั ท่ีจะทาํ ใหก ารเรียนรบู รรลุตามที่กาํ หนดไวใ นจดุ ประสงคทัว่ ไป
2. แสดงถึงการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผูเรียนหลงั จบการเรยี นรูในเร่ืองหรือหนว ยการเรียนรูน ัน้ ๆ
3. ควรเขียนใหครอบคลุมท้ังดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย แตการเขียนจุดประสงคเชิง

พฤติกรรมดานจิตพิสัยน้ันอาจทําไดยากเพราะผูสอนไมสามารถสังเกตไดโดยตรง ในกรณีนี้ถาไมสามารถเขียน
เปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม อาจเขียนเปนจุดประสงคเฉพาะ เชน ใชคําวา บอกคุณคา บอกประโยชนเพ่ือ
สะทอนใหเห็นพฤตกิ รรมของผูเ รยี นวามีความตระหนักหรอื เหน็ ถงึ คณุ คาของสง่ิ นนั้ ๆ

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 17

4. จุดประสงคเชิงพฤติกรรมตองมีลักษณะชัดเจน รัดกุม ไมคลุมเครือ เพ่ือใหสามารถเขาใจได

ตรงกัน และสามารถสังเกตไดหรือวัดได จุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่สมบูรณจะประกอบดวย 3 องคประกอบ

คอื พฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง สถานการณ/ เง่ือนไข และมาตรฐานหรอื เกณฑ โดยมรี ายละเอยี ดในแตล ะองคประกอบ

ตัวอยางการเขยี นจุดประสงคท ัว่ ไปและจุดประสงคก ารเรยี นรเู ชิงพฤติกรรม

จุดประสงคท่วั ไป จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรม

ดานพุทธิพสิ ยั

1. เพ่ือใหมีความรูเก่ียวกับ ฟนและการรักษา 1.1 บอกความหมายของคําวา “ฟน” ไดอยาง

ความสะอาดของฟน ถกู ตอ ง

1.2 ระบุปญ หาที่เกิดข้ึนจากการไมดูแลรักษา

ความสะอาดของฟน ไดอยางนอ ย 3 เร่ือง

1.3 อ ธิ บ า ย วิ ธี ก า ร แ ป ร ง ฟ น ที่ ถู ก วิ ธี ไ ด

ทกุ กระบวนการ

ดา นทักษะพสิ ยั

2. เพอ่ื ใหสามารถแปรงฟนไดถ กู วธิ ี 2.1 สาธิตการแปรงฟนที่ถูกวิธีกับหุนจําลองได

ถูกตองทุกกระบวนการ

2.2 เม่ือกําหนดใหทําความสะอาดฟน นักเรียน

ส า ม า ร ถ แ ป ร ง ฟ น ข อ ง ต น เอ ง อ ย า ง ถู ก ต อ ง

ทกุ ขัน้ ตอน

ดา นจิตพสิ ัย

3. เพ่ือใหตระหนักในการความสําคัญของการรักษา 3.1 แปรงฟนทุกครง้ั หลงั จากรับประทานอาหาร

ความสะอาดของฟน 3.2 บอกคณุ คา ความสําคญั ของการแปรงฟน ทถ่ี กู วธิ ีได

2.4 วธิ ีการประเมินพฤติกรรมทางการศึกษาและเครอ่ื งมือวัดพฤติกรรมการเรียนรู
ในการประเมินพฤตกิ รรมทางการศกึ ษาจะมวี ธิ กี ารและเครือ่ งมือทหี่ ลากหลาย

2.4.1 วธิ กี ารประเมนิ ดวยการสอ่ื สารระหวางครูนักเรยี น
1) การสอบถาม
เปนเทคนิคท่ีครูผูสอนต้ังคําถามใหนักเรียนตอบในระหวางการเรียนรู หรือใหนักเรียนตอบขอมูล

ความชอบ ความสนใจ ฯลฯ เพ่ือท่ีผูสอนจะไดนําไปใชเปนขอมูลประกอบในการออกแบบการจัดกระบวนการ

เรียนรู

เคร่อื งมอื ที่ใชคอื แบบสอบถาม (Questionnaire)
แบบสอบถามแบง ไดเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คอื

(1) แบบสอบถามประเภทปลายเปด (Openended Form) เปนชนิดคําถามท่ีใหนักเรียนมี
โอกาสตอบไดอยา งเสรี และไมจาํ กดั คําตอบ เชน

วชิ าอะไรทีน่ กั เรียนไมช อบมากทส่ี ุด....................................................................................

จงบอกเหตผุ ลทีน่ ักเรียนไมช อบรายวิชาน้ี............................................................................

18 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

ขอดีของแบบสอบถามประเภทปลายเปด คือ นักเรียนมีโอกาสตอบไดอยางสรางสรรค จึงอาจทําให
ไดรับคาํ ตอบทีค่ าดไมถงึ และลึกซงึ้ สวนขอ เสียท่คี ือ แบบสอบถามประเภทน้ีวเิ คราะหคอ นขางยาก

(2) แบบสอบถามประเภทปลายปด (Closeended Form) เปน แบบสอบถามที่ตง้ั คําถามแลวก็
กําหนดคําตอบไวใหเสร็จเรียบรอย โดยใหนักเรียนเลือกคําตอบจากที่กําหนดใหโดยอาจจะไดแกคําตอบ
ประเภทใชไ มใ ช หรือคาํ ตอบประเภทถูกหรอื ผิด อาจเขียนสัญลกั ษณส ัน้ ๆ เทาน้นั ตัวอยางเชน

นักเรยี นสนใจเลน กีฬาประเภทใด
( ) ฟุตบอล
( ) บาสเกตบอล
( ) แบตมนิ ตัน
( ) เทนนิส
( ) วายนํา้

ขอดีของแบบสอบถามประเภทปลายปด คือ วิเคราะหขอมูลงาย สวนขอเสียที่คือ อาจไดขอมูลไม
ครบถวน ไมส ามารถวัดการคิดขน้ั สูง เพราะจํากดั คําตอบ

(3) แบบผสม (Mixed Form) เปน แบบสอบถามท่ีรวมลักษณะของแบบที่ 1 และ 2 เขา ดวยกัน
เปนแบบที่มงุ ใหง า ยในการวเิ คราะห และพยายามใหไ ดขอมลู ครบถวนโดยใหต วั สดุ ทา ยใชคําอ่ืนๆ ระบุ เชน

ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร นกั เรยี นมปี ญหาหรือไม
[ ] มี
[ ] ไมม ี

นักเรยี นตอ งการใหค รชู ว ยแกไขปญหาอยางไร
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

2) การสมั ภาษณ (Interview)
การสัมภาษณเ ปนอีกวิธีการหนึ่ง ท่ีครผู ูสอนใชป ระเมินผลการเรียนรูท่ีเกิดกับผูเรยี น วธิ ีการนีผ้ ูสอนจะ
สังเกตเหน็ สีหนา ทา ทางของผูเรียนได
รูปแบบของการสัมภาษณ
1) การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) คือการสัมภาษณท่ีถามตามแบบสัมภาษณ
ท่ีครูไดส รางขึ้นไวแ ลว ลวงหนา อาจสัมภาษณเปน รายบคุ คล หรืออาจสัมภาษณร วมเปนกลุมยอย ๆ ก็ได
2) การสมั ภาษณแบบไมมีโครงสราง (NonStructured Interview) คอื การสัมภาษณโดยไมมแี บบ
สัมภาษณ แตใ ชท กั ษะและความสามารถเฉพาะตวั ของครผู ูสอนที่จะลว งสอบถามปญหาเชงิ ลึกท่เี กดิ กับผูเรยี น

2.4.2 วธิ ีการประเมินดวยการทดสอบ
การทดสอบ (Testing)
การทดสอบเปนกระบวนการในการนําเครื่องมือวัดหรือแบบทดสอบ (Test) ไปใชการทดสอบมี
ความสําคญั มากในการวดั ผลทางการศกึ ษา เคร่อื งมอื วดั ที่ใชก ันมากไดแ ก แบบทดสอบ (Test)

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 19

สวนประกอบของแบบทดสอบ
แบบทดสอบทง้ั หลาย โดยท่ัวไปจะประกอบดวย 2 ภาค คอื
1) ภาคกระตุน (Stimulus) ไดแก คําถาม หรือโจทย หรือปญหาท่ีตั้งข้ึนเพ่ือเปนการยั่วยุ หรือ
เรงเราใหผสู อบมีปฏกิ ริ ยิ าโตตอบออกมา
2) ภาคตอบสนอง (Response) ไดแก คําตอบนนั่ เอง
แบบทดสอบ เปนเคร่ืองมือที่ใชในการวัดความรู ความสามารถทางสมอง โดยมีลักษณะเปนชุดของ
คําถามทีท่ าํ หนา ท่เี รา ผตู อบ ใหแสดงอาการตอบสนองออกมาเปน พฤติกรรมท่สี ามารถสงั เกตไดหรอื วัดได ทง้ั น้ี
เนือ่ งจากความสามารถทางสมองเปน ส่ิงทเ่ี ปนนามธรรม ซึ่งสงั เกต หรอื วัดโดยตรงไมไ ด ดงั น้นั ในการวัดจึง
ตองใชขอคําถาม เปนสิ่งกระตุนใหผูตอบใชความรูความสามารถคิดหาคําตอบ จํานวนคําตอบที่ถูกจึงถือวา
เปนระดับความสามารถของผูตอบ และใหเปนคะแนนซึ่งจัดอยูในรูปของปริมาณ แลวจึงสรุปจากคะแนน
ออกมาในรูปของคุณภาพวาผูตอบมีความรูความสามารถเพียงไร มากนอยแคไหน การวดั ดงั กลา วจึงอาจถอื ได
วา เปน การวัดในเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ
ชนิดของแบบทดสอบ
การแบงชนดิ ของแบบทดสอบ หากแบงตามจดุ มงุ หมายของการวัดวาจะวัดพฤติกรรมดา นใดแลวอาจ
แบงออกไดเปน 3 ชนิด (ใจทพิ ย เชื้อรตั นพงษ, 2539) คอื
1) แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ (Achievement Test) เปนแบบทดสอบที่ใชวัดความสามารถของ
บคุ คลในดานการเรียนรู
2) แบบทดสอบวดั ความถนัด (Aptitude Test) เปนแบบทดสอบท่ใี ชว ัดความสามารถเฉพาะของ
บุคคลเพ่ือพิจารณาวาบุคคลน้ัน ๆ มีความสามารถในเร่ืองใดเปนพิเศษจะสามารถเรียนรูในดานใดดีกวากัน
จะสามารถเรียนรูส ิ่งหน่งึ ส่ิงใดไดส ําเร็จหรือไม อาจแบง แบบทดสอบความถนัดไดเ ปน 2 ชนดิ ดงั นี้

(1) แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude test) เปน แบบทดสอบทีใ่ ช
วดั เพือ่ ท่ีจะทราบวา บุคคลนัน้ จะสามารถเรียนวิชาใดไดส าํ เร็จ

(2) แบบทดสอบความถนัดเฉพาะ หรือความถนัดพิเศษ (Specific Aptitude test) เปน
แบบทดสอบที่ใชวัดบุคคลวามีความสามารถพิเศษในดานใด เชน ความสามารถในทางวาดเขียน
ความสามารถในทางศิลปะ ความสามารถในทางดนตรี ฯลฯ

3) แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personality test) เปนแบบทดสอบที่ใชวัดบุคลิกภาพของบุคคล
เชน ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความเปนผูน าํ ความวิตกกังวล ความมีมนุษยสัมพันธ

2.4.3 วิธกี ารประเมินจากการปฏบิ ัติ
เปนวิธีการประเมินของครูผูสอนจากงาน กิจกรรม หรือชิ้นงานท่ีผูสอนมอบหมายใหผูเรียนปฏิบัติ
เพ่ือใหไดขอมูลสารสนเทศวาผูเรียนเกิดการเรียนรูจากงานกิจกรรม หรือช้ินงานท่ีผูสอนมอบหมายหรือไม
วธิ กี ารประเมนิ ลกั ษณะนี้ เชน การสงั เกต
การสังเกตเปนการเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักเรียน ขณะท่ีปรากฏการณหรือ
พฤติกรรมน้ันกําลังเกิดขึ้น โดยอาศัยประสาทสัมผัสของผูสอนโดยตรง เปนการเก็บรวบรวมขอมูลโดยตรง

20 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ทําใหไดขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงนาเชื่อถือ แตทั้งน้ียอมขึ้นอยูกับความเท่ียงตรง และความเช่ือม่ันของ
การสังเกตแตละคร้งั (สภุ างค จนั ทวานิช, 2549, น. 45)

ประเภทของการสงั เกต แบง เปน 2 ประเภท คอื
1) การสังเกตโดยตรง (Direct Observation) หมายถึง การสังเกตท่ีผูสอนเขาไปรวมในกิจกรรมกับ
ผเู รียน
2) การสังเกตโดยทางออม (Indirect Observation) หมายถึง การสังเกตที่ผูสอนเก็บรวบรวมขอมูล
โดยการสอบถามเพอื่ นนักเรยี น ผูปกครอง เปน ตน
การสังเกตตองมีการจดบันทึก และตีความหมายของพฤติกรรมดวย บางครั้งจําเปนตองใชเครื่องมือ
อื่นชวย เชน แบบบนั ทกึ แบบสาํ รวจรายการ หรือมาตรประมาณคา
การสงั เกตจะไดผ ลดี ผสู งั เกตจะตองมคี ณุ สมบัติ 4 ประการ
1) มคี วามใสใจ (Attention) ตอ สิ่งจะสังเกต
2) มปี ระสาทสมั ผสั (Sensation) ท่ีดี
3) มีการรับรู (Perception) ทด่ี ี
4) มคี วามคิดรวบยอด (Conception) ทดี่ ี คอื สามารถสรุปเรือ่ งไดอ ยางถูกตอ งเช่ือถอื ได
เคร่ืองมือท่ใี ชในการสงั เกต เชน แบบสาํ รวจรายการ มาตรประมาณคา หรอื แบบบันทกึ

1) แบบสาํ รวจรายการ (Checklists)
แบบสํารวจรายการหรือแบบตรวจสอบรายการ เปนเคร่ืองมือท่ีประกอบไปดวยรายการขอปญหา

(Items) ท่ีใหผูตอบ ตอบรับหรือปฏิเสธ (YesNo) หรือตอบโดยใชเคร่ืองหมายกํากับตัวเลขประกอบดวย

รายการที่แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานกิจกรรมตางๆ หรือพฤติกรรมที่ผูสอนบันทึก เมื่อเห็นวารายการนั้นๆ

เกิดขนึ้

ตัวอยางแบบสํารวจรายการ
คําชี้แจง ครูใหนักเรียนแสดงทารําประกอบเพลงที่กําหนดใหแลวสังเกตพฤติกรรม โดยกา

เครื่องหมาย  ลงในชอง “ใช” ถานักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการระบุ และกาเครื่องหมาย ลงในชอง

“ไมใช” ถานกั เรยี นไมมตี ามพฤตกิ รรมตามรายการระบุ

รายการพฤติกรรม ใช ไมใช

1. จังหวะถูกตอง
2. ทาทางสอดคลองกบั เพลง
3. กลาแสดงออก
4. คดิ ทาแปลกใหมไ ด
5. ความพรอมเพียงภายในกลุม
6. ความตัง้ ใจ

ฯลฯ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 21

2) มาตรประมาณคา (Rating Scale)
มาตรประมาณคา คอื เคร่ืองมอื ท่ีมขี อคําถาม หรอื รายการที่กําหนดไวใ หผูสอนไดพ จิ ารณาวาผลงาน
กจิ กรรมน้นั มีนํา้ หนกั หรือมีระดบั คุณภาพอยใู นเกณฑขนาดไหน เชน มรี ะดบั
มากทส่ี ุด  มาก  ปานกลาง  นอย  นอยทีส่ ดุ หรือ
นอ ยทีส่ ุด  นอย  ปานกลาง  มาก  มากทสี่ ดุ หรือ
มาก  ปานกลาง  นอ ย หรือ
นอ ย  ปานกลาง  มาก
จํานวนระดับคุณภาพในมาตรประมาณคาน้ันโดยมากกําหนดไวไมตํ่ากวา 3 ระดับ และไมเกิน
11 ระดับ แตส วนใหญม ักจะใชเพยี ง 45 ระดบั ในบางกรณีอาจกําหนดความหมายใหทราบดวย เชน

5 หมายถึง ชอบมากท่สี ุด
4 หมายถึง ชอบมาก
3 หมายถึง ชอบ
2 หมายถึง ไมชอบ
1 หมายถึง ไมช อบมากทีส่ ุด
ประเภทของมาตรประมาณคา (บุญชม ศรีสะอาด, 2540, น. 9697)
(1) มาตรประมาณคาแบบบรรยาย (Descriptive Rating Scale) เปนแบบประมาณคาท่ีใช
ขอ ความบรรยายถงึ ระดบั คุณภาพ หรอื ปริมาณของสง่ิ ท่ีตอ งการวดั ตัวอยา งเชน
ความถูกตองในการอานทาํ นองเสนาะ
� สามารถอานไดถ กู ตองทั้งหมด

� สามารถอานไดเ กือบถูกตอ งทัง้ หมด ผดิ ไมเกิน 3 คาํ

� สามารถอา นได ผิดไมเ กนิ 10 คํา

� พยายามอานไดบ าง ผดิ มากวา 10 คาํ
(2) มาตรประมาณคาแบบใหน้ําหนักเปนตัวเลข (Numerical Rating Scale) แบบนี้ใชตัวเลข
แทนระดับความมากนอยของลักษณะตางๆ ความหมายของตัวเลขแตละตัวจะตองเขียนไวอยางชัดเจนวามี
ความหมายอยา งไรหรือแทนความหมายอะไร ดังตัวอยา ง

22 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

คําชแ้ี จง ใหใสตัวเลข 1 2 3 4 ลงในชอ งพฤตกิ รรมท่ีเกิดข้ึน โดยตวั เลขแตละตวั มีความหมายดังน้ี
4 หมายถงึ ดมี าก

3 หมายถึง ดี

2 หมายถงึ พอใช

1 หมายถงึ ตอ งปรับปรุง

เลข ชอ่ื สกลุ พฤตกิ รรมทป่ี ระเมนิ เตรยี ม
ท่ี อุปกรณ
กระตือรอื รน สนใจทาํ ต้งั ใจทํา รว มมอื ทาํ
ทีจ่ ะเรียน แบบฝกหัด แบบฝก หดั การทดลอง

1 ด.ช. ธาราวฒุ ิ 2
2 ด.ช. มานนท 1
3 ด.ช. อมร 3
4 ด.ญ. พรณิภา 4
5 ด.ญ. ทิพวรรณ

(3) มาตรประมาณคาแบบกราฟ (Graphic Rating Scale) มาตรประมาณคาแบบกราฟ จะใช
เสนตรงแบงออกเปนชวงตามระดับคุณภาพหรือปริมาณท่ีตองการใหจัดอันดับในแตละชวงอาจกําหนดตัวเลข

แทนระดับความมากนอยหรือไมกําหนดก็ได แตจะตองบอกระดับสูงสุดและตํ่าไวทั้ง 2 ปลายของเสนกราฟ

ดังตัวอยาง

การเตรยี มความพรอมในดานสอ่ื อปุ กรณ
ดีมาก ควรปรับปรงุ

ขอ เสนอแนะในการสรางมาตรประมาณคา
1) รายการพฤติกรรมทจ่ี ะวัดตอ งสอดคลอ งกับจุดมุงหมายท่ีจะวัด
2) พฤตกิ รรมทีจ่ ะวดั ตอ งเปนลักษณะท่สี ังเกตไดงาย
3) ระดบั คณุ ภาพหรือปริมาณในแตล ะชว งตอ งนยิ ามใหช ัดเจนและเปน ปรนัย
4) ชวงของระดับคุณภาพไมควรตํ่ากวา 3 ชวง และไมควรเกิน 11 ชวง บางกรณีอาจกําหนดชวง

เปน จํานวนคูกไ็ ด เพือ่ ปองกนั ความคลาดเคลอ่ื นจากการประมาณคากลาง ๆ

3) แบบบันทกึ หรอื ระเบียน (Records)
แบบบันทึก หรือระเบียนเปนเครื่องมืออีกแบบหน่ึงท่ีใชสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ เคร่ืองมือ
ชนิดน้ีท่ีใชการจดบันทึกเร่ืองราวที่มีผูสอนสังเกต และบันทึกส่ิงตาง ๆ ท่ีไดพบเห็นตามความเปนจริง ไมมี
การตีความหมาย การบนั ทกึ เหตุการณ หรอื ระเบยี นมีหลายชนดิ ดวยกัน เชน
ระเบียนพฤติกรรมหรือระเบียนพฤติการณ (Anecdotal Records) หมายถึง บันทึกของขอความท่ี
สําคัญของพฤติกรรมบางอยาง เชน บันทึกตอนหนึ่งในชีวิตของเด็กเก่ียวกับภาพ คําพูด การกระทํา
การแสดงออก ฯลฯ ซ่ึงผบู ันทกึ ตอนหนึ่งในชีวิตของเดก็ จะไดมีสวนรวม และเปนสิง่ สําคญั เกย่ี วกับบุคลิกภาพ

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 23

ของเด็ก เปนการบันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นบอย ๆ ในสวนท่ีเก่ียวกับความประพฤติและบุคลิกภาพของเด็ก
เปน การสังเกตเด็กทมี่ ีพฤตกิ รรมเปลีย่ นแปลงไปอันเน่ืองมาจากครู รายละเอยี ดและขอมูลจากการบนั ทกึ จะถูก
เกบ็ รวบรวมไว

ระเบียนพฤติกรรมจะประกอบไปดวยการบรรยายตามความเปนจริง เก่ียวกับพฤติกรรมของเด็กใน
สภาพแวดลอมเฉพาะ เปนการบันทึกพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นจริงๆ ในสถานการณหนึ่งติดตอกัน แลวนํามา
ประมวลกันเขา และวิเคราะหเพื่อใหเกิดผลสรปุ ที่ชดั เจนเกยี่ วกบั เดก็ แตล ะคน

ระเบียนพฤตกิ รรมประกอบดวยหวั ขอสําคัญๆ 3 ประการ คอื
1) บรรยายพฤตกิ รรมและเหตกุ ารณในสถานการณหน่งึ ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นอยางชดั เจนและตรงไปตรงมา
2) ความคดิ เหน็ ของผูบนั ทกึ หรอื ผูสังเกตเก่ยี วกับความสาํ คญั ของเหตกุ ารณแ ละพฤตกิ รรมของเดก็
3) ขอ เสนอแนะของผูบ ันทกึ หรอื ผูสงั เกตเกี่ยวกับปญหา ความตองการของเด็กและความชวยเหลือ
ที่ครูอาจจะใหกับเดก็ ได และผลจากความชวยเหลอื
ตวั อยา งระเบียนพฤตกิ ารณ

ระเบียนพฤตกิ ารณ
ช่ือนกั เรยี น………………………………………………ชนั้ ……………………… เวลา…………………………….
พฤตกิ รรมทีเ่ ดก็ แสดงออกโดยยอ………………………………………………………………………………….
ความหมายของพฤตกิ รรมในทศั นะของผสู งั เกต………………………………………………………………
ขอเสนอแนะของผสู งั เกต……………………………………………………………………………………………..

ชือ่ ………………………………………………..………ผสู งั เกต

ระเบียนสะสม (Cumulative Record) หมายถึง เอกสารอยา งหน่ึงท่ใี ชเ กบ็ รวบรวมขอมลู และ
รายละเอียดในดานตาง ๆ ที่เก่ียวกับตัวเด็กแตละคน ระเบียนสะสมจะบันทึกเกี่ยวกับเด็กในเร่ืองประวัติ
ครอบครวั รายงานผลการเรยี น รายงานรูปภาพ ความถนัด ความสนใจกิจกรรมพิเศษ โครงการศกึ ษา และ
อาชพี ในอนาคต

ระเบียนสะสมใชสําหรับบันทึกรวบรวมรายละเอียดของเด็กติดตอกันเปนเวลานานตั้งแตเด็กเร่ิมเขา
โรงเรยี น จนกระทัง่ ออกจากโรงเรียนไปศึกษาตอ หรอื ประกอบอาชพี ในระเบียนสะสมมปี ระโยชนมากในการ
แนะแนว และชว ยใหสามารถมองเห็นภาพพัฒนาการดา นตา ง ๆ ของเดก็ ในทกุ ดา น ตงั้ แตอ ดีตปจจบุ ัน และ
อนาคต ผูทําหนาท่ีแนะแนวหรือผูทําหนาที่เปนท่ีปรึกษา จะทําระเบียนสะสมเพื่อประโยชนในการที่จะให
ความชวยเหลือนักเรียนในดานตาง ๆ เพ่ือชวยใหนักเรียนไดพัฒนาในทุกดานเต็มท่ี นอกจากน้ีแลว อาจนํา
ขอมลู มาจากระเบยี นสะสมไปใชใ นการวจิ ัยไดอ ีกดว ย

การจดั ระเบยี นสะสม มวี ัตถุประสงคดงั นี้
1) เพ่อื ชวยใหครูรจู กั คุน เคยกับนักเรยี นใหมไ ดร วดเรว็
2) เพือ่ ใหขอมลู ท่ีเปน ประโยชนในการจัดแบงชนั้ กลุม การเรียนการสอน
3) เพ่ือชวยใหครูสามารถมองเห็นในการจัดแบงจุดดี จุดเดน ตลอดจนความสามารถทางสติปญญา
ของนักศึกษาแตล ะคน

24 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

4) เพือ่ ชว ยในการคน หาสาเหตุแหงปญหาของนกั เรียน และปญ หาพฤติกรรมอื่น ๆ
5) เพือ่ ประโยชนในการใชเ ปน แนวทางการเลอื กวชิ าเรยี น
6) เพื่อใชเ ปนรากฐานในการรายงานผลการเรียนไปยังสถานศกึ ษาช้นั สงู หรอื หนว ยงาน ตา ง ๆ ตาม
ตอ งการ
ระเบียนสะสมจะบนั ทกึ ขอ มูลดา นตา ง ๆ ดงั น้ี
1) ร า ย ล ะ เอี ย ด ส ว น ตั ว เช น ชื่ อ น า ม ส กุ ล เพ ศ อ า ยุ ส ถ า น ที่ เกิ ด เช้ื อ ช า ติ
ท่อี ยปู จจบุ นั ฯลฯ
2) ประวัติครอบครัว เชน ช่ือ บิดา มารดา ผูปกครอง อาชีพ สถานภาพของบิดามารดา ฐานะ
ทางเศรษฐกจิ
3) รายละเอียดเก่ียวกับการเรียน เชน คะแนนวิชาท่ีเรียนแตละภาค ลําดับท่ีในชั้นหรือจํานวน
นักเรยี น
4) คะแนนการทดสอบ เชน คะแนนการสอบเชาวป ญญา คะแนนการสอบผลสมั ฤทธ์ิ และคะแนน
การสอบอ่นื ๆ
5) รายละเอยี ดการมาโรงเรยี น เชน เริม่ เขา เรียนเมือ่ ไร จาํ นวนวนั ลาจากแตล ะภาคเรยี น
6) สุขภาพ ไดแก สุขภาพทั่วไป โรคภยั ไขเจ็บ สขุ นิสยั กิจนิสัย
7) รายละเอียดอ่ืน ๆ ไดแก สรุปรายงานจากโรงเรียนเดิม ความถนัดพิเศษ ความสนใจกิจกรรม
รว มหลักสูตร งานอดเิ รก ความมงุ หวงั ทางการเรยี นและอาชพี

2.3.4 วธิ กี ารประเมินรูปแบบอน่ื
สังคมมติ ิ (Sociometry or Sociometric Technique)
สังคมมิติ เปนวิธีการที่นักจิตวิทยา ชาวเวียนนา ช่ือ Jacob Moreno เปนผูคิดข้ึนมา และ
นาํ มาใชค รัง้ แรกในป ค.ศ. 1923 โดยมีจุดมุง หมายท่ีจะวดั ปฏิกริ ิยาความสัมพนั ธ แบบแผนความรสู กึ (Pattern
of Feeling) หรือความสัมพันธทางสังคมของสมาชกิ ภายในกลุมเกีย่ วกับเรอื่ งการยอมรับซึ่งกนั และกัน
ครู นักแนะแนว และนักจิตวิทยา ไดใชสังคมมิติแกปญหาตาง ๆ ในการเรียนการสอน อาทิ เชน
ปญหาเกี่ยวกับการปรับตัวทางสังคม การเขาหมูคณะ ตลอดจนปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธทาง
สังคม การทําสงั คมมติ ิน้งี า ย สะดวกตอ การนาํ ไปใชและใชเ วลาไมน าน (บุญธรรม กิจปรดี าบริสุทธ์ิ, 2524)
สังคมมิติ เปนวิธีการแสดงใหเห็นความสัมพันธทางสังคมของบุคคลท่ีอยูกันเปนหมูคณะ และใชใน
การพิจารณาวา บุคคลแตละคนในกลุมเปนท่ียอมรับของสมาชิกคนอื่น ๆ มากนอยเพียงใดโดยพิจารณาจาก
การเลือกสรร ของนกั เรียนในกลุมท่ีรูจ ักซึ่งกันและกันวาจะเลือกใคร ในแงใ ด เชน เลือกทํางานดวย เลอื กไป
เท่ียวดวย เลือกติดตอสื่อสารดวย ฯลฯ เพื่อที่ครูจะไดทราบถึงความกลมเกลียว หรือความขัดแยง และ
สถานภาพการปรบั ตัวของนักเรยี น นับวา เปนเครอื่ งมือสําคัญในการแนะแนวและการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
การทําสังคมมิติมีวิธีการงาย ๆ ก็คือใชคําถามเพียงหนึ่ง สอง หรือสามประโยคถาม ผูตอบแตละคน
เชนถามวา ทานชอบเรียนวิชาคณิตศาสตรรวมกับใคร ชอบนั่งใกลใครมากท่ีสุด หรือใครเอยที่ทานรักมาก
ทส่ี ุดในชัน้ เรยี น ทา นชอบเลนกบั ใครมากทีส่ ุด ฯลฯ และรอง ๆ ลงไปอีก 2 คน รวมเปน 3 คน

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 25

จากคําถามดังกลาว ใหเด็กตอบ โดยเขียนชื่อของตนเอง และช่ือเพ่ือนท่ีถูกเลือกสรร การเขียน
คําตอบอาจจะเปนดังน้ี

ขอเลือก ชือ่ ……………………………………………………….( ผูเลอื ก )
1. ……………………………………………………….
2. ……………………………………………………….
3. ……………………………………………………….

ครูควรอธิบายใหเด็กทราบวา จะเก็บกระดาษคําตอบของเด็กไวเปน ความลับ และเมือ่ เดก็ ตอบเสร็จ

แลว ครูก็นําขอมลู เหลา นั้นมาวเิ คราะห

เทคนิคการวิเคราะหและตคี วามหมายขอมูลสงั คมมติ ิ

การวิเคราะหข อมลู สังคมมติ ิ อาจใชวธิ ใี ดวธิ ีหนงึ่ ใน 3 วิธี ตอไปนี้

1) โดยวิธีใชต ารางสังคมมิติ (Sociometric Matrices)

2) โดยวิธีใชแ ผนสังคม (Sociograms)

3) โดยวธิ ใี ชด ัชนสี งั คมมิติ (Sociometeic Indices)

โดยมีรายละเอยี ดคอื

1) โดยวธิ ใี ชต ารางสังคมมติ ิ

ตารางสงั คมมติ เิ ปน ตารางสเ่ี หลย่ี มจัตุรสั โดยมจี าํ นวนชองในแกนนอนเทา กับจํานวนชอ งในแกนตั้ง

จาํ นวนชองจะมีมากนอ ยเทาใดน้ัน ขึ้นอยกู ับจํานวนสมาชกิ ของกลุม กลาวคือถาสมาชิก n คน ก็จะมีจํานวน

ชอ ง n ชอ ง ตามแนวนอน และ n ชอง ตามแนวต้งั

เพ่ือความเขาใจดีย่ิงข้ึนในที่นี้ จะสมมติวามีคนอยู 6 คน คือ A , B, C, D, E และ F ใหเลือกคน

ขึ้นมา 2 คน ที่มีสวนรวมในกจิ กรรมนี้มากทส่ี ดุ

กรณีนี้ ตารางท่ใี ชค ือ

ผไู ดรับเลอื ก A B C D E F
ผเู ลือก

A

B

C

D

E

F

รวม

26 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

กําหนดใหวาคนที่ถูกเลือกจะได 1 คะแนน คนที่ไมถูกเลือกจะได 0 คะแนน และสมมุติตอไปวา

การแจกแจงของคะแนนของคนทีถ่ ูกเลือกเปนไปตามลักษณะขางลางน้ี

ผูไดรบั เลอื ก A B C DEF
ผเู ลอื ก

A  0 1 010

B 0  1 010

C 1 0  010

D 0 0 1 10

E 0 1 1 00

F 0 0 1 01

รวม 1 1 5 0 5 0

จากคะแนนท่ไี ด เราสามารถตคี วามไดว า

C และ E มีคนเลือกมากท่ีสดุ เทา กนั ทงั้ สองคน คือไดคนละ 5 คะแนน

A และ B มคี นเลือกเพยี ง 1 คน เทานัน้ ไดคนละ 1 คะแนน

D และ F ไมม ีคนเลอื กเลย

2) โดยวิธใี ชแผนผังสังคม
การวิเคราะหขอมูลสังคมมิติแบบแผนผังสังคม จะไมนิยมใชในกรณีมีจํานวนสมาชิกในกลุมมาก ๆ
เพราะจะยุงยากมากในการพิจารณา
ในกรณีมีสมาชิกไมมากนัก แผนผังสังคมจะชวยใหเห็นแบบแผนของความสัมพันธทางสังคมไดอยาง
ชัดเจนมาก ตัวอยางเชน จากขอ มูลในตารางสงั คมมิติขางตน เราสามารถนาํ มาสรา งแผนผังสงั คมได ดังน้ี
AB

CE

D F
แผนผงั สังคม : แสดงการเลือกคน 2 คน จาก 6 คน

จากแผนผังสังคมจะเห็นไดอยางชัดเจนวา D และ F ไมมีใครเลือกเลย C และ E มีคนเลอื กเทา ๆ

กนั และไดรับเลอื กจากสมาชิกทกุ คน สว น A ไดร บั เลือก C ขณะที่ B ไดร ับเลือก จาก E

อน่ึง สําหรับ A นั้น เลือก C (A  C) ในขณะเดียวกับ C ก็เลือก A (C  A) การเลือก
แบบน้ีอาจเรียกวา การเลือกแบบ “ถอยทีถอยอาศัย (Clique)” เวลาเขียนลูกศรจึงนิยมเขียนแบบ

“A  C” แตโ ปรดสังเกตวา A เลือก E แต E กลับไมเ ลอื ก A (A  E)

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 27

3) โดยวิธใี ชดัชนสี ังคมมติ ิ

วิธีการคํานวณหาดัชนสี งั คมมิติ มีมากมายหลายวธิ ี สําหรบั ในท่นี ี้จะไดนาํ มาเสนอไวเพียงวธิ เี ดียวเพื่อ

หาคาสถานะทางสังคมของกลมุ บุคคลโดยใชสตู ร

S =n

N–1

S = สถานภาพทางสงั คม

n = จาํ นวนคนทีเ่ ลือก

N = จํานวนคนทั้งหมดในกลุม

ตามตวั อยา งขางตน เราสามารถคาํ นวณหาคา สถานะทางสังคมของคน 6 คน ไดดังนี้

A = 1 = 0.2
6 1
1
B = 6 1 = 0.2

C = 5 = 1.0
6 1
0
D = 6 1 = 0.0

E = 6 5 1 = 1.0

0
F = 6 1 = 0.0

ประโยชนข องสงั คมมิติ

1) ใชศ ึกษารปู แบบความสัมพนั ธท างสงั คมของสมาชกิ ภายในกลมุ

2) ใชใ นการวิจยั ปฏบิ ตั ิการ (Action Research) เชน

(1) ปญ หาการปรับตวั ทางสังคม

(2) ปญ หาการเรียนการสอน

(3) ปญ หาสงั คมตาง ๆ

(4) ปญ หาทางดา นการศึกษา

3) ใชในการแนะแนว

4) ใชศ กึ ษาและแกป ญ หาทางดา นจิตวทิ ยา

5) ใชแ สดงความสัมพันธของบคุ คลท่มี ีตอกนั

การใหสรา งจิตนาการ (Projective Technique)
การใหสรางจิตนาการหรอื อาจเรียกอีกอยางหน่ึงวา กลวิธีใหระบายความในใจ เปนการวัดความรูสึก

นึกคิด จากจิตนาการของบุคคลขณะเผชิญกับสถานการณตาง ๆ เทคนิคของการวัดแบบน้ีจึงเปนการจัดให

บุคคลไดพบกับสถานการณงาย ๆ เพื่อใหผูน้ันเขียนบรรยายความรูสึกหรือความคิดเห็นของตนอยางอิสรเสรี

ขณะอยูในสถานการณนั้น แลวนําคําบรรยายมาแปลความหมายเพ่ือวัดความรูสึก ความคิดเห็น หรือใช

28 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ทาํ นายบุคลิกภาพ และทัศนคติตอส่ิงตาง ๆ ตลอดจนปญหาสวนตัวของผูตอบ สถานการณท่ีจัดข้ึนจึงเปนสิ่ง
เรา ซ่ึงอาจทาํ ไดหลายวิธี (นริ นั ดร จลุ ทรพั ย, 2539, น. 209213) ดงั นี้

1) ใหเขียนบรรยายความรูสึก เปนการใหผูตอบบรรยายความรูสึกนึกคิด หรือสรางจิตนาการเมื่อ
เผชิญกบั สิง่ เราท่ีจัดให ซง่ึ อาจทําไดห ลายรูปแบบ ดังนี้

(1) วัตถุ เชน กอนหนิ ก่ิงไม ทม่ี ีรูปทรงแปลก ๆ ฯลฯ
(2) รูปภาพ เชน ภาพหยดหมึก (Ink – Blot) ภาพลางเลือน ฯลฯ
ภาพหยดหมึก (Rorschach Ink–Blot) พัฒนาโดยจิตแพทยชาวสวิส ชื่อ Hermann Rorschach
นาํ ภาพหยดหมึกมาใชคนควาวินิจฉัยบุคลิกภาพ ภาพหยดหมึกในจํานวน 10 ภาพนี้มีอยู 5 แผนที่รอยหยด
หมกึ เปน สีเทาและสีดาํ เทานั้น และมอี ยู 2 แผน ท่มี ีสแี ดงเพิ่มเติมเขาไปบางสวน และท่เี หลืออกี 3 แผนเปน
ภาพท่ีมีสีผสมกันหลายสี ในขณะที่ผูรับการทดลองดูภาพหยดหมึกแตละแผนเขาจะไดรับคําส่ังใหบอกวาเห็น
อะไรในภาพ และภาพเหลาน้ันแทนอะไรไดบาง ผูทดสอบจะจดบันทึกตามคําบอกเลาและบันทึกเวลาท่ีใชใน
การตอบสนอง ตลอดจนตําแหนงของภาพท่ีเขาจับมองดู ขอคิดที่พูดออกมา อารมณที่แสดงออกและ
พฤติกรรมอ่ืน ๆ ท่ีแสดงออกมาโดยบังเอิญ หลังจากใหเขาดูภาพครบทง้ั 10 แผนแลว และนําผลการทดสอบ
ไปวิเคราะหและตีความ ตวั อยา งภาพดังน้ี

(3) เสยี งดนตรี เชน เสยี งบรรเลงพวกเครอื่ งสายไทย เสียงเพลงซิมโฟน่ี ฯลฯ

2) ใหเขียนเรียงความ เปนการใหผูตอบแตงความโดยกําหนดช่ือเร่ืองให ซึ่งช่ือเรอ่ื งทกี่ ําหนดใหน้ัน

ควรมลี ักษณะทีจ่ ะชกั จงู ใหผตู อบบรรยายความรสู ึก หรอื ทศั นะของตนเอง วิธีนี้อาจทาํ ได 2 แบบ ดังนี้

(1) กาํ หนดชอื่ เรือ่ ง ใหเ ขยี นเรียงความ เชน อนาคตของฉัน คนดใี นทศั นะของขา พเจา

(2) กาํ หนดขอ ความขึ้นตนไวแ ลว ใหเขียนตอ เชน

ถา ขา พเจามีเงนิ เดอื น ขาพเจา จะ…………………………………………………………………………

มนษุ ยท กุ คนเกิดมายอม……………………………………………………………………………………

(3) เลาเรอื่ งคาง หรอื เลาไมจ บ แลว ใหเขยี นเรือ่ งตอ เติมใหจ บ

3) ใหเขียนคาํ ที่เปนสิ่งท่ีระลึก วิธนี ี้เปนการกําหนดคําใหแลวใหผูตอบเขยี นคําท่ีแสดงถึงความรูสึก

หรอื ส่ิงท่ีระลกึ ถึงเปน สิ่งแรก โดยไมใ หผ ตู อบคดิ ไตรต รองนาน เพราะจะทาํ ใหไมตรงตามความเปนจรงิ ดังน้ี

(1) กําหนดคําซ่ึงอาจจะเปนสถานท่ี บุคคล สตั ว หรือสิ่งของ แลวใหผตู อบเขียนสง่ิ ที่ระลึก

ถึงเปน ส่ิงแรกเพ่ือใหใชทํานาย ความสมั พนั ธระหวางสิ่งทก่ี าํ หนดใหก ับสิ่งทใ่ี หผ ตู อบระลกึ ถึง

บาน (แม)

โรงเรียน (อาหารกลางวนั )

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 29

(2) กําหนดคํา ซ่ึงอาจจะเปนสถานที่ บุคคล สัตว หรือส่ิงของ แลวใหผูตอบเขียนคําที่แสดง

ความรูส ึกของตนทีม่ ตี อ สง่ิ นนั้

บา น (อึดอัด)

โรงเรียน (เบอ่ื )

(3) กําหนดคําท่ีเปนความรูสึก แลวใหผูตอบเขียนคําที่เปนสถานท่ี บุคคล สัตว หรือส่ิงของท่ี

ระลึกถงึ เปน สง่ิ แรก เชน

รัก (แม)

เกลียด (ครู)

คิดถึง (ขนม)

4) ใหเลอื กภาพ วธิ ีนี้จะกําหนดภาพตาง ๆ ให แลว ใหผูตอบเลือกภาพทีต่ นชอบมากท่ีสุด หรือคดิ วา

สําคัญที่สุด ซึ่งอาจทําได 3 วิธี ดังนี้

(1) ใหเลือกภาพ กําหนดภาพใหหลาย ๆ ภาพ แลวใหผูตอบเลือกภาพท่ีชอบที่สุด หรือคิดวา

สาํ คัญท่ีสุด

(2) ใหเรียงลําดับภาพ กําหนดภาพหลาย ๆ ภาพ แลวใหผูตอบเรียงลําดับภาพ จากภาพท่ีชอบ

มากท่ีสุด ไปถึงภาพท่ีชอบนอยท่ีสุด

(3) ใหกําหนดภาพ กําหนดภาพใหหลาย ๆ ภาพ แลวใหผูตอบแยกภาพออกเปน 2 สวน คือ

ภาพท่ีชอบกับภาพทไ่ี มช อบ

5) การเลนละคร

วิธีน้ีจะตองกําหนดใหแสดงละครส้ัน ๆ โดยไมใหเตรียมตัวลวงหนา เพื่อสังเกตความคิดเห็น หรือ

จนิ ตนาการจากการพูด กิรยิ าทา ทาง เหตกุ ารณ ตลอดจนลักษณะการสรางเร่ืองของผแู สดง

พฤติกรรมทางการศึกษามุงเนนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ดาน ท้ังดานพุทธิพิสัย (Cognitive
Domain) ดานจิตพิสัย (Affective Domain) และดานทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ในการวัด
พฤติกรรมทางการศึกษามีเทคนิคและวธิ ีการประเมินที่หลากหลาย เชน วิธีการประเมินดวยการสื่อสารระหวา ง
ครูนกั เรียน โดยใชแบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ วิธีการประเมนิ ดวยการทดสอบ โดยใชแบบทดสอบ แบบวัด
ตางๆ วิธีการประเมินจากการปฏิบัติ โดยใช แบบสังเกต แบบสํารวจรายการ มาตรประมาณคา แบบบันทึก
หรือการประเมินรูปแบบอ่ืน เชน สังคมมิติ การสรางจินตนาการ ครูผูสอนตองเลือกใชเครื่องมือวัดประเมินผล
การเรยี นรูใหส อดคลองกับพฤตกิ รรมท่ตี องการวดั และเหมาะสมกับบริบทในหองเรียนของครู

*******************

30 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

กิจกรรมทา ยบท

จงทําแบบฝก หัดตอ ไปน้ี

แบบฝกหดั ท่ี 1

คําชี้แจง จงขีด  หนาขอที่เปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และขีด  หนาขอท่ีไมเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

และในกรณที เ่ี ปน จุดประสงคเชงิ พฤติกรรม จงระบอุ งคป ระกอบโดย

ขดี เสน ใตหนง่ึ เสน ในสว นทเี่ ปนสถานการณ/เงอื่ นไข

ขดี เสนใตส องเสน ในสวนที่เปนพฤติกรรมท่คี าดหวงั

ขดี เสน ปะ ในสวนทเ่ี ปน มาตรฐาน/เกณฑ

..............1. เมือ่ เรียนเรื่องการวัดแลว นกั เรียนเขาใจวธิ ีการเลอื กใชเ คร่อื งมือวัดอยา งถกู ตอง
..............2. หลงั จากเรียนเรือ่ งเวลาแลว นักเรยี นสามารถ อานเวลาจากนาฬกิ าจรงิ ได
..............3. นักเรยี นสามารถนาํ คําทก่ี ําหนดใหมาแตง เปน ประโยคส้ันๆ ได อยางนอ ย 5 ประโยค
..............4. เมื่อเรยี นเรอ่ื งการหาพ้นื ทจ่ี บแลว นกั เรียนสามารถจําสตู รการหาพ้ืนทส่ี เ่ี หล่ียมจัตุรัสได
..............5. นักเรยี นสามารถรอยมาลัยดอกไมสดได
..............6. ครูสามารถอธิบายให นักเรียนเขา ใจเร่ืองคณุ คาของสารอาหารประเภทตา งๆ ได
..............7. เมอื่ กาํ หนดช่อื สารเสพตดิ ให นกั เรียนสามารถรูถงึ โทษจากการใชสารเสพติดชนิดนน้ั อยา งถูกตอ ง
..............8. นักเรียนสามารถจาํ แนกประเภทสตั วบก สัตวนํ้าได

*******************

แบบฝกหดั ท่ี 2
คําช้แี จง จงวเิ คราะหจดุ ประสงคตอ ไปน้ี วา เปนพฤติกรรมดานพทุ ธิพสิ ัยข้ันใด

1. เพื่อใหน ักเรียนบรรยายเรอื่ งราวจากภาพได
2. เพ่อื ใหน ักเรียนระบุใจความสําคัญของเร่อื งที่อา นได

3. เพอ่ื ใหนักเรยี นแตงโคลงสส่ี ุภาพได

4. เพอ่ื ใหนักเรียนบรรยายเหตกุ ารณส ําคญั ในวันวิสาขบชู าได

5. เพื่อใหน ักเรียนบอกวิธีการหาพื้นทส่ี ี่เหลยี่ มผืนผาได
6. เพื่อใหนกั เรียนเขยี นประโยคสัญลักษณจ ากโจทยป ญ หาทกี่ าํ หนดใหไ ด

7. เพื่อใหนกั เรียนยกตัวอยางอาหาร 1 ม้ือท่ีเหมาะกับคนเปนโรคคอหอยพอกได

8. เพื่อใหนักเรยี นวิจารณข า วและเหตุการณไ ด

9. เพื่อใหนักเรียนเขียนคาํ ขวญั ตอตา นการสูบบุหรไ่ี ด
10. เพือ่ ใหน กั เรียนแยกแยะคําโฆษณาทกี่ ําหนดใหได วา เชือ่ ถอื ไดห รือไม

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 31

แบบฝก หดั ท่ี 3
คาํ ช้แี จง จงพิจารณาจุดประสงคตอ ไปน้วี าเปน พฤตกิ รรมทางการศกึ ษาดานใด ตองวดั โดยใชวธิ ีการ/เครื่องมือใด

1. เพือ่ ใหน ักเรยี นบอกขนั้ ตอนการกรองน้ําได
2. เพอ่ื ใหนักเรยี นสามารถวาดภาพระบายสีได
3. เพื่อใหนกั เรียนนาํ ศัพทท ่กี าํ หนดใหม าแตง ประโยคได
4. เพอ่ื ใหน ักเรียนมเี จตคตทิ ่ดี ีตอวิชาคณติ ศาสตร
5. เพื่อใหนักเรยี นวางแผนการจดั แสดงละครได
6. เพอ่ื ใหนักเรียนทาํ ขนมไทยโดยการตม ได
7. เพื่อใหน ักเรียนจบั ใจความสําคัญของเร่ืองได
8. เพ่ือใหนักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบในการทํางาน
9. เพ่อื ใหน กั เรยี นอา นออกเสยี งได
10. เพอื่ ใหนกั เรียนอานแผนภูมิแทง ได

**********************

32 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

รายการอางอิง

ใจทิพย เชอื้ รัตนพงษ. (2539). การพฒั นาหลักสูตร : หลักการแนวปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ สนี เพรส.
ชูศรี วงศรตั นะ. (2541). เทคนคิ การใชสถิติเพ่ือการวจิ ัย (พิมพครง้ั ที่ 7). กรุงเทพฯ : ศูนยห นังสือจุฬาลงกรณ

มหาวทิ ยาลัย.
นิรันดร จุลทรพั ย. (2539) เอกสารคําสอนวิชาการแนะแนวเบื้องตน . โครงการบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ.
บญุ ชม ศรีสะอาด. (2540). การวจิ ัยทางการวดั ผลและประเมนิ ผล. กรงุ เทพฯ: สวุ ีริยาสาสน.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2524). คูมืออาจารยการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ :

การพิมพพระนคร.
พนิต เข็มทอง. (2541). วัตถุประสงคทางการศึกษา : การเขียนและการจําแนก. เอกสารประกอบ

การฝกอบรมหลักสูตรกลยุทธการฝกอบรมแนวใหมแนวคิดสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สํานักสงเสริม
และฝกอบรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.
สุภรณ ลิ้มบริบูรณและคณะ. (2559). การวัดและประเมินผลการเรียนรู (Learning Measurement and
Evaluation). กรุงเทพฯ: บรษิ ทั 21 เซนจรู ี่ จาํ กดั .
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2548). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหง
จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย.
อทุ มุ พร จามรมาน. (2544). แบบสอบถาม : การสรา งและการใช (พิมพคร้งั ที่ 6). กรุงเทพฯ: ฟน นี่พลับบชิ ช่ิง.

บทที่ 3 สุภาพร ศรหี ามี1

เครื่องมอื วัดพฤตกิ รรมการเรียนรดู า นพุทธิพิสยั *

พฤติกรรมพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เปนพฤติกรรมท่ีเกิดจากการใชสมองของบุคคลแสดงถึง
ความสามารถทางสติปญญา คือความรู ความเขาใจ การใชความคิด ฯลฯ แบงออกเปน 6 ระดับ 1) ความรู
ความจํา (Knowledge) 2) ความเขาใจ (Comprehension) 3) การนําไปใช (Application) 4) การวิเคราะห
(Analysis) 5) การสังเคราะห (Synthesis) และ 6) การประเมินคา (Evaluation) เครื่องมือที่ใชสวนใหญคือ
แบบทดสอบ ซ่งึ มีหลายประเภท ดังนน้ั เน้อื หาในบทน้ีจงึ ไดมุง เนนไปท่ีการสรางเครือ่ งมือคอื แบบทดสอบ

3.1 ระดบั ข้ันของพฤตกิ รรมดานพุทธพิ สิ ยั
บลูม (Bloom) (Bloom’s Taxonomy, 1956 อางถึงใน ศิริชัย กาญจนวาสี, 2548) แบงพฤติกรรม

ดา นพุทธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ออกเปน 6 ระดบั จากตํา่ ไปสูง ดงั นี้

3.1.1 ความรูความจํา (Knowledge) หมายถึง ความสามารถเก่ียวกับการจดจํา และระลึกได
เกย่ี วกบั เรอื่ งราวหรอื สิ่งตาง ๆ ที่ผเู รยี นมปี ระสบการณมา

3.1.2 ความเขาใจ (Comprehension) หมายถงึ ความสามารถในการบูรณาการความรคู วามจํา
ใหห ลากหลายไปจากเดมิ สามารถแปลความหมาย ตีความ และขยายความไดอยางถกู ตองสมเหตุสมผล

3.1.3 การนําไปใช (Application) หมายถึง ความสามารถในการนําความรูความจาํ ความเขา ใจ
ไปใชในการแกป ญ หาตา งๆ ในสถานการณท ่ีคลายคลึงหรอื สถานการณใหม ๆ ได

3.1.4 การวิเคราะห (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเร่ืองราวหรือส่ิงตาง ๆ
ออกเปน สวนยอย ๆ แตล ะสว นยอ ยน้ันมีอะไรทเ่ี ปน สวนสาํ คญั มากนอ ยตามลาํ ดบั

3.1.5 การสังเคราะห (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมเร่ืองราวหรือสิ่งตาง ๆ
ต้ังแต 2 สงิ่ ขน้ึ ไปเขา ดวยกัน แลวปรบั และบูรณาการเปนเรอื่ งราวใหมที่ดีกวา เดิมหรอื นาํ ไปใชในแงมุมอน่ื ๆ ได

3.1.6 การประเมินคา (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการวินิจฉัย ตีคาหรือตัดสินใจใน
การสรปุ คา หรอื ตีราคาสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ อยา งมกี ระบวนการและหลกั เกณฑ

ตอมาไดมีการปรับปรุง Bloom’s Revised Taxonomy (2001) ซ่ึงมีความแตกตางกันบางประเด็น

ดงั ตาราง

*ปรบั เพิ่มจากบทท่ี 3 แบบทดสอบ โดยสภุ รณ ลม้ิ บริบรู ณและคณะ. (2559). การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

(Learning Measurement and Evaluation). คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบา นสมเดจ็ เจา พระยา
1ผชู วยศาสตราจารยประจําสาขาวชิ าการประเมนิ ผลและวิจัยทางการศึกษา

34 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

ระดบั พฤตกิ รรม ระดบั พฤติกรรม

Bloom’s Taxonomy (1956) Bloom’s Revised Taxonomy (2001)

ระดบั ตน (Lowerorder of thinking: LOT) มีการคดิ ข้นั ตอนเดยี วทีไ่ มซ บั ซอน

ความรูความจํา (Knowledge) การระลึกและบอกได จํ า (Remembering) ร ะ ลึ ก ได บ อ ก ได เก่ี ย ว กั บ

เกี่ยวกับขอเท็จจริง รายละเอียดตาง ๆ ความรูในเนื้อเรื่อง ขอ เทจ็ จริง รายละเอียดตา ง ๆ ที่เรียนมา

เก่ียวกับศัพทและนิยาม กฎและความเปนเปนจริง

วธิ ีดําเนินการ ความรรู วบยอดของส่ิงทีไ่ ดเรยี นในหอ งเรียน

ความเขาใจ (Comprehension) การชี้แจง หรืออธิบาย เขาใจ (Understanding) อธิบาย แปลความหมาย

การแปลความ การตีความ ขยายความ ตีความ ขยายค วาม ยกตั วอยาง อ างอิง ทํ าน าย

เปรยี บเทียบ ช้ีความแตกตาง จับคแู นวคิดท่ีเหมอื นกัน ทํา

แบบจาํ ลอง

ระดับสูง (Higherorder of thinking: HOT)

ใชทักษะหลายดานพรอ มกันในการแกป ญ หา มกี ารคิดตั้งแต 2 ขนั้ ตอนขน้ึ ไป ไดแ ก

การนําไปใช (Application) การนําความรู ความเขาใจ นําไปใช (Applying) เปนการนําความรูสถานการณไป

ความสอดคลองระหวางหลกั วิชากบั การปฏิบัติ ไปใช ประยกุ ตใชใ นงานใหมห รือสถานการณใหม

การวิเคราะห (Analysis) การจําแนกองคประกอบยอย วิเคราะห (Analyzing) เปนการแยกเปนองคประกอบ

หรือสวนประกอบยอยของสิ่งตาง ๆ ไดแก การวิเคราะห ยอยหรือสวนประกอบยอยของสิ่งตาง ๆ จําแนกความ

ความสําคัญ ความสมั พนั ธ และหลักการ แตกตาง จําแนกประเด็นความสําคัญ ความสัมพันธ และ

หลกั การ

การสังเคราะห (Synthesis) การสงั เคราะหค วามสามารถ ประเมินคา (Evaluating) เปนการตัดสินใจ หรือวินิจฉัย

ในการรวมองคประกอบหรือสวนยอยตาง ๆ เขาดวยกัน เกี่ยวกับคุณคาของเร่ืองราวเหตุการณ การกระทําสิ่งใดสิ่ง

เพ่ือใหเกิดส่ิงใหม ไดแก การสังเคราะหขอความ แผนงาน หนึ่ง โดยใชเกณฑภายในหรือภายนอกเปนหลักในการ

และความสมั พันธ พิจารณา

การประเมินคา (Evaluation) ความสามารถในการ สรางสรรค (Creating) เปนการจัดระบบสิ่งตาง ๆ ใหม

ตัดสินใจหรือวินิจฉัยเก่ียวกับคุณคาของเร่ืองราวเหตุการณ ใหเปนรปู แบบ/รปู รางเปนสมมติฐาน ออกแบบผงั กอสราง

การกระทําสง่ิ ใดส่งิ หน่ึง โดยใชเ กณฑภายในภายนอก ผลติ เปนของใหม

ทมี่ า : สํานักทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 35

การประเมนิ คา (Evaluation) สรา งสรรค (Creating)

การสังเคราะห (Synthesis) ประเมินคา (Evaluating)
การวิเคราะห (Analysis) วิเคราะห (Analyzing)
การนําไปใช (Apply) นําไปใช (Applying)
ความเขาใจ (Comprehension) เขาใจ (Understanding)
จาํ (Remembering)
ความรคู วามจาํ (Knowledge) Bloom’s Revised Taxonomy (2001)
Bloom’s Taxonomy (1956)

3.2 วธิ กี ารวัดพฤติกรรมดานพุทธพิ สิ ัย
วธิ ีการท่ีใชในการวัดพฤติกรรมดา นพุทธพิ สิ ัย ซ่ึงเปนพฤตกิ รรมทเ่ี กิดจากการใชสมอง ความสามารถ

ทางสตปิ ญ ญาสวนใหญ คอื การทดสอบ
การทดสอบ (Testing) เปนการใหคําถามหรือส่ิงเราแกผูถกู ทดสอบ เพื่อใหตอบสนองตอคําถาม หรือ

สิ่งเราน้ัน และสังเกตได วัดไดจากการตอบสนองนั้น ๆ ดังน้ันการใหนักเรียนตอบคําถามในขอสอบถือวาเปน
การทดสอบ การถามดวยปากเปลา ผูถกู ถามพยักหนาหรือสั่นหนา แสดงอาการเห็นดวยหรือไมเห็นดวย ก็เปน
การทดสอบ การที่นักเรียนเขียนรายงานสงตามคําส่ังก็เปนการทดสอบ เพราะมีพฤติกรรมสนองตอบ และ
สังเกตได วัดได จากพฤติกรรมท่ีสนองตอบนั้น สําหรับเคร่ืองมือท่ีใชในการทดสอบ คือ แบบทดสอบ ซึ่ง
ประกอบดวยขอสอบ หลาย ๆ ขอ

ขอสอบ (Test Item) หมายถึง ขอคําถามหรือส่ิงเราท่ีใชกระตุนใหผูสอบตอบสนองเปนพฤติกรรม
อยางใดอยางหน่ึงออกมาใหสงั เกตได วัดได ดังนน้ั แบบทดสอบซึ่งประกอบดวยกลุมของขอ สอบหรอื ชุดของขอ
คําถามท่ีสรางขึ้นเพื่อใหผูสอบแสดงพฤติกรรมอยางใดอยางหน่ึงออกมาใหสามารถวัดได ขอสอบ (Test Item)
เมื่อรวมเขาดวยกันหลาย ๆ ขอเปนฉบับ เรียกวา แบบทดสอบ (Test Paper) และเม่ือนําแบบทดสอบไปให
นักเรียนสอบ นักเรียนก็คิดหาคําตอบ อาจเปนการเขียนตอบแบบบรรยาย การทําเคร่ืองหมายใด ๆ ก็ตาม
ออกมาเปนพฤติกรรมท่ีตอบสนองตอแบบทดสอบ เราก็วัดออกมาไดเปน “คะแนน” การทดสอบ จึงถือวา
“เปนกลุมงานใด ๆ ท่ีมีการตอบสนอง และสังเกตได วัดได” ฉะนัน้ ตามนัยของความหมายนี้ การถามคําถามใน
การสอบสมั ภาษณ การใหปฏบิ ตั ิงานใด ๆ กเ็ ปน การทดสอบดว ย (อทุ มุ พร จามรมาน, 2544)

3.3. ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบมีหลายประเภทตามเกณฑท ีใ่ ชแ บง ดงั น้ี

3.3.1 แบงโดยใชวิธตี อบเปน เกณฑ (วเิ ชยี ร เกตุสิงห, 2515, ออนไลน) แบงไดเปน 3 ชนิด คอื
1) แบบทดสอบเขียนตอบ (Essay Test) แบบทดสอบรูปแบบนี้ มีลักษณะสําคัญที่ผูตอบตอง

เขียนตอบยาว ๆ ขอสอบมนี อยขอ แตล ะขออาจตองตอบถงึ 23 หนา แลว แตละขอบเขตและระดบั ช้ัน

36 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

2) แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) เปนชนิดที่ผูตอบ ตอบเพียงส้ัน ๆ หรือเพียงทํา
เคร่อื งหมายใด ๆ ในการตอบเทาน้นั ซึง่ มีหลายรปู แบบ (บุญเชิด ภิญโญอนนั ตพงษ, 2526, ออนไลน) คือ

ก. แบบใหต อบคําถามเพยี งสนั้ ๆ (Short Response)
ข. แบบถูก–ผดิ (True  False)
ค. แบบจบั คู (Matching)
ง. แบบเตมิ ขอความใหส มบูรณ (Completion)
จ. แบบเลือกตอบ (Multiple Choices)
3) แบบทดสอบใหปฏิบัติ (Performance Test) เปนแบบทดสอบท่ีใชวัดงานภาคปฏิบัติ สวน
ใหญเปนแบบใหปฏิบัติ ใหทํางานตามที่กําหนดให เชน สอบภาคปฏิบัติพลานามัย ศิลปะปฏิบัติ ดนตรีปฏิบัติ
นาฎศลิ ปปฏิบตั ิ เปนตน

3.3.2 แบงโดยใชว ิธดี ําเนนิ การสอบเปนเกณฑ ซ่ึง มี 6 ชนิด คอื
1) แบบสอบรายบุคคล (Individual Test) เปนแบบทดสอบท่ีสอบไดทีละคน เชน การสอบ
สัมภาษณ การสอบปากเปลาที่ตองการขอมูลละเอียด เชน การวัดคุณลักษณะทางจิตวิทยา ไดแก การปรับตัว
ความโกรธ ความกลัว โรคประสาท หรอื ใชเ มื่อเครอื่ งทดสอบมอี ยนู อ ย เชน การทดสอบเครือ่ งจักรเครอื่ งกล
2) แบบทดสอบเปนกลุม (Group Test) เปนแบบทดสอบที่ใชสอบทีละหลาย ๆ คน แบบทดสอบ
ประเภทนใี้ ชสะดวก ปองกันอคติ และความลําเอียงไดดีกวา สอบรายบุคคล เหมาะท่ีจะเปรียบเทียบผลงานของ
แตละคนกับกลมุ และทดสอบไดจํานวนมากในชว งเวลาทีม่ อี ยจู ํากดั
3) แบบทดสอบวัดความเร็ว (Speed Test) เปนแบบทดสอบท่ีจํากัดงานหรือเวลา แยกเปน 2
ประเภทยอย คือ

ก. แบบจํากัดเวลา (Time–Limit Test) แบบทดสอบชนิดนี้จะกําหนดเวลาไวใหนอย ๆ
การวัดผล ดูจากผลงานวาใครทําไดมาก มีคณุ ภาพดีกวา กัน ในเวลาท่ีเทากัน เชน วิชาคัดไทยที่กําหนดเวลาให
คดั ก่จี บก็ได

ข. แบบจํากัดงาน (Work Limit Test) แบบทดสอบชนิดนี้ ไมกําหนดเวลาให แตกําหนด
งานใหป รมิ าณหนึ่ง ใครทาํ ไดด มี คี ุณภาพ โดยใชเ วลานอ ยกวากจ็ ะไดคะแนนดีกวา

4) แบบทดสอบวัดความสามารถสูงสุด (Power Test) แบบทดสอบนี้ทําขอสอบไดโดยอาจไมจํากัด
เวลา ทําจนสิ้นความสามารถ ไดเทาไรก็เปนระดับความสามารถสูงสุดของผูน้ัน แบบทดสอบชนิดนี้จะไม
คํานึงถึงเวลาทใ่ี ช และไมนํามาใชเ ปน เกณฑใหคะแนนดวย แตจะพจิ ารณาผลงานที่ทาํ ออกมาไดเ ปนเกณฑ วา มี
คุณภาพสูงต่ํา เพียงไร แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท่ัวไป เปนแบบผสมระหวางแบบจํากัดความเร็วกับแบบให
สอบเต็มความสามารถ โดยใหง านจาํ กดั ทําในเวลาจาํ กดั

5) แบบทดสอบขอเขียน (Written Test) เปนแบบชนิดท่ีเขียนตอบ เรียกอีกอยางวา (Paper–
pencil Test) เปนแบบทดสอบที่ใชท ั่ว ๆ ไปในปจ จบุ นั

6) แบบทดสอบปากเปลา (Oral Test) เปน แบบทดสอบรายบุคคลชนิดหนง่ึ แตแ ยกเปนอีกแบบหนึ่ง
เพราะมีลักษณะพิเศษตรงทตี่ อ งตอบปากเปลา เชน การสอบสมั ภาษณ การอาน เปน ตน

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 37

3.3.3 แบงโดยใชการนําผลการสอบไปใช และวิธีการสรางแบบทดสอบเปนเกณฑ การจัดประเภท
แบบทดสอบแบบน้ีคํานึงถึงจุดมุงหมายของการสอบ หรือการนําผลการสอบไปใช จําแนกเปน 2 ประเภท
ยอย (ภัทรา นคิ มานนท, 2543, น. 2226) คอื

1) แบบทดสอบท่ีครูสรางเอง (Teacher – made Test) เปนแบบทดสอบที่ครูสรางข้ึนเพื่อใชเปน
เครอ่ื งมือวดั ในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะอาจสรา งขึน้ เพือ่ วดั ผลสัมฤทธิจ์ ากท่ีไดเรยี นไปแลว อาจใช
เพ่ือกระตุนใหสนใจการเรียน หรือดูความพรอมของนักเรียนกอนเรียนบทเรียนใหม แบบทดสอบชนิดนี้จึงมี
ประโยชนสาํ คญั อยูท ี่สามารถสรา งใหเ หมาะสมกับสภาพการเรียนรขู องนักเรยี น หรือเหตุการณไ ดด ี

2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) แบบทดสอบประเภทน้ีใชสําหรับเปรียบเทียบกับ
กลุมเปนสําคัญวา เมื่อเปรียบเทียบกบั กลมุ แลว อยใู นอนั ดับเทาใดของกลุม ต่ําหรือสูงกวาคนกลาง ๆ ของกลุม
คาํ วา “มาตรฐาน” ในทีน่ ม้ี ิไดหมายความวา ดี วิเศษ แตหมายถึง “เปน แบบเดียวกนั ” ขอสอบมาตรฐานจึงมสี ิ่ง
ทีถ่ ือวา “เปน แบบเดยี วกนั “ อยหู ลายประการคอื

ก. ดําเนินการสอบแบบเดียวกัน ไมวาจะไปสอบกับใครที่ไหน เรียกกวามี “มาตรฐานใน
การดําเนินการสอบ” เชน ใหเวลาเทากันพอดี ใหคําอธิบายคาํ ช้ีแจงเหมอื นกนั เปน ตน

ข. เกณฑการใหคะแนน เปน แบบเดียวกัน มีกฎเกณฑการใหคะแนนไวชดั เจน เรียกวามีมาตรฐานใน
“การใหคะแนน”

ค. การแปลความหมายคะแนน ใชเกณฑเดียวกัน คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบมาตรฐาน
จะตองเทียบกับเกณฑเดียวกัน เชน เทียบวาเกงกวาใครกี่คนจาก 100 คน ถึงจุดมาตรฐานท่ีกําหนดไวหรือไม
น่ันคือ ขอสอบมาตรฐานตองมี “เกณฑปกติ” ไวเทียบอันเดียวกัน เชนนี้เรียกวา “มีมาตรฐานในการแปล
ความหมายคะแนน”

การสรางแบบทดสอบมาตรฐานตางจากการสรางแบบทดสอบที่ครูสรางเองมาก ตรงที่ขอสอบ
มาตรฐานเลือกเน้ือหาตรงตามจุดมุงหมายอยางเครง ครัด ขอสอบแตละขอเปนขอสอบที่ดี เชน จําแนกคนไดดี
คะแนนท่ีไดก็เช่ือม่ันไดสูง แตขอแตกตางมากท่ีสุดระหวางขอสอบมาตรฐานกับขอสอบท่ีครูสรางเอง ก็คือ
“จุดมุงหมาย” ของแบบทดสอบเพราะขอสอบท่ีครูสรางเอง มุงหมายเพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์วามีคุณภาพนั้นอยู
หรอื ไม เรียนรูแลว หรือไม สวนขอ สอบมาตรฐานมุงในการเปรียบเทียบตาํ แหนง วา “อยูอ นั ดบั ใดของกลมุ อยบู น
จุดใดของเสนคะแนน” โดยเทียบกับเกณฑปกติ เชน สอบไดคะแนนที่ Tscore ที่ 60 ของขอสอบมาตรฐาน
ระดบั ประเทศก็แสดงวา ชนะคน 85 คน จาก 100 คน ของคนระดับนั้นทงั้ ประเทศ

3.3.4 แบงโดยใชส ิ่งทีต่ อ งการวัดเปน เกณฑ แบง เปน 5 ประเภทใหญ ๆ คือ
1) แบ บ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) แบ บ ทดสอบ ป ระเภทน้ีหมายถึง

แบบทดสอบท่ีมุงวัดความรู ทักษะ สมรรถภาพดานตางๆ ที่ไดรับจากประสบการณทั้งปวงและมุงวัดทางดาน
วิชาการเปนสําคัญ ขอสอบในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาโดยท่ัวไป เปนแบบทดสอบชนิดน้ี เชน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ วิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา เปนตน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ินี้สรางข้ึนเพ่ือจุดมุงหมายตางกัน ก็เรียกช่ือแตกตางกันออกไป เชน วัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เรียกทั่วไปก็เรียกวา “แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน” (Scholastic Achievement
Test) ถามุงวัดความพรอมทางการเรียนก็เรียกวา “แบบทดสอบวัดความพรอม” (Readiness Test)

38 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

แบบทดสอบที่มุงวินิจฉัยผลการเรียนวามีจุดเดน ดอยตรงไหน ก็เรียกวา “แบบทดสอบวินิจฉัย” (Diagnostic
Test) เปนตน (สมพร เชอื้ พนั ธ, 2547, น.59)

2) แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test ) “ความถนัด” หมายถึงความสามารถอันเปน
ผลรวมของสติปญญา ความสามารถเฉพาะอยาง และผลท่ีเกิดจากการสะสมของปรากฏการณท้ังมวล เม่ือ
รวมกันแลวทําใหม ีความสามารถ หรือสมรรถภาพทจี่ ะเปนสิ่งหน่ึงไดมากนอ ยตางกันท่ีความถนัดมากถนดั นอ ย
เชน เด็กบางคนมีความถนัดท่ีจะเรียนคณิตศาสตรไดดี แบบทดสอบความถนัดเปนแบบทดสอบที่มุงวัด
ความสามารถเฉพาะดานน้ัน ๆ ออกมาเพ่ือใชพยากรณ คาดคะเนผลการเรียน หรือการฝกอบรมตอไปในภาย
ภาคหนาวาจะเรียนไดสําเร็จหรือไม อยางไร โดยใชขอเท็จจริงปจจุบันเปนรากฐานอนาคต ตางจาก
แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิตรงทตี่ องการวัดความถนดั ซึ่งเปน การวัดความสามารถโดยเฉพาะอยาง เพ่ือทํานายผล
การเรียนในอนาคต จึงสอบกอนเรียน สวนการวัดผลสัมฤทธ์ิ วัดภายหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบดูวา เรียนรูไดมาก
นอยเพียงไร แบบทดสอบความถนัด แบงออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ ความถนัดทางการเรียนทั่ว ๆ ไป
(Scholastic Aptitude Test) เชน ความมีเหตุผล ความจํา เปนตน แบบทดสอบวัดความถนัดโดยเฉพาะ
(Personality Aptitude Test) เชน ความถนดั ทางดนตรี ทางวศิ วกรรม ทางภาษา (สมบรู ณ ตนั ยะ, 2545, น. 140)

3) แบ บ ท ดสอบ วัดบุ คลิกภ าพ และการป รับ ตัว (Personality and Adjustment Test)
แบบทดสอบพวกน้ีเปนแบบทดสอบทางจิตวิทยา เชน วัดความกาวราว ความวิตกกังวล บุคลิกภาพแบบเผด็จ
การ แบบประชาธิปไตย บุคลิกภาพหญิงชาย เปนตน แบบทดสอบประเภทนมี้ ีหลายรปู แบบอาจเปนมาตรวัด
(Scale) การสมั ภาษณ แบบสอบถาม และเคร่อื งมืออนื่ ๆ ทางจติ วิทยา

4) แบบทดสอบความสนใจ (Interest Test) ไดแก แบบทดสอบวัดความสนใจเฉพาะเรื่อง เชน
ความสนใจในอาชีพ สนใจในวิชาใดวชิ าหนง่ึ ฯลฯ

5) แบบทดสอบเจตคติ (Attitude test) เปนแบบทดสอบสําหรับวัดความโนมเอียงของบุคคลตอ
เรื่องตาง ๆ ซ่ึงรวมถึง เจตคติ คานิยม ลักษณะนิสัย เชน เจตคติตอวิทยาศาสตร เจตคติแบบประชาธิปไตย
เจตคติทางวิทยาศาสตรไดวัดกวางขวางมากไมวาจะเปนเจตคติ คานิยมของบุคคล เรื่องราว ส่ิงของ หรือ
ปรากฏการณ เชน เช้ือชาติ การเมอื ง สังคม ระบบเศรษฐกิจ ศาสนา และจรยิ ธรรม ฯลฯ

3.4 การเขียนขอ สอบเพอื่ วดั พฤติกรรมดา นพทุ ธิพสิ ยั
ลักษณะคําถามท่ีใชในแบบทดสอบมีลักษณะเปนการวัดความสามารถทางสมองใน 6 ดาน (เยาวเรศ

จนั ทะแสน, 2553, ออนไลน) ดงั ตอ ไปนี้
3.4.1 ความรูความจํา
1) ความรใู นเน้ือหา เชน ศัพทและนิยาม
2) ความรใู นวิธีดําเนนิ การ
3) ความรูรวบรยอดในเนอื้ เร่ือง
3.4.2 ความเขาใจ
1) การแปลความ
2) การตีความ
3) การขยายความ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 39

3.4.3 การนําไปใช
3.4.4 การวเิ คราะห

1) วเิ คราะหค วามสาํ คัญ
2) วเิ คราะหความสมั พันธ
3) วิเคราะหหลกั การ
3.4.5 การสังเคราะห
1) สงั เคราะหข อ ความ
2) สังเคราะหแ ผนงาน
3) สงั เคราะหความสมั พนั ธ
3.4.6 การประเมนิ คา
1) ประเมินคาโดยอาศัยเกณฑภายใน
2) ประเมินคา โดยอาศยั เกณฑภ ายนอก
มรี ายละเอยี ดดงั นี้
3.4.1 คําถามวัดความรู – ความจํา คือคําถามที่ถามเร่ืองที่เคยผานมา หรือเคยมีประสบการณใน
เรื่องน้นั มากอนแลว คําถามประเภทนี้มหี ลายลกั ษณะ เชน
1) ความรใู นเน้อื หา

(1) คาํ ศพั ทและนยิ าม เชน
“พระจาํ วัดในโบสถ” คําวา “จําวัด” แปลวา อะไร

ก. ถอื ศีล
ข. เขาฌาน
ค. สวดมนต
ง. นอน
ดาวดวงไหนเปน ดาวฤกษ
ก. ดวงอาทติ ย
ข. ดวงจนั ทร
ค. ดาวศุกร
ง. ดาวอังคาร
(2) สูตร กฎ ความจรงิ และความสําคญั รวมทั้งหลักการ ทฤษฎี และขอเท็จจริง และ
ขอ เทจ็ จริงจากเร่ืองราวที่ไดร บั เชน
ในเวลากลางวนั พชื คายกา ซอะไรมากที่สดุ
ก. ออกซเิ จน
ข. ไนโตรเจน
ค. ไฮโตรเจน
ง. คารบ อนไดรออกไซด

40 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

อะไรเปนสาเหตุใหเกิดฤดกู าลตาง ๆ
ก. การหมนุ ของโลก
ข. การหมุนของดวงจันทร
ค. การหมนุ ของดวงอาทิตย
ง. แรงดงึ ดดู ของดวงจันทรแ ละดวงอาทติ ย

2) ความรูในวิธีดําเนนิ การ เชน
ขอ ใดเปนวธิ ีการกาํ จัดขยะทไี่ มถูกตอ ง
ก. เผาไหมไปหมด
ข. ปดใหม ิดชิด
ค. กองไวใ หเ ปนที่
ง. ผสมดวยปนู ขาว

3) ความรูรวบยอดในเนอ้ื เรอื่ ง เชน
หมอก น้าํ คาง และนํา้ ฝน เปน ปรากฏการณประเภทใดของไอนํ้า
ก. การอัดตวั
ข. การหดตวั
ค. การรวมตัว
ง. การควบแนน

3.4.2 คาํ ถามวดั ความเขาใจ
ความเขาใจ หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานแลวขยายความรูความจําใหกวางไกลออกไป
จากเดิมอยางสมเหตุสมผล ความเขาใจแสดงออกได 3 ลกั ษณะ คือ

1) ความสามารถแปลความหมายของสงิ่ ตาง ๆ ได เชน แปลความหมายของขอ ความหรอื รูปภาพ
ตามที่กําหนดใหไดอยางถกู ตอง

2) สามารถตีความหมายของเรื่องน้ันได คือ สามารถจับความสัมพันธระหวางสวนยอ ย ของเรื่อง
จนสามารถนํามากลา วเปนอกี นยั หนึ่งได

3) สามารถขยายความหมายของเร่ืองน้นั ใหกวา งไกลไปจากสภาพขอ เท็จจรงิ เดมิ ได
การวดั ความเขาใจสามารถเขียนคาํ ถามได 3 ลกั ษณะ คอื การแปลความ การตคี วาม และการขยาย
ความ มีรายละเอยี ดคอื

1) การแปลความ เปนการสรางคาํ ถามวดั ความสามารถในการแปลความหมาย ไดแ ก
ขอ ใดเปรยี บเปรยไดเหมาะสมดที ่สี ดุ
ก. ดงั เหมอื นมา
ข. ชาเหมือนเตา
ค. เบาเหมือนลม
ง. กลมเหมือนหนิ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 41

ใบไมท าํ หนาทคี่ ลายบคุ คลในขอใด
ก. คนรบั ใช
ข. คนครัว
ค. คนเก็บเงนิ
ง. คนเฝาประตู

2) การตคี วาม เปนการสรา งคาํ ถามวัดความสามารถในการตคี วาม ไดแก
กาํ หนดขอความตอนหนึง่ มาใหอ านและตง้ั คําถามวา
1) ขอ ความน้กี ลา วถึงเรอ่ื งอะไร
2) ขอ ความน้ใี หคตสิ อนใจเร่ืองอะไร
3) จะตัง้ ชือ่ เร่ืองจากบทความที่อานไดวา อะไร
4) สรุปใจความสาํ คัญของเรอื่ งไดว า อยางไร

3) การขยายความ เปนการสรา งคาํ ถามวดั ความสามารถในการขยายขอความ ไดแ ก
ถาความสูงของรปู สามเหลย่ี มเพม่ิ ข้นึ เร่อื ย ๆ มุมยอดจะเปน อยางไร
ก. มมุ ปานชนั
ข. มมุ แหลมชนั
ค. มุมลาด
ง. มมุ ตรง
“เดก็ เอะอะวุน วายไมดูแล กลบั มาอานหนงั สอื นทิ าน”
ขอ ความแสดงความรูสึกอยางไร
ก. หงุดหงดิ
ข. ไมพอใจ
ค. กังวล
ง. รําคาญ

3.4.3 คาํ ถามวัดการนําไปใช
การนําไปใช หมายถึง ความสามารถในการนําเอาความรู และความเขาใจเรื่องราวใด ๆ ที่

ตนมีไปแกปญหาทีแ่ ปลกใหม ซ่งึ จะตอ งอาศัยความรู ความจํา ความเขา ใจ การนาํ ไปใช เปน การใหตัดสนิ ใจและ
แกป ญ หาใหม ๆ ทีไ่ มเคยพบมากอน การถามทกั ษะและการนาํ ไปใชอ าจถามไดด ังนี้

ถาปุยแพงเราจะใชว ิธใี ดเพมิ่ ปุยในดนิ
ก. ปลูกพชื คลมุ ดนิ
ข. ปลูกพชื หมนุ เวียน
ค. พรวนดนิ บอย ๆ
ง. เผาดินกอ นปลกู พืช

42 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

วธิ บี ัญญตั ไิ ตรยางศใชไ ดต รงกบั สภาพความจรงิ ในเร่ืองใดมากทส่ี ดุ

ก. การหาพน้ื ที่ ข. คดิ ภาษีเงนิ ได

ค. คิดคาแรง ง. คดิ ดอกเบย้ี

3.4.4 คําถามวัดการวิเคราะห วัดสมรรถภาพสูงกวาการนําไปใช ตรงที่การนําไปใชนั้นเนนที่

แกปญหาโดยใชความจํา และความเขาใจ นําไปใชกับปญหาอยางเหมาะสม สวนการวิเคราะหเนน

ความสามารถในการแยกสวนประกอบของเร่ืองราว เหตุการณ ปญหา ออกเปนสวนยอ ย ตามหลกั เกณฑ หรือ

กฎเกณฑทก่ี าํ หนดให เพ่ือคนหาขอเทจ็ จริงทซ่ี อนอยใู นเร่ืองราวหรอื เหตกุ ารณน ้ัน ๆ

การวเิ คราะหแ บงเปน

1) วเิ คราะหค วามสาํ คญั ใชค ําถามใหน ักเรียนคนหาคุณลักษณะทเ่ี ดนชัด เชน

“เสียชพี อยาเสยี สัตย” เปน ขอความชนดิ ใด

ก. คําพงั เพย ข. คาํ ปลุกใจ

ค. ความคิดเหน็ ง. คตเิ ตอื นใจ

2) วเิ คราะหค วามสัมพนั ธ ใชคําถามใหน กั เรียนคน หาวา ขอ เทจ็ จรงิ เหลานนั้ มีความสมั พนั ธกนั

อยางไร เชน

“ตน ไมต องการปุย” เปรยี บเหมอื นคนตองการอะไร

ก. ไขมัน ข. เกลอื แร

ค. โปรตีน ง. วิตามิน

3) วิเคราะหหลักการ เปนการถามเพ่ือมุงใหนักเรียนคนหาหลกั เกณฑ ท้ังที่มใี นเร่ือง อยาง

ชดั เจนและไมช ดั เจน การวิเคราะหหลักการตองอาศัยความสามารถในการวิเคราะหความสัมพันธ เชน

ผใู ดมอี าํ นาจสงู สดุ ในการปกครองแบบประชาธปิ ไตย

ก. ทหาร ข. ประชาชน

ค. ตํารวจ ง. คณะรัฐมนตรี

3.4.5 คําถามวดั การสงั เคราะห
การสังเคราะห หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมสิ่งตาง ๆ ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปเขาดวยกัน

เพอื่ ใหกลายเปนสิ่งสาํ เร็จรปู ข้ึนใหม ทม่ี ีคุณสมบตั ิบางอยางแปลกพสิ ดารไปจากสว นประกอบยอย ๆ เดิม การ
สงั เคราะหเ ปนพฤตกิ รรมทีต่ อ งอาศัยความรคู วามจํา ความเขา ใจ การนาํ ไปใช และการวิเคราะหเปนรากฐาน

คําถามดานการสงั เคราะหม ี 3 แบบ คือ
1) การสงั เคราะหขอ ความ เปน การนาํ ความรูแ ละประสบการณต า ง ๆ ผสมผสานเพ่ือใหเ กิด
ขอความ หรอื ผลติ ผลใหม ๆ ท่ีสามารถสอ่ื ความคิดไปสูบุคคลอน่ื ๆ ได เชน

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 43

ประโยคน้ีควรแกไ ขอยางไร จงึ ถูกตอ งตามมาตรฐานการใชภาษาทด่ี ี

“เราทุกคนตา งก็ตอ งพง่ึ พาอาศยั ซงึ่ กันและกนั ในโลกน้ี”

ก. เราทุกคนกต็ อ งพ่ึงพาอาศยั กนั และกันในโลกนี้

ข. เราตา งตองพึง่ พาอาศัยซงึ่ กันและกนั

ค. ในโลกน้ตี า งตอ งพ่งึ พาอาศยั ซงึ่ กนั และกัน

ง. เราทกุ คนในโลกนตี้ อ งพ่ึงพาอาศยั ซ่งึ กันและกัน

2) การสังเคราะหแบบแผนงาน เปนการกําหนดแนวทางและขั้นตอนการปฏิบัติงานใด ๆ

ลวงหนา เพ่อื ใหก ารดาํ เนนิ งานของกิจการนนั้ ราบรน่ื บรรลุผลตรงตามเกณฑแ ละมาตรฐานท่ีกําหนดไว เชน

ในการทดลองหาความหนาแนน ของนา้ํ แข็ง เราตอ งระวงั อะไรเปน พเิ ศษ

ก. น้ําหนักของนํ้าแขง็ ข. ปริมาณของกอ นนาํ้ แข็ง

ค. อณุ หภมู ขิ องนํ้าแขง็ ง. โพรงอากาศในกอนนา้ํ แข็ง

3) สังเคราะหความสัมพันธ หมายถึง การคนหาความสัมพันธของหนวยยอยตาง ๆ ใหรวมเปนส่ิง

เดยี วกันการสังเคราะหความสัมพนั ธมีลักษณะคลายการริเริม่ สรางสรรคเ ปนการนําเอาหลักการ หลักวิชา หลาย ๆ

เรือ่ งมาผสมกนั เพือ่ ใหเ กดิ หนา ที่ใหม เหมาะสมกับการใชใ นสถานการณใหม เชน

จากการทดลองปรากฏวา ก + 3 = ข + 4

ฉะน้ันเราอาจสรุปไดว า

ก. ก = ข ข. ก มากกวา ข

ค. ก นอ ยกวา ข ง. 2 ก เทากบั 3 ข

3.4.6 คําถามวดั การประเมนิ คา

การประเมินคา หมายถึง การวินิจฉัย การตีคุณคา เปนราคาของส่ิงตาง ๆ โดยสรุปอยางมีหลักเกณฑ

วา สิ่งนั้นมีคุณคา ดีเลว หรือเหมาะสมเชนไร นับเปนความสามารถของสมองดานปญญาขั้นสุดทาย ลักษณะ

สาํ คญั ของการประเมินคา จะตองพจิ ารณารอบคอบแลว นําไปเปรียบเทียบกับกฎเกณฑต าง ๆ วาสอดคลองกัน

หรอื ไมเ พยี งใด โดยใชเ กณฑ 2 ประเภท คอื ใชเ กณฑภ ายนอก และใชเกณฑภ ายใน

1) การประเมนิ คา โดยเกณฑภ ายใน เปนการวนิ ิจฉัยคณุ คา ตามเกณฑภ ายในเน้อื เรื่อง เชน

ความสอดคลองของเหตุผล ความถูกตองเหมาะสมของขอ มูล เปนตน ตัวอยางเชน

การที่พระอาทิตยขน้ึ ทางตะวนั ออกไปตะวนั ตกทกุ วนั เหมาะสาํ หรับพสิ ูจนค วามจรงิ เร่อื งใดไดด ที ่สี ุด

การวัดและประเมินผลเพื่ออะไร

เป็นการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนเพื่อสรุปความคิดรวบยอดของผู้เรียนหลังจาก การเรียนรู้มาตลอดภาคเรียน/ปีการศึกษา ได้แก่การสอบกลางภาค/ปีและการสอบ ปลายภาค/ปี ครูผู้สอนควรกาหนดกรอบในการวัดและประเมินผล โดยพิจารณาคัดเลือกมาตรฐานและ ตัวชี้วัดสาคัญที่สามารถสะท้อนความคิดรวบยอดของผู้เรียนตลอดปีการศึกษา/ภาคเรียน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีกี่ประเภท

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้คืออะไร

หลักการวัดและประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) เป็นการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนหลังสิ้นสุดปีการศึกษา/ภาคเรียน ครูผู้สอนควรกาหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดสาคัญที่ผู้เรียนจาเป็นต้องรู้และสามารถ สะท้อนคุณภาพผู้เรียนตลอดปีการศึกษา/ภาคเรียน

วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีอะไรบ้าง

1. การวัดและประเมินผลผู้เรียน ซึ่งมีวิธีหลายวิธี เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การใช้ข้อทดสอบ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งวิธีที่ผู้สอนควรทำได้ง่ายที่สุดเพื่อดูพฤติกรรมเบื้องต้นของผู้เรียนได้ทันที คือ การสังเกต (Observation) และควรทำขณะสอนได้ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง