ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

"เรียนรู้ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติ"

Privacy & Cookies: This site uses cookies. By continuing to use this website, you agree to their use.
To find out more, including how to control cookies, see here: Cookie Policy

Show

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

คณิตศาสตร์ - ม.1 (หลักสูตรใหม่)

คณิตศาสตร์ - ม.2 (หลักสูตรใหม่)

คณิตศาสตร์ - ม.3 (หลักสูตรใหม่)

คณิตศาสตร์ - เตรียมสอบเข้า ม.4

TCAS (PAT1, กสพท. คณิต 1)

คณิตศาสตร์ - ติวสอบกลางภาค - ปลายถาค

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ภาษาไทย - เตรียมสอบเข้า ม.1

ภาษาไทย - เตรียมสอบเข้า ม.4 (แนะนำ สำหรับนักเรียนที่เวลาในการเตรียมสอบน้อย)

ภาษาไทย - เตรียมสอบเข้า ม.4

ภาษาไทย - TCAS (GAT, กสพท. ไทย)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


คอร์สเริ่มต้น ประถม+ม.ต้น

สังคม - เตรียมสอบเข้า ม.1

สังคม - เตรียมสอบเข้า ม.4

สังคม - TCAS (กสพท. สังคม)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ภาษาอังกฤษ - เตรียมสอบเข้า ม.1

ภาษาอังกฤษ - เตรียมสอบเข้า ม.4

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ฟิสิกส์ TCAS (กสพท. ฟิสิกส์, PAT2, PAT3)

ฟิสิกส์ - ม.ต้น (แยกเรื่อง)

ฟิสิกส์ - ม.ปลาย (แยกเรื่อง)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


เคมี TCAS (กสพท. เคมี, PAT2)

เคมี - ม.ปลาย (แยกเรื่อง)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ชีวะ TCAS (กสพท. ชีวะ, PAT2)

BioMedical Admissions Test (BMAT)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


วิทยาศาสตร์ - เตรียมสอบเข้า ม.1

วิทยาศาสตร์ - สอบแข่งขัน (สสวท. / สพฐ.) ป.4-5

วิทยาศาสตร์ - สอบแข่งขัน (สสวท. / สพฐ.) ป.6

วิทยาศาสตร์ - เตรียมสอบเข้า ม.4

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


วิทย์ประถม-ต้น พร้อมการทดลอง

วิทย์ประถม-ปลาย พร้อมการทดลอง

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


จินตคณิต (อายุ 4 - 12 ปี)

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย


คณิตศาสตร์ สไตล์การ์ตูน ป.1-3

วิทยาศาสตร์ สไตล์การ์ตูน ป.1-3

คณิตศาสตร์ สไตล์การ์ตูน ป.4-6

วิทยาศาสตร์ สไตล์การ์ตูน ป.4-6

��������͡ʵ������ͷء�ӡ��������е��������������͡������ ��ҹ�ͧ�֡��Ҿ�Сѹ����������¡�������觡ѹ�ǹ�ѹ�������ҵ��˹觷��շ���ش㹡���͡ʵ��� 㹡���͡ʵ��� ������è�������ͷ���դ��������٧����ʵ��췡�͹ ��������ҡCatamarans ,420, Laser��Ы������� �繪ش�ش���� 㹢�С�������������������ͪش�á ���ѧ����������С��ѧ��������������ҧ�٧㹡�äǺ������ͫ��������ͧ����ͧ ����֡��ҤǺ����ҡ������������������������ҡ 㨡�Դ�����������ǡ�ʵ��������͸�PAPA��͹ �Դ�ѧ������ǡ�����ͧ价�����͡������ ���Ѻ��ͧ���ֹ������͸����á�������������������͡������ ��ѧ�ҡ����觾ԹԨ������������ǡ��ѧ��辺��PAPA��������繤Դ��Ҥ��ѧ���֧���� ����»�ء���ӡѺ������������ 㨡�Դ�����ѹ����ҡ�����������§����������������ѧ���������Ǩ���Ҫ�Ф�������ѧ����� �����ش����� tack� tack ����������§���������������� ��������ա�� ���� �����˹�ѹ������� ���Ẻ��鹵͹��������ͧ�Դ���������պ�����ǹ�١���� ��觨��ú�ͺ ��ҷ��������¤���������...��� �ѹ��������͵͹�˹���...�Դ��������ä����á ������ͺ�����ͧ����


ปรับปรุง : 2565-12-19 (ปรับรูปแบบ)T.1 องค์ประกอบ และความหมาย ของการสื่อสาร

การสื่อสาร (Communication) มาจากภาษาละตินว่า communicare หมายถึง to share คือ กิจกรรมที่สื่อสารสนเทศบางอย่าง ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึก การเอาใจใส่ ทัศนคติ ความคาดหวัง การรับรู้ หรือคำสั่ง อาจเป็นการพูดคุย การแสดงออก การเขียน พฤติกรรม หรือผ่านอุปกรณ์อื่นใด ที่เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่าง 2 คนหรือมากกว่า
องค์ประกอบของการสื่อสาร (Communication Components) ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร (Sender) สาร (Message) สื่อ (Channel or Medium) และผู้รับ (Receipient) ซึ่งไม่จำเป็นต้องเกิดในเวลาที่จำกัด หรือในพื้นที่แคบ และการสื่อสารเกี่ยวข้องกับขั้นตอนสำคัญ 3 ขั้น คือ 1) คิด (Thought) ในผู้ส่งสาร 2) เข้ารหัส (Encoding) แปลงสารเพื่อส่งผ่านช่องทางที่กำหนด 3) ถอดรหัส (Decoding) แปลสิ่งที่ได้รับเป็นความเข้าใจที่มีต่อสาร
โมเดลของการสื่อสาร (Communication Model) ครั้งแรกนั้นถูกเสนอโดย Claude Shannon และ Warren Weaver นักวิศวกรไฟฟ้า ที่ Bell Laboratories ในค.ศ.1949 (2492) ออกแบบเพื่อแสดงการสะท้อนการทำงานของ วิทยุ และโทรศัพท์ ในงานที่เขาทำอยู่ เป็นแบบจำลองการสื่อสารเชิงทฤษฎีคณิตศาสตร์ (The Mathematical Theory of Communication) ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ sender, message, channel, และ receiver

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

T.2 สาร คืออะไรสาร (Message) คือ เรื่องราวอันมีความหมายและแสดงออกมาโดยอาศัยภาษา หรือสัญลักษณ์ใดก็ตาม ที่สามารถทำให้เกิดการรับรู้ร่วมกันได้ สารจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งสารเกิดความคิดขึ้น และต้องการจะส่ง หรือถ่ายทอดความคิดนั้นไปสู่การรับรู้ของผู้อื่น (ผู้รับสาร)
สาร (Message) ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน
1. รหัสของสาร (message codes)
รหัสของสาร คือ ภาษา (Language) หรือสัญลักษณ์ (symbolic) หรือสัญญาณ (signal) ที่มนุษย์คิดขึ้นเพื่อใช้แสดงออกแทนความคิดเกี่ยวกับบุคคลและสรรพสิ่งต่าง ๆ อาจใช้คำพูด หรือไม่ใช้คำพูดก็ได้ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ QR-Code
2. เนื้อหาของสาร (message content)
เนื้อหาของสาร ที่มนุษย์สื่อสารกันนั้นครอบคลุมถึงความรู้และประสบการณ์ของมนุษย์
2.1 สารประเภทข้อเท็จจริง - สารที่รายงานให้ทราบถึงความจริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโลกทางกายภาพ
2.2 สารประเภทข้อคิดเห็น - สารที่เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในจิตใจจากการประเมินของผู้ส่งสาร
2.3 สารประเภทความรู้สึก - พวกโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน นวนิยาย หรือเรื่องสั้น
3. การจัดสาร (message treatment)
สารอาจถูกจัดการด้วยการเรียงลำดับความยากง่าย รูปแบบการใช้ภาษา เช่น สารในการโฆษณา การหาเสียง การรายงาน
อ้างอิงจาก e-book.ram.edu/../mc111
? การไม่ควบคุมสารที่ส่งออกไปผ่านสื่อ นำมาวิพากษ์ได้หลายประเด็น มีตัวอย่างให้เห็นบ่อยครั้ง
อาทิ ฝ้าย-เวฬุรีย์ ดิษยบุตร สละมงกุฏ MUT2014 หรือ มาร์ค V11 AF7 ด่าอภิสิทธิ์ฮาโรลด์ ดี ลาสเวลล์
(Harold D. Lasswell)
นักรัฐศาสตร์ชาวอเมริกัน
ได้อธิบายการสื่อสารที่มีคนรู้จักมากที่สุด
ในปี ค.ศ.1948 (2591) โดยเสนอว่า วิธีที่สะดวกที่จะอธิบายการกระทำการสื่อสารคือ การตอบคำถามต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ใคร (who)
2. กล่าวอะไร (says what)
3. ผ่านช่องทางใด (in which channel)
4. ถึงใคร (to whom)
5. เกิดผลอะไร (with what effect)
e-book.ram.edu
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
การนำความคิดมาแปลงเป็นสารนั้น มีเงื่อนไขมากมายภายใต้กระบวนการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ ก่อนเริ่มต้นการสื่อสาร สารที่ปรากฎอาจมาจากความรู้สึกนึกคิด ความเชื่อ ประสบการณ์ และข้อมูล ดังคำว่า "ความผิดคนอื่นดั่งขุนเขา ความผิดเราเท่าเส้นผม" หรือ "ความดีเราดั่งขุนเขา ความดีคนอื่นเท่าเส้นผม" ซึ่งเป็นการชวนคิดตามคำที่ว่า "เอาใจเขามาใส่ใจเรา" ก็มาจากความรู้สึกเป็นสำคัญ มีกิจกรรมชวนคิดที่ชื่อว่า Six Hat Thinking ที่ฝึกให้รู้ว่าแต่ละเรื่องนั้นคิดกันได้หลายมุม
การคิดผ่านหมวก 6 ใบ #
1. White Hat: ใช้ข้อมูลข่าวสาร
2. Red Hat: ใช้อารมณ์ความรู้สึก
3. Black Hat: ใช้การตั้งคำถามหรือตั้งข้อสงสัยมุมลบ
4. Yellow Hat: ใช้การมองในแง่ดี และมีความหวัง
5. Green Hat: ใช้การคิดอย่างสร้างสรรค์
6. Blue Hat: ใช้การควบคุมความคิดทั้งหมดให้มองเห็นภาพรวมของการคิด
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
บางครั้ง เมื่อได้รับประเด็นมาหนึ่งเรื่อง แล้วเข้ากระบวนการคิด ก็จะแปลงเป็นสารในหลายความคิดได้ อาจมีทั้งหมวกขาว และหมวกแดงคู่กัน ถ้ามีโอกาสก็จะชวนนักศึกษาทั้งกลุ่ม แบ่งกันสวมหมวกคนละใบ แล้วออกมาส่งสารผ่านวาจาให้เพื่อนได้ทราบความคิด ตามบทบาทของหมวกแต่ละใบ
ตัวอย่างประเด็น
- ดูละครผู้ร้ายตายตอนจบ
- ดูละครพระเอกข่มขืนนางเอก มิ.ย.57
- ดูละครตบจูบ
- พบเพื่อนยังไม่ส่งหัวข้อ
- ทำงานในองค์กรหลงทิศ
- ทำงานในราชการ หรือ เอกชน
- Tablet ป.1 หรือ รับจำนำข้าว
- รับตรง กับ แอดมิชชั่นกลางT.3 ช่องทางการสื่อสาร หรือ สื่อ คืออะไรช่องทางการสื่อสาร (Channel) หรือ สื่อ (Media) คือ ตัวกลางให้สื่อวิ่งจากผู้ส่งสารไปถึงผู้รับสาร โดยปกติผู้รับสารจะรับสารผ่านเข้าไปสู่ช่องทาง (Channel) การรับรู้ของมนุษย์ โดยผ่านประสาทสัมผัส ได้แก่ มองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้สัมผัส และได้ลิ้มรส ซึ่งต้องอยู่ต่อหน้ากัน
แต่ถ้าอยู่ห่างไกลกันก็ต้องใช้สื่อ (Media) ที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องช่วยในการติดต่อสื่าอสาร
โดย "ช่องทาง" หมายถึง ทางซึ่งทำให้ผู้ส่งสารกับผู้รับสารติดต่อกันได้ อันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
ส่วน "สื่อ" หมายถึง สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ได้แก่ อากาศ แสง เสียง อุปกรณ์ เครื่องมือที่มนุษย์คิดขึ้น หรือ เครือข่ายสังคม อย่าง facebook.com หรือ line
การแบ่งสื่อตามลักษณะของสื่อ สามารถแบ่งได้ 5 ประเภท
1. สื่อธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศที่อยู่รอบตัวมนุษย์อันมีอยู่ตามธรรมชาติ
2. สื่อมนุษย์ ได้แก่ บุคคลที่ทำหน้าที่เป็นสื่อนำสารไปสู่ผู้รับ เช่น คนนำสาร นักเล่านิทาน โฆษก ล่าม
3. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ สื่อทุกชนิดที่อาศัยเทคนิคการพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์งฅนเมืองเหนือ
4. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สื่อที่พัฒนาโดยใช้ระบบเครื่องกลไกไฟฟ้า เช่น วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต
5. สื่อระคน ได้แก่ สื่อที่ทำหน้าที่นำสาร แต่ไม่อาจจัดไว้ใน 4 ประเภทข้างต้น เช่น วัตถุจารึก สื่อพื้นบ้าน
+ http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_04_01.html
? ถ้าจะส่งข้อมูลถึงลูกค้า ท่านจะใช้สินค้าใด กับสื่อประเภทใด เพราะเหตุใด
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

เว็บไซต์ + โดเมน

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

คลิ๊ป MIS#49

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

e-learning ##

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

e-book #

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

Sound #

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

KM + Blog #

T.4 ประเภทของสื่อที่ใช้ในงานประชาสัมพันธ์ [1]p.268

สื่อบุคคล (Personal media)
1. คำพูด/วาจา (spoken words) .. โทรศัพท์ หรือประชุม
2. อีเมล (e-mail)
สื่อมวลชน (Mass media)
1. วิทยุกระจายเสียง (Radio)
2. หนังสือพิมพ์ (Newspaper)
3. โทรทัศน์ (Television)
4. ภาพยนตร์ (Movie) - handbill
5. วารสาร (Journal) - มหาวิทยาลัย
6. นิตยสาร (Magazine)
7. โปสเตอร์ (Poster)
8. เหตุการณ์พิเศษ (Special Event)
9. เว็บไซต์ (Website)
ฯลฯ

T.5 ตัวแบบการสื่อสาร (Models of Communication)การสื่อสารมีตัวแบบหลายรูปแบบ ที่ต้องเข้าใจ และเลือกใช้ให้เหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมาย ซึ่ง Wood, J. T. (2009) [2] เขียนไว้ในหนังสือ Communication in our lives ว่ามีทั้งหมด 3 ตัวแบบ คือ เป็นเส้นตรง เป็นเส้นรับกับเส้นส่ง และผสมบทบาทเป็นทั้งผู้รับและผู้ส่ง
+ http://lms.oum.edu.my (Open University Malaysia)
1. ตัวแบบทางเดียว (Linear model) - การสื่อสารเกิดขึ้นเป็นเส้นตรง จำลองภาพการสื่อสารทางเดียว คือมีผู้ส่ง มีสาร มีสื่อ มีผู้รับ และมีการตอบสนอง เป็นโมเดลที่เน้นการตอบคำถาม 5 คำถามคือ Who?, What?, In what channel?, To whom?, With what effect?
2. ตัวแบบสองทางสลับกัน (Interactive model) - การสื่อสารที่เกิดการเข้ารหัสทั้งระหว่างผู้รับ และผู้ส่ง โดยช่องทางของ message และ feedback แยกกันคนละเส้นอย่างชัดเจน แต่ผู้รับกับผู้ส่งจะสลับบทบาทกันได้ สิ่งที่แยกระหว่างแต่ละคน คือ กรอบแห่งประสบการณ์ร่วม (Field of Experience)
3. ตัวแบบพร้อมกัน (Transactional model)
การสื่อสารในสังคมที่ใช้คำว่าผู้สื่อสาร (Communicator) และแบ่งกรอบแห่งประสบการณ์ร่วมของแต่ละคน ซึ่งแต่ละช่วงเวลาจะมีการสื่อสารสองทาง คือเป็นทั้งผู้ส่ง และผู้รับเกิดขึ้นตลอดเวลา
T.6 วิธีการสื่อสาร #1. การสื่อสารด้วยวาจา (ภาษาพูด) -
2. การสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษร (ภาษาเขียน) - , ไอทีในชีวิตประจำวัน
3. การสื่อสารด้วยกริยาท่าทาง (ภาษากาย) - ท่าของเรา แสดงถึงอะไร บอกได้ไหมT.7 ประเภทของการสื่อสาร # #1. การสื่อสารภายในตนเอง (Intrapersonal or Self-Communication) เช่น ไม่นะ เดี๋ยวอ้วน
2. การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonnal Communication) เช่น อีกหน่อยสิ เหลือเต็มเตาปิ้งเลย
3. การสื่อสารแบบกลุ่ม (Group Communication) เช่น ตกลงจะไปหรือไม่ไปกันแน่
4. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เช่น เลือกผมเถอะ เดี๋ยวจะสร้างถนนเข้าหมู่บ้านให้T.8 หลักสำคัญของการติดต่อสื่อสาร [1]p.66Scott M. Cutlip and Allen H. Center, Effective public relations 5th ed.
1. ความน่าเชื่อถือ (Credibility)
- มีอะไรก็ตามที่ทำให้ความน่าเชื่อถือในการสื่อสารลดลง ย่อมไม่เป็นผลดีต่อเป้าหมายของการสื่อสาร
2. ความเหมาะสมกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม (Context)
- สภาพแวดล้อมต้องเอื้ออำนวย สนับสนุนการติดต่อสื่อสาร
3. เนื้อหาสาระ (Context)
- ประเด็นเป็นที่ต้องการตรงกันกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
4. ความชัดเจน (Clarity)
- เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย มีความชัดเจน และเพียงพอที่จะเข้าใจ
5. ความต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ (Continuity and Consistency)
- ความคงเส้นคงว่าของการให้ข้อมูลข่าวสาร จะทำให้การติดต่อสื่อสารมีความยั่งยืน
6. ช่องทางในการสื่อสาร (Channels)
- ตัวที่เชื่อมระหว่างผู้รับและผู้ส่งสาร ซึ่งมีได้หลายทางที่สนับสนุนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
7. ขีดความสามารถของผู้รับ (Capability of audience)
- ต้องทำให้สารนั้นเป็นที่เข้าใจได้ง่าย จนผู้รับสารใช้ความพยายามน้อย แต่ก็ยังเข้าใจได้T.9 การสื่อสารระหว่างบุคคล คืออะไรการสื่อสารระหว่างบุคคล (อังกฤษ: Interpersonal Communication) คือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป การที่บุคคลสองคนหรือมากกว่านั้นติดต่อกันนั้น จะทำให้ทั้งสองฝ่ายมีความเข้าใจกันและรับรู้ข้อมูลต่างๆ ของโลก นอกจากนี้ก็จะทำให้รู้จักตนเองด้วย เพราะการสื่อสารเป็นเหมือนภาพสะท้อนที่กลับมาหาตัวเอง คนที่ขาดการสื่อสารระหว่างบุคคลจะเป็นคนที่ปรับตัวทางสังคมยากและมีปัญหาทางด้านอารมณ์ ยิ่งคนที่มีการสื่อสารระหว่างบุคคลมากเพียงใดก็จะยิ่งเพิ่มการรู้จักตัวเองและการรู้จักคนอื่นมากยิ่งขึ้นเพียงนั้น ข้อมูลที่เราได้มาจากการสื่อสารระหว่างบุคคล นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการปรับตัวเองแล้ว ยังแสดงว่าตัวเองมีความสามารถในการสื่อสารกับคนอื่นอีกด้วย
การสื่อสารระหว่างบุคคล ทำให้เกิดผล 3 ประการ
1. ลดความกลัวในการติดต่อสื่อสารลง
2. มีความสอดคล้องกันระหว่างทัศนคติและการแสดงออก
3. สร้างความไว้วางใจกับผู้ที่ติดต่อ
+ http://th.wikipedia.orgT.10 อวัยวะสัมผัส (Sensory Organ)มนุษย์เรารับรู้จากการสัมผัสโดยอาศัยอวัยวะรับสัมผัส (Reception)
1. ตา (Eye) ให้ความรู้สึกจากการเห็น เรียกว่า จักษุสัมผัส
2. หู (Ear) ให้ความรู้สึกจากการได้ยิน เรียกว่า โสตสัมผัส
3. จมูก (Nose) ให้ความรู้สึกจากการได้กลิ่น เรียกว่า ฆานสัมผัส
4. ลิ้น (Tongue) ให้ความรู้สึกจากการรู้รส เรียกว่า ชิวหาสัมผัส
5. ผิวหนัง (Skin) ให้ความรู้สึกจากการสัมผัส เรียกว่า กายสัมผัสT.11 รูปแบบของการส่งสัญญาณข้อมูล #การส่งสัญญาณข้อมูล (Data transmission) หมายถึง การส่งข้อมูลจากเครื่องส่งสาร หรือผู้ส่งสาร ผ่านสื่อหรือช่องทางไปยังเครื่องรับสารหรือผู้รับสาร ซึ่งแบบของการส่งสัญญาณข้อมูลมีหลายรูปแบบ1. แบบทิศทางเดียว (One-way หรือ Simplex) คือ การส่งข้อมูลในทิศทางเดียว เช่น การส่งสัญญาณของสถานีวิทยุกระจายเสียง หรือข้อมูลในเว็บไซต์แบบ Web 1.0 ซึ่งผู้ส่งจะไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารย้อนกลับมาจากผู้รับ เพราะไม่มีช่องทางรับสาร2. แบบกึ่งทางคู่ (Half-Duplex) คือ การส่งข้อมูลในแบบสลับกันรับ-ส่งข้อมูลไปมา เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร หรือเว็บบอร์ด ซึ่งผู้ส่ง และผู้รับจะส่งสารในเวลาเดียวกันไม่ได้ ต้องผลัดกันเป็นผู้ส่งและผู้รับ3. แบบทางคู่ (Full-Duplex) คือ การส่งข้อมูลในแบบรับ-ส่งได้พร้อมกัน เช่น โทรศัพท์ หรือวิดีโอคอนเฟอเร้นท์ หรือ Web 2.0 ซึ่งผู้ส่ง และผู้รับสามารถรับและส่งในเวลาเดียวกันได้ ไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายรับหรือส่งจนเสร็จ? การส่งสัญญาณข้อมูลทั้ง 3 แบบมีจุดเด่น และจุดด้อยต่างกัน แต่ละแบบเหมาะกับงานใดT.12 วิธีการสื่อสาร .. ย่อมมีความแตกต่างไปตามสื่อแต่ละแบบวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการเลือกสื่อ/ช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสม ย่อมหมายถึงประสิทธิผลในการสื่อสารไปแล้วครึ่งหนึ่ง เช่น การโฆษณาขายของเด็กเล่น หรือขนมสำหรับเด็ก ควรเลือกโฆษณาทางโทรทัศน์มากกว่าทางหนังสือนิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์ เพราะเด็กชอบดูโทรทัศน์มากกว่าอ่านหนังสือ หรืออ่านไม่ออก
? จงยกตัวอย่างวิธีการสื่อสารที่ไม่เหมาะสม
วิธีการสื่อสาร ต้องพิจารณาจากอะไร
+ สาร ที่ต้องการสื่อ
+ สื่อ/ช่องทาง มีอะไรให้ใช้ได้บ้าง
+ ผู้รับสาร คือใคร
+ ผู้ส่งสาร คือใคร
วงจรการสื่อสาร - PDCA
+ วางแผนการสื่อสาร
+ ดำเนินการสื่อสาร
+ ประเมินผลการตอบรับ
+ ปรับปรุงตามผลประเมิน
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

โน๊ต อุดม
+ บ่นในเฟสบุ๊ค .. FB เอาไว้ทำอะไรในมุมมองของโน๊ต 12.05
+ ฉ่อย - อินเทอร์เน็ต - ทำงานอยู่โต๊ะติด ๆ กัน ทำงานอย่างกับเป็นใบ้ 5.01
.. กลับถึงบ้านบ่นงานหนักฉิบเป๋ง หากบริษัทมึงเจ้งกูก็ไม่แปลกใจ .. เอชา เอช้า ..
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

เคยอบรมกับคุณภัทรา มาน้อย ยก case ผลวิจัยว่า "ลดความ จะเพิ่มผลผลิตได้"
? คำถามคือ ท่านเห็นอะไรจาก Line chart นี้O.1 รูปแบบของการสื่อสารด้วยวาจาเพื่อการประชาสัมพันธ์ [1]p.2711. การพูดชี้แจงอย่างเป็นทางการ (Formal Speeches) - หน้าเสาธง
2. การประชุมโต๊ะกลม (Round-Table Conference) - ประชุมกรรมการหมู่บ้าน
3. การอภิปรายกลุ่ม (Panel Discussions) - ประชุมผู้ถือหุ้น
4. การอภิปรายถามตอบปัญหา (Question-Answer Discussion) - ดารา
5. การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ (Informal Communion)
6. การแสดงสาธิต (Demonstration) - Amway
7. การประชุมชี้แจง (Staff Meeting) - พนักงานขาย
8. การประชุมบรรยายสรุป (Briefing Session) - ทหาร
9. การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) - เพาะเห็ด
10. การพูดในที่ชุมนุมชน (Public Speaking) - หาเสียงO.2 ปัจจัยส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสื่อสาร #1. ระดับความรู้ (Knowledge) เช่น ไม่ควรสอนการใช้ค่าสถิติมาทดสอบสมมติฐานกับนักเรียนประถม
2. ทัศนคติ (Attitude) เช่น ไม่ควรพูดเรื่องความยุติธรรม หรือประชาธิปไตยกับคนสวมเสื้อสี
3. ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Social Cultural System) เช่น ไม่ควรพูดเรื่องประชาธิปไตยในประเทศสังคมนิยมO.3 หลักในการเขียนเพื่อการสื่อสาร 7 C's1. มีความชัดเจน (Clarity)
2. มีความสมบูรณ์ (Completeness)
3. มีความรัดกุมและเข้าใจง่าย (Conciseness)
4. ระลึกถึงผู้อ่าน (Consideration)
5. มีความสุภาพ (Courtesy)
6. มีความถูกต้อง (Correct)
7. ข้อเท็จจริง (Concreteness)
+ tice.ac.th/Online/Online2-2548/bussiness/nantapon/b5.htm

หลักทั่วไปในการเขียน
1. ความชัดเจนของเรื่องราว เนื้อหา สาระ
2. ความสุภาพ
3. ความกระชับ เนื้อหาไม่ฟุ่มเฟือยจนเกินไป
4. การเน้นย้ำ หรือสิ่งสนับสนุนข้อมูลที่จำเป็น

รูปแบบการเขียนที่ดี
1. มีแบบฟอร์มที่ถูกต้อง เหมาะสม
2. จัดทำได้อย่างเรียบร้อย บรรจุข้อมูลครบถ้วน
3. มีความน่าเชื่อถือ
4. ทันต่อเหตุการณ์
5. ใช้งานได้ดี

ข้อพึงระมัดระวังในการเขียน
1. มุ่งประเด็นน่าสนใจในประเด็นใดประเด็นหนึ่งเท่านั้น
2. เนื้อหาต้องครบถ้วน และไม่ตกประเด็นสำคัญที่ต้องการสื่อสาร
3. การจัดเรียงลำดับความสำคัญของเนื้อหา
4. การให้เหตุผลอย่างสอดคล้อง และเชื่อมโยงข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ
5. การใช้ภาษาเขียนที่เป็นทางการ ตัวสะกด การันต์ วรรคตอนถูกต้อง

เรียบเรียงโดย ดร.ตะวันฉาย มิตรประชา scribd.com/doc/231898363/

O.4 หลักสำหรับการพูดในที่ชุมนุมชน [1]p.2781. ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะพูดให้เข้าใจชัดเจน
2. วิเคราะห์ความพร้อมของกลุ่มผู้ฟัง
3. จัดลำดับเรื่องที่จะพูด
4. ทำใจให้สบาย มีความเป็นกันเองกับผู้ฟัง
5. พูดอย่างเป็นธรรมชาติ มั่นใจ อย่างกระตือรือร้น
6. พูดพร้อมรอยยิ้ม มีชีวิตชีวา น่าสนใจ
7. พูดด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจน
8. พูดคล่อง ฉะฉาน
9. มีลีลา จังหวะ รู้จักการเน้นเสียง
10. เสียงดังฟังชัด
11. พูดอย่างสุภาพ เป็นมิตร ไม่อวดดี
12. มีท่าทางประกอบ อย่างมีชีวิตชีวา
13. ประสานตากับกลุ่มผู้ฟัง ไม่หันหลังให้ผู้ฟัง
14. ไม่พูดซ้ำซาก วนไปมา
15. รักษาเวลาในการพูด
16. เตรียมทุกอย่างให้พร้อมO.5 การย่อความ (Precis) คือ การรับสารที่มีประสิทธิภาพ #บุญยงค์ เกศเทศ ได้ให้นิยามว่า การย่อความ คือ การเก็บเนื้อหาสาระสำคัญของเรื่องทั้งหมดมาเรียบเรียงใหม่อย่างสั้น ซึ่งทำให้ผู้อ่านสามารถรู้เรื่องยาว ๆ ได้ในเวลาไม่นานนัก
สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และอุดม หนูทอง ได้ให้นิยามว่า การย่อความ คือ การเก็บใจความสำคัญของเรื่องมาเขียนใหม่ เพื่อง่ายแก่การเข้าใจและสะดวกที่จะนำไปใช้ประโยชน์
รวมความได้ว่า การย่อความ คือ การถ่ายทอดใจความสำคัญของเรื่องที่เก็บได้จากการอ่านหรือการฟัง โดยใช้ภาษาของเราเอง
ส่วนประกอบของบทความ มักมี 2 ส่วน
1. ใจความ เป็นข้อความที่สำคัญที่สุด
ถ้าตัดใจความออกจะทำให้ไม่เข้าใจบทความนั้น หรือทำให้เนื้อหาสาระในบทความนั้นเปลี่ยนแปลงไป
2. พลความ เป็นข้อความที่ขยายใจความให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ส่วนของพลความนี้ถึงจะขาดหายไปหรือตัดออกไป ก็ไม่ทำให้เนื้อหาสาระในบทความนั้นเปลี่ยนแปลง
เนื้อหาของบทความ มักมี 3 ลักษณะ
1. ข้อเท็จจริง เช่น เขายิงธนูเข้าเป้าหมาย
2. ข้อคิดเห็น เช่น แม่นอย่างกับจับวาง
3. ข้อความแสดงอารมณ์ความรู้สึก เช่น ชอบจังคนเก่งอย่างนี้
วิธีการย่อความ
1. อ่านบทความที่จะย่อทั้งเรื่องให้เข้าใจ
2. พยายามจับความคิดของผู้เขียนว่า ต้องการเสนอเรื่องใดเป็นสำคัญ
3. จับใจความสำคัญของเรื่องให้ได้ โดยตั้งคำถามไว้ในใจ เช่น ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม อย่างไร
4. นำใจความทั้งหมดที่จับได้มาเรียบเรียงใหม่
+ บทเรียนที่ ๓ ท๓๐๑๐๒ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๒O.6 เทคนิคการจับประเด็นการเรียนรู้
- สิ่งใหม่ที่ได้มา (ความรู้ มุมมอง แง่มุม ความคิด วิธีคิด)
- ต่อยอดความรู้เดิม
- ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ (แนวคิดเดิมเปลี่ยนไป)
- องค์ความรู้ที่เป็นของตนเอง
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

เทคนิคการจับประเด็น
อ้างอิงจาก http://sa.ku.ac.th/project/newgrad060153.ppt

ใจความสำคัญ
คือ ความสัมพันธ์/ความเกี่ยวข้อง/ความเชื่อมโยง/คำตอบ
ที่นำไปสู่ หัวเรื่อง

ประเด็น
- สาระสำคัญ
- ใจความสำคัญ
- แก่นของเรื่อง
หลักการจับประเด็น
- รู้หัวเรื่องที่กำลังศึกษา
- ตั้งคำถามล่วงหน้า เพื่อวางแนวคำตอบที่ควรได้
- อ่าน/ฟัง/ดู อย่างมีสมาธิ
- แยกแยะสาระจากการอ่าน/ฟัง/ดู
- สรุปผล
การจับประเด็น
- การหาสาระสำคัญของเรื่อง
- การจับใจความสำคัญของเรื่อง
- การสรุปใจความสำคัญของเรื่อง
- การจับหลักคิด/แนวคิดของเรื่อง
+ จากนั้นหยิบเอาความคิดหลัก/ประเด็นสำคัญมากล่าวย้ำให้เด่นชัด
+ โดยใช้ประโยคสั้น ๆ แล้วเรียบเรียงให้เป็นระเบียบ
องค์ประกอบของเนื้อเรื่อง/บทความ
- ส่วนกล่าวนำ/เกริ่นนำ
- ส่วนใจความสำคัญ/แนวคิดหลัก
- ส่วนขยายความ/รายละเอียดสนับสนุน
- ตัวอย่าง
- บทสรุปO.7 การนำเสนอคืออะไรการนำเสนอ (Presentation) คือ กระบวนการของการแสดงเรื่องราว ประเด็น หรือหัวข้อที่กำหนดต่อผู้ฟัง อาจอยู่ในรูปของการนำเสนอสินค้าตัวอย่าง การบรรยาย หรือทอร์คโชว์ เพื่อให้ข้อมูล ชักชวน หรือโน้มน้าวใจ โดย Wharton School of Business นำเสนอผลการศึกษาว่าการใช้ภาพจริง (Visual) ช่วยลดการประชุมลงได้ 28% อีกการศึกษาหนึ่งพบว่า การใช้ภาพจริงทำให้ดูเป็นมืออาชีพ และน่าเชื่อถือกว่าผู้นำเสนอที่พูดอย่างเดียว โดยโปรแกรมนำเสนอ (Presentation program) มีหลายกหลาย อาทิ MS PowerPoint, Apple Keynote, OpenOffice.org, Impress หรือ Prezi
+ ted.com
+ wikipedia.org/wiki/Presentation
+ bestpresentation.net/..-secrets-steve-jobs/
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

การนำเสนอสินค้าของ Steve Jobs ถือเป็นตำนานก็ว่าได้O.8 คำแนะนำในการฝึกซ้อมการนำเสนอ1. ฝึกพูดให้ดัง (Practice out loud)
ฝึกพูดดัง ๆ 3 ถึง 6 รอบ เพราะพูดค่อย ๆ แล้วผู้ฟังจะไม่ได้ยิน
2. อย่าอ่านสคริ๊ป (Practice with variety)
ทุกครั้งที่พูด อย่าพูดจากการท่องจำ แต่ให้พูดเหมือนการสนทนา ไม่ใช่พูดจากที่จดไว้
3. ฝึกควบคุมเวลา (Practice your timing)
ถ้ามีเวลา 30 นาที ต้องพูดในเวลา 18 - 25 นาที เผื่อเวลาสำหรับคำถาม และการแลกเปลี่ยน
4. ฝึกพูดต่อหน้าผู้ฟัง (Practice in front of a real audience)
หาผู้ฟังมาเป็นตัวแทนนั่งฟัง เวลาใช้คำที่ฟังแล้วเข้าใจยาก หรือไม่ชัด ก็จะได้ปรับปรุง
5. ฝึกการถูกถาม (Incorporate spontaneous Q&A into your practice)
เวลามีคำถามจากผู้ฟัง ก็อย่าพึ่งเข่าอ่อน ทำตัวเป็นธรรมชาติให้เหมือนตอนซ้อมถูกถาม
6. ฝึกพูดตอนเปิดกับปิด
(Spend more time on the speech opening and closing)
ให้เวลากับการซ้อมตอนเปิดกับตอนปิด เพราะเป็นเวลาสำคัญที่ผู้ฟังจะให้ความสนใจที่สุด
7. บันทึกคลิ๊ปตนเอง (Practice by recording yourself)
ถ้าเป็นการนำเสนอที่สำคัญมาก ก็ให้บันทึกเทป และเปิดดูเพื่อนำมาปรับปรุงให้สมบูรณ์ที่สุด
+ sixminutes.dlugan.com/presentation-practice/
? จงเลือกมา 3 ข้อว่า ถ้าท่านต้องเตรียมตัว ท่านจะเลือก 3 ข้อใด เพราะเหตุใด
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

The wolf of wall street [ชีวิต Jordan Belfort]
ภาพยนตร์เรื่องนี้เถื่อน 2 เรื่อง คือ sex กับ greedy
? เด็กที่บ้านถาม ดูเรื่องนี้แล้วได้อะไร .. ตอบให้เข้าใจยากนะนี่O.9 รูปแบบการตัดสินใจโดยกลุ่ม #การประชุมที่มีประสิทธิภาพสามารถมีได้หลายรูปแบบ
1. ในห้องประชุม (Decision room) - มีส่วนร่วมสูงสุด
2. เครือข่ายตัดสินใจในท้องถิ่น (Local decision network) - ไม่มีช่องว่างการสื่อสาร
3. ประชุมทางไกล (Teleconferencing) - มีส่วนร่วม แต่แบ่งกลุ่ม
4. การตัดสินใจทางไกล (Remote decision making) - มีช่องว่างระหว่างการสื่อสารมากO.10 ความหมายของธุรกิจ+ ธุรกิจ (Business) หมายถึง การกระทำกิจกรรมของมนุษย์อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ การผลิต การจำหน่าย การซื้อขายแลกเปลี่ยน และการให้บริการ โดยการกระทำนั้นกระทำไปเพื่อหวังกำไรเป็นผลตอบแทน
+ ธุรกิจ (Business) หมายถึง กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและการพาณิชย์ที่มีเป้าหมายทางด้านกำไรในการจัดหาสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองผู้บริโภค
+ ธุรกิจ (Business) หมายถึง บุคคลใดบุคคลหนึ่ง กลุ่มบุคคล หรือนิติบุคคลที่ทำงานหรือร่วมมือกันทำงานในการผลิต การจำหน่าย การแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ด้วยการสร้างสรรค์ เพื่อตนเองหรือสังคม โดยมุ่งหวังกำไรเป็นสิ่งตอบแทน
องค์ประกอบของการดำเนินธุรกิจ
1. คน คือ ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดขององค์การ
2. เงิน คือ สิ่งที่ถูกยอมรับว่าสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจ
3. เครื่องมือ/เครื่องจักร คือ สิ่งที่จำเป็นต่อการผลิตสินค้า
4. วัตถุดิบ คือ สิ่งที่นำมาเป็นทุนเริ่มต้นของการผลิตสินค้า
5. การจัดการ คือ การเชื่อมโยงองค์ประกอบทั้งหมด
6. การตลาด คือ การนำสินค้าออกไปถึงลูกค้า
7. ขวัญและกำลังใจ คือ องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้องค์การบรรลุเป้าหมาย
บทบาทของการสื่อสารทางธุรกิจให้ได้ผล
1. มีจุดประสงค์ที่เด่นชัดในการสื่อสาร
   1.1 เพื่อแจ้งข่าวสาร เช่น เปิดปิดกี่โมง
   1.2 เพื่อโน้มน้าวใจ เช่น มีสินค้าโปรโมชั่น
   1.3 เพื่อประชาสัมพันธ์ เช่น มีสินค้าอะไรบ้าง
2. มีความรู้ความเข้าใจในสารที่ต้องการจะส่ง
3. มีความพร้อมในการสื่อสาร
4. รู้จักใช้วิธีการสื่อสารให้เหมาะสม
5. มีการฝึกฝนทักษะอยู่เสมอ
6. รู้จักเลือกกาลเทศะให้เหมาะสม
+ การเขียนทางธุรกิจ [PDF]
โศกนาฏกรรมองค์กรหลงทิศ [3]
- บริหารจัดการโดยไม่ใช้ข้อมูลจริง
- ใช้ management tools โดยไม่เข้าใจ
- กำหนดกลยุทธ์โดยไม่คำนึงถึงความเสี่ยง
- ไม่รู้ว่าลูกค้าคือใคร
- ตอบสนองลูกค้าไม่ได้
- การปฏิบัติการล้มเหลว
- พัฒนาบุคลากรโดยไร้ทิศทาง
- รักษาบุคลากรที่ดีไว้ไม่ได้
- ภาวะผู้นำล้มเหลวหนังสือดี สำหรับธุรกิจ
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

รศ.เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ
แนะนำหนังสือให้อ่านO.11 เทคนิคการวิเคราะห์งาน #การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) เป็นการแสดงให้เห็นว่าต้องดำเนินการอย่างไรกับเรื่อง/งานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์กับการวิเคราะห์ในเรื่องอื่นในชีวิตประจำวันได้
1. ระบุกิจกรรมหลัก
2. วิเคราะห์ระดับของงาน/กิจกรรม ว่าสอดรับกับระดับการจัดการใด
3. วิเคราะห์เวลา และปริมาณงาน
4. วิเคราะห์ความถี่ในการปฏิบัติงาน
5. วิเคราะห์การใช้ทรัพยากร
6. วิเคราะห์ความเสี่ยงของงานหรือกิจกรรม
7. วิเคราะห์ว่าทำเองหรือเอาท์ซอร์ซ
8. ตรวจสอบผลการวิเคราะห์
9. กำหนดทางเลือกที่เหมาะสม
10. นำเสนอผลการวิเคราะห์C.1 กรณีศึกษา ไมค์พร้อมหูฟัง ราคาเยาว์ก็ย่อมมี
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
ต้นมิถุนายน 2557 ได้ไมค์ (microphone) พร้อมหูฟัง (headphone) ยี่ห้อ OKER รุ่น OE750 ราคาเพียง 100 บาท ที่ร้านบอกว่าถ้าไมค์ติดกับสาย ราคาเหลือเพียง 90 บาท แต่ผมเลือกแบบไมค์ใกล้ปาก น่าจะรับเสียงได้ดีกว่าอยู่ที่สาย
เหตุเพราะ ต้องการติดต่อสื่อสาร (communication) กับผู้คนแบบสาธารณะ โดยใช้เสียง (sound) นำสาร (message) ผ่านไปตามคลื่นวิทยุ (radio wave) มีตัวส่งสัญญาณ (Transmitter) คือสถานีวิทยุ (Radio station) แล้วมีมนุษย์เป็นผู้ส่ง (sender) มีมนุษย์เช่นกันเป็นผู้รับ (Receiver) แต่ฝั่งผู้รับก็ต้องมีอุปกรณ์ในการรับสัญญาณคลื่นวิทยุไปแปลงเป็นสัญญาณเสียง แล้วส่งออกไปยังเครื่องขยายเสียง (speaker)
อุปกรณ์ที่ซื้อมานี้ ช่วยบันทึกเสียงผ่านโปรแกรม Sound Recorder แล้วบันทึกเสียงเป็นแฟ้มดิจิทอล (digital file) ในแบบ mp3 หากไม่สะดวกไปจัดรายการด้วยเสียงสด ก็ส่งแฟ้มที่บันทึกไว้ ส่งไปให้กับผู้ดูแลสถานีได้ แล้วเปิดให้กับผู้ฟังทั่วไปผ่านโปรแกรม winamp
+ thaiall.com/blog/..6007/ + นักจัดรายการวิทยุ + TourlampangC.2 กรณีศึกษา เหตุเกิดในบริษัทแห่งหนึ่งหลังอ่านอีเมลข้างล่าง แล้วนึกถึงคลิ๊ปของคุณโน๊ต อุดม ได้ฉ่อย เรื่องอินเทอร์เน็ต มีคำพูดว่า "ทำงานอยู่โต๊ะติด ๆ กัน ทำงานอย่างกับเป็นใบ้" กับ "กลับถึงบ้านบ่นงานหนักฉิบเป๋ง หากบริษัทมึงเจ้งกูก็ไม่แปลกใจ .. เอชา เอช้า"
19 มิ.ย.57 มาวันนี้อ่านอีเมลขอความร่วมมือจากบุคลากร มีต.ย.เนื้อหาในอีเมล ดังนี้
เรียน เพื่อนพนักงานทุกท่าน
เนื่องจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตในองค์กรเป็นการใช้งานร่วมกันทั้งองค์กร
ช่องสัญญาณออกต่างประเทศเรามีขนาดจำกัด
เพื่อให้การใช้งานในเวลางานสามารถใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทุกหน่วยงาน
จึงขอความร่วมมือให้ผู้ที่จำเป็นต้อง download file จากต่างประเทศ ที่ไม่เร่งด่วน
ขอให้ download หลังเวลาเลิกงาน
เพื่อจะได้ไม่เกิดผลกระทบต่อการใช้งานโดยรวมของเพื่อนพนักงานด้วยกัน
และเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายการใช้งานอินเทอร์เน็ตขององค์กรด้วย
จึงเรียนมาเพื่อขอความร่วมมือ #
+ thaiall.blogspot.com/2014/06/blog-post.htmlC.3 กรณีศึกษา การนำเสนอด้วย powerpoint

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

การนำเสนอประเด็นไปยังผู้รับสารนั้น หากใช้การนำเสนอผ่านโปรแกรม Powerpoint ก็จะมีชุดรูปแบบ (theme) ให้เลือกมากมาย แต่ละ theme ก็จะมีเค้าโครง (Layout) ให้เลือกเปลี่ยนได้ตามลักษณะของข้อมูล หากจะแก้ไขขนาดตัวอักษร สี หรือรูปแบบอื่นให้มีผลไปกับทุก slide ก็จะสามารถปรับที่ต้นแบบภาพนิ่ง (slide master) ได้ ในแต่ละ slide สามารถมีต้นแบบภาพนิ่งได้หลายชุด สามารถบันทึกเวลาแต่ละสไลด์ และปล่อยให้สไลด์เลื่อนโดยอัตโนมัติ แล้วยังเลือกบันทึกเป็นคลิ๊ปวิดีโอ หรือภาพนิ่งก็สามารถทำได้
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

+ free-power-point-templates.com
+ brainybetty.com/MENUPowerPoint.htm
+ presentationmagazine.com [countdown.pptx]
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

+ รวมคลิ๊ปเฉลยข้อสอบ IT ExaminationC.4 กรณีศึกษา การวาดเพื่อการสื่อสารทั้ง Mind Map และ Concept mapping มีสิ่งที่เกี่ยวข้องกัน คือ ต่างก็เป็นการถ่ายทอดภาพในใจ (Mental Model) ออกมาสู่ภาพที่มองเห็น หรือจับต้อง หรือจัดการได้ (Visualize Thinking) หรือในแง่ของการจัดการความรู้ (Knowledge Management - KM) คือ การแปลงความรู้ที่เป็น Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge

มายด์แม็ป หรือ แผนที่ความคิด หรือ ผังมโนภาพ (Mind Map)
คือ แผนภาพที่แสดงความคิดที่เชื่อมโยงกับเหมือนกับการเชื่อมโยงของเซลประสาทในสมอง โดยใช้คำ ภาพ หรือสัญลักษณ์ที่เชื่อมโยงกันแล้วแผ่เป็นรัศมีออกไปจากศูนย์กลาง การวาดแผนที่ความคิดถูกใช้เป็นเครื่องมือนำเสนอประเด็นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการนำเสนอความคิด ที่ช่วยให้การสรุปประเด็นมีความชัดเจนผ่านเครื่องมือที่เรียกว่าแผนที่ความคิด (Mind Map) ซึ่งมีการนำไปใช้สอนให้นักเรียนระดับประถมศึกษาฝึกใช้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมความคิดมาหลายปีแล้ว

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

การเชียนแผนภาพนั้น จำเป็นต้องมี กระบวนการคิด วิเคราะห์ และการเลือกใช้วิธีการสื่อสารแผนที่มโนทัศน์ (Concept Mapping)
การเขียนแผนที่มโนทัศน์เป็นเครื่องมือที่จัดอยู่ในกลุ่มของ
การสร้างภาพความคิด (Visualize Thinking)
ที่ได้รับความนิยม และนำไปใช้ในห้องเรียนต่างประเทศ
มีคำที่คล้ายกันคือ Mind Mapping ซึ่งเป็นการเขียนแผนที่ความคิด
พัฒนาโดย Prof. Joseph D. Novack of Cornell University (1983)
+ prachasan.com/cmap/
+ prachasan.com/cmap/formcmap.html
กระบวนการเขียนแผนที่มโนทัศน์ มี 6 ขั้นตอน
1. ขั้นของการเตรียมการ (Preparation Step) รวบรวมคนที่คิดเห็นคล้ายกัน
2. ขั้นของการสร้างความคิด (Generation Step) ผ่านการระดมสมองและข้อมูล
3. ขั้นการจัดโครงสร้างความคิด (Structure Step) จัดกลุ่ม ลำดับความคิด โครงสร้าง
4. ขั้นสร้างภาพตัวแทนความคิด (Representation Step) นำเสนอภาพแทนความคิด
5. ขั้นแปลความหมาย (Interpretation Step) นำภาพที่ได้มาแปล สื่อสารให้เข้าใจ
6. ขั้นการใช้ประโยชน์ (Utilization Step) นำไปใช้ประโยชน์ตามลักษณะงาน
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

(Spider Concept Map)C.5 กรณีศึกษา หัวข้องานวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กรณีนี้ .. เป็นเอกสารที่จำลองขึ้นมาว่า .. มีโอกาสได้สื่อสารกับนักศึกษา เรื่องการเตรียมเอกสารนำเสนอหัวข้อ หรือสอบป้องกันหัวข้อ สำหรับ 3 บทแรก ในกลุ่มนักศึกษาทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ก่อนจะเข้าสู่สนามสอบก็ต้องผ่านการพิจารณาซักซ้อมกับอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน ในการพิจารณาหลายครั้งนั้น ก็จะมีการให้ข้อเสนอแนะปรับแก้ และติดตามให้มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ได้เอกสารสื่อออกมาได้ตรงกับที่ตั้งใจ ซึ่งรายละเอียดที่ใช้ในแต่ละสถาบัน แต่ละหลักสูตรก็จะมีการกำกับดูแล มีตัวแบบ ขั้นตอน หรือเกณฑ์พิจารณาที่แตกต่างกันไป
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

+ stat_fac_score.pptx
+ stat_oneway_anova.pptx
+ stat_ttest.pptxตัวแบบหัวข้อ การศึกษาค้นคว้าอิสระ
สำหรับ 3 บทแรก (ตัวเลขหัวข้อย่อย เวลาเขียนจริง ไม่ต้องมีตัวเลขกำกับนะครับ)บทที่ 1 บทนำ
1. ชื่อหัวข้อ - มักพบว่ามีคำที่ใช้เป็นตัวแปรตามในกรอบแนวคิด
2. บทนำ
2.1 ภาพกว้าง
2.2 พบประเด็นอะไร
2.3 เสนอแนวทางหาคำตอบที่สอดรับกับหัวข้อ
3. วัตถุประสงค์ - ตอบหัวข้อ และบทนำ
4. ขอบเขต - เนื้อหา+ประชากร+ตัวแปร+เวลา+สถานที่
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - สอดรับกับวัตถุประสงค์
6. นิยามศัพท์ - อธิบายคำที่ต้องขยายความ
7. สมมติฐานการวิจัย - มักได้คำตอบด้วยค่าสถิติ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง - ต้องถูกใช้ในแบบสอบถาม
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ต้องถูกใช้ในการอภิปรายผล
3. กรอบแนวคิดในการวิจัย - สิ่งที่เรารู้ กับสิ่งที่เราค้นหา
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย
1. ขั้นตอนดำเนินการวิจัย - เป็นข้อ จนถึงสรุปผล
2. แหล่งข้อมูล - ปฐมภูมิ หรือทุติยภูมิ
3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง
4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - ให้เหตุผลของแต่ละเครื่องมือ
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล - ใช้เครื่องมือใด ที่ไหน อย่างไร
6. การวิเคราะห์ข้อมูล - ค่าสถิติใด ใช้เพื่ออะไร

ค่าสถิติที่น่าสนใจ
- T-Test ใช้กับการเปรียบเทียบ ตัวแปร 2 ตัว
เช่น ชาย หญิง กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ อาจเป็นความพึงพอใจ
เช่น ชอบ ไม่ชอบ กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ อาจเป็นความพึงพอใจ
เช่น ถูก ผิด กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ อาจเป็นความพึงพอใจ

- ANOVA ใช้กับการเปรียบเทียบ ตัวแปรหลายตัว
เช่น ช่วงอายุ กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ อาจเป็นความพึงพอใจ
เช่น จังหวัด กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ อาจเป็นความพึงพอใจ

- ไค-สแควร์ (Chi-square) ใช้ทดสอบการแจกแจงของข้อมูล
มักใช้กับข้อมูลที่แจกแจงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous data) ผลการทดสอบสมมติฐาน
H0: ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ
H1: ข้อมูลมีการแจกแจงแบบไม่ปกติ

H0: เพศชาย และเพศหญิงมีความพึงพอใจในวิทยากรไม่แตกต่างกัน
H1: เพศชาย และเพศหญิงมีความพึงพอใจในวิทยากรแตกต่างกัน

โดย H0 : ยอมรับว่าไม่แตกต่าง H1: ไม่ยอมรับว่าแตกต่าง

ถ้าค่า sig. >= 0.05 แสดงว่ามีการแจกแจงปกติ
ถ้าค่า sig. <0.05 แสดงว่าปฏิเสธ H0 คือแจกแจงไม่ปกติ

โดยทั่วไปมักเป็นพบว่า <0.05 คือ ปฏิเสธ H0

C.6 กรณีศึกษา ชวนมองไปที่เจตนาของผู้ส่งสาร จากสารที่ปรากฎ

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

ประเด็นการสื่อสารที่เชื่อมโยง ระหว่าง สื่อทีวีดาวเทียม กับสื่อเครือข่ายสังคม
เป็นภาพที่จะใช้เป็น case ชวนนักศึกษามองสาร และเจตนาของสาร
+ ประเด็นแรก
ภาพนี้ คมชัดลึก โพสต์ไว้ในเฟสบุ๊คเพจ
ผมเห็นประเด็นน่าสนใจ ดูจะเป็นแนวเห็นอกเห็นใจ
ธุรกิจทีวีดาวเทียม ว่ากำลังแย่ จากปัจจัยภายนอก [threat]
เพื่อนพนักงานคนไทยอาจตกงานกันมากกมาย
+ ประเด็นที่สอง
เห็นเพื่อนชาวไทยเข้าไปร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แต่ละคนก็มีประเด็นที่มาจากประสบการณ์
ที่ต้องการส่งสารบางอย่าง
+ ประเด็นที่สาม
ผมจะนำไปแชร์ในชั้นเรียน
ชวนนักศึกษามองว่าสารของทั้ง 14 ท่านนี้
ต้องการสื่อสารอะไรออกไปสู่สาธารณะ
เป้าหมายแต่ละท่านต้องการบอกอะไรกับเรา
+ thaiall.com/swot
+ facebook.comC.7 กรณีศึกษา สารในการสื่อสาร ที่ต้องพิจารณาก่อนรับเข้ามาเป็นความรู้Laszlo Bock - Chariman & Head of Hiring at Google.com
กับหัวข้อ Why Google doesn’t care about college degrees, in 5 quotes
ทั้ง 5 หัวข้อ ซึ่งแปลโดย Nuttaputch Wongrenthong มีดังนี้1. You don’t need a college degree to be talented
คุณไม่ต้องการใบปริญญาเพื่อจะมีพรสวรรค์
2. Demonstrate a skill, not an expertise
คุณต้องมีทักษะความสามารถในการทำงาน ไม่ใช่การเป็นแค่ผู้รู้ในเรื่องนั้นๆ
3. Logic is learned, and stats are superimportant
คุณควรเรียนรู้การคิดวิเคราะห์และใช้ตรรกะให้ดีเยี่ยม
4. Prove grit (ความมุ่งมั่นทุ่มเท)
คุณต้องอดทนและมุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายของคุณ
5. If you go to college, focus on skills
ถ้าคุณจะไปเรียนในมหาวิทยาลัย คุณต้องสนใจเรื่องการพัฒนาทักษะของคุณเป็นสำคัญ

TED: Technology, Entertainment, Design
แนะนำคลิ๊ปใน blog โดย Nuttaputch Wongrenthong
youtube.com/watch?v=H14bBuluwB8
ก็เห็นด้วยกับประเด็นของ Bock ว่า
.. [ความสามารถพิเศษ ไม่ได้ถูกเขียนไว้ในปริญญา ]

สรุปว่า ผมเชียร์ให้ทุกคนตั้งใจเรียนหนังสือในมหาวิทยาลัย และพัฒนา talent ให้โดดเด่น
เพราะเชื่อว่าเราทุกคนยอมรับว่า ในประกาศหางาน จะพบเงื่อนไขการรับคนเข้าทำงาน
เช่น
1. มีวุฒิ และจบมหาวิทยาลัย ป.ตรี
2. อายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี
3. มีประสบการณ์ในงาน
4. มีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกหรือไม่

เมื่อมีผู้มาสมัครเป็น 100 คน แต่รับคนเดียว
ผู้รับสมัครคงต้องหาคำถามที่จะคัดเลือกคนดีที่สุดมาทำงาน
เช่น “คุณมีความสามารถพิเศษอะไร ที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน”
+ thaiall.com/blog/burin/6075/

C.8 กรณีศึกษา คำเตือนเมื่อหวังใช้ facebook เพื่อการสื่อสาร และการโฆษณา1. จำนวนผู้รับสารไม่สำคัญเท่ากับคุณภาพของสาร
(It’s not just the size of your audience that is important, it is the quality)
2. ไม่ใช่ผู้ที่ติดตามเราทั้งหมด จะเห็นข้อความของเรา
(Not all of your followers will see all of your posts)
3. การมีพันธะต่อกันเป็นกุญแจสำคัญ ที่ยิ่งทำให้เพิ่มความเข้มข้นของพันธะ
(Engagement is key, the more engaged your audience is, the more posts they will see)
4. ถ้ามีผู้ติดตามตัวปลอมมากไป จะทำให้พันธะกับตัวจริงลดต่ำลง
(If advertising for (or buying) followers just adds lots of dummy followers,
overall your engagement will go down and the people you want to see your posts,
just won’t see them)
5. เพื่อเพิ่มผู้ฟัง ต้องโพสต์เรื่องที่คัดแล้วเท่านั้น
(So grow your audience organically, post great content)
6. กล้ารับข้อเสนอแนะ ก็ต้องการแลกเปลี่ยนกัน
(Get feedback and encourage sharing)
+ คลิ๊ป intouchcrm.com/facebook-advertising-danger-proceed-caution/
+ ภาพ สื่อเลือกได้ว่า .. มุมไหนจะเหมาะสมกับการนำเสนอ

? จงบอกชื่อ fan page ที่แสดงให้เห็นว่า ถูกใช้เพื่อการสื่อสารได้ดี
? จงหาภาพที่แสดงให้เห็นว่า สื่อเลือกข้าง พร้อมอธิบายประกอบ #
ขยายประเด็นข้อ 1 .. ผู้นำเสนอสารใน facebook บางท่านอาจลืมคิดเรื่องคุณภาพของสาร (Quality of message) เสมือนคนที่เสพติดสุรา ก็จะหาข้อดีของสุรามากลบเกลื่อนข้อเสียไปสิ้น ปัจจุบันจึงเห็นการ "post ไม่คิด ถ้าคิดก็คงไม่ post" ในรูปของการอุทาน การแสดงโทสะ การแชร์ของสงวนของตนเอง การเล่าเรื่องส่วนตัวเกินเหตุ กฎเรื่องนี้มีข้อเดียว คือ "เอาใจเขา มาใส่ใจเรา" ก็จะรู้ว่าต้อง post อะไร จึงจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการใช้ประโยชน์จาก social media

C.9 กรณีศึกษา infographic #แนวภาพ infographic จาก Bike community
FB/BikeCommunity.ET
เห็นเพื่อนตุ้ย แชร์ภาพจากแฟนเพจ Bike community
ที่สื่อสารได้อย่างเข้าใจ เป็นภาพแนว infographic
สอดรับกับคำว่า 10 ปากว่า ไม่เท่าตาเห็น และ 10 ตาเห็นไม่เท่าลงมือทำ
การสื่อสารด้วย infographic นั้นไม่ยากอย่างที่คิด
ภาพที่จำลองขึ้นมาใช้สีพื้นเป็น สีแทน 25%
และใช้ font คือ Webdings, Wingdings และ Symbol
โดยมีตัวอย่างจากแฟนเพจข้างล่างนี้
"เป็นการง่ายยิ้มได้ไม่ต้องฝืน เมื่อชีพชื่นเหมือนบรรเลงเพลงสวรรค
แต่คนที่ควรชมนิยมกัน ต้องใจมั่นยิ้มได้เมื่อภัยมา"
จาก หนังสือที่มีชื่อว่า "มหาบุรุษ" ของท่านหลวงวิจิตรวาทการ
http://share.psu.ac.th/blog/pisan-surat/6655
? จากภาพทางด้านซ้าย ท่านคิดว่าสื่อสารอะไร
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

http://blog.zocialinc.com/dayinalife-with-socialnetwork/C.10 News in Social Media
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
+ ตามที่ อ.ปุ้ม มอบหมายให้ผมพูดคุยเรื่อง "Social Media ในการเผยแพร่ข่าว" ให้นักศึกษาฟัง จึงเข้าไปสำรวจเว็บไซต์ข่าวในส่วนกลางที่ทำด้านหนังสือพิมพ์ ได้ข้อมูลจาก 9accounting.com ว่ามีทั้งหมด 20 หนังสือพิมพ์ แล้วเข้าไปในแต่ละเว็บไซต์จะพบลิงค์ไปยังสื่อสังคม (Social Media) ไม่เหมือนกัน ข้อมูลที่ได้มานี้สำรวจเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2559 หากตกหล่นด้วยประการใดก็ขออภัย เพราะบางลิงค์เข้าไม่ได้ และอาจมีบางบริการในสื่อสังคม แต่ไม่ทำลิงค์ในเว็บไซต์ก็เป็นได้
+ ข้อมูลที่น่าสนใจ พบว่า หนังสือพิมพ์ทุกฉบับเชื่อมโยงกับ facebook.com แต่ไม่ใช่ทั้งหมดที่เป็น fan page และมีถึงร้อยละ 90 ที่ใช้บริการของ twitter.com และมีร้อยละ 45 ที่ให้บริการ RSS Feed และมีเพียงร้อยละ 40 ที่เชื่อมโยงกับ youtube.com ส่วน google+ และ instagram มีเท่ากัน คือร้อยละ 25 แต่มีเพียงรายเดียว หรือร้อยละ 5 ที่ให้บริการข้อมูลใน Line
+ สำหรับการให้ข้อมูลข่าวสาร บางหนังสือพิมพ์ก็เคลื่อนไหวทุกวัน แต่บางหนังสือพิมพ์ก็นาน ๆ ครั้ง จะบ่อยหรือไม่บ่อยเพียงใด เข้าไปติดตามกันได้ เพราะจะมีการเคลื่อนไหวให้เห็นแตกต่างกันไป ตั้งแต่ทุกชั่วโมง ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรือทุกเดือนตามนโยบายของแต่ละหนังสือพิมพ์C.11 อบรมนักข่าวอาสา ในกิจกรรม "Social Media ในการเผยแพร่ข่าว"
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
+ กลุ่มนักข่าวอาสา (Amatuer News Reporter)
+ รวมภาพกรณีศึกษาการเผยแพร่ข่าวสาร
+ เคยชวนนักศึกษาไปเขียน Blog ที่ ThaiPBS โพสต์ในกลุ่ม Nation University
+ รวมภาพกิจกรรมอบรม เมื่อ 26 มีนาคม 2559 โดย สราวุธ เบี้ยจรัส
+ ต.ย. ดร.นิรันดร์ จิวะสันติการ จัดการวิทยุ แล้วทำ face live video
+ สไลด์ PPT : ประกอบการพูดคุย
C.12 แนวโน้ม และธรรมชาติของสื่อสังคม
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
Twitter สูงขึ้น แต่ Facebook ลดลง
อ่านบทความใน brandinside.asia
พบเรื่อง "ควันหลงล้างไพ่ News Feed สถิติเผย คนเข้าเว็บผ่าน Twitter สูงขึ้น ส่วน Facebook ลดลงเรื่อย ๆ" ในความคิดของผมแล้ว ก็น่าจะจริง ระยะนี้ เฟสบุ๊คเริ่มลดปริมาณข่าวสาร ผลจากการปรับนโยบาย ตามที่ "Facebook บอกว่ามีแผนที่จะปรับให้เห็นข่าวบนหน้า News Feed น้อยลง 20%" แล้วช่วงนี้ก็เริ่มเห็นตัวเลือกในแอพ (option) ที่ทำให้เข้าถึงข่าวสารในกลุ่ม (group) ง่ายขึ้น ทำให้นึกถึง การทำให้ผู้ใช้ใกล้ชิดกับเพื่อนในกลุ่ม ที่เหมือนกับบริการใน line ที่จำกัดให้คนรู้จัก เพื่อน และญาติได้พูดคุยกัน มากกว่าพูดคุยกับผู้คนแปลกหน้าตามประเด็นข่าว หรือรับข่าวสารจากสำนักข่าว
แต่ Twitter เปิดเสรีให้สิ่งที่โพสต์ และติด hashtag สามารถเข้าถึงได้จากทุกคน ทำให้ติดตามข่าวสารได้แบบ realtime ได้ง่าย ที่ผู้คนไม่จำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กันมากนักP.1 ต.ย. ปัญหาขององค์ประกอบ
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
การสื่อสารคงสมบูรณ์ไม่ได้ .. หากองค์ประกอบไม่สมบูรณ์ หรือขาดการทำงานตามกระบวนการในองค์ประกอบใดก็ตาม
ต.ย.ผู้ส่งและผู้รับมีเป้าหมายไม่ตรงกัน
พระสงฆ์บรรยายธรรมเรื่องตายแล้วไปไหน ให้กับกลุ่มบาทหลวงในศาสนาหนึ่งฟัง
หัวหน้าของให้พนักงานเข้าใจเรื่องการปรับลดเงินเดือน ในขณะนี้พนักงานคาดว่าจะได้โบนัส 4 เท่าเหมือนปีก่อน
ต.ย.สาร หรือสื่อไม่ชัดเจน
การเล่นเกมทายชื่อหนัง จากภาพวาด ถ้าผู้ส่งสารไม่เก่ง ผู้รับสารคงตอบไม่ได้
การทำ video conference ผ่าน model 56kbps ก็คงคุยกันไม่รู้เรื่อง
ต.ย.การมีอัตตา
ถ้าตั้งใจไปฟังคุณโน๊ต อุดม ผู้รับสารมักจะหัวเราะมีความสุข เพราะเปิดใจ + ศรัทธา
ถ้าหนุ่มสาวเปิดใจ ไม่เอาตัวตนมาเป็นกำแพง ก็จะรักกันหวานตลอด เช่น เพลงบาปบริสุทธิ์
? จงสื่อสารปัญหาที่ท่าน .. เคยพบด้วยตนเองมาก่อนP.2 อุปสรรคหรือสิ่งสกัดกั้นการติดต่อสื่อสาร [1]p.177
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
Barriers to communication
1. อุปสรรคทางด้านกลไก (Mechanical Noise) หรือ อุปสรรคแห่งช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Channel Noise)
2. อุปสรรคทางด้านภาษา (Semantic Noise)
อุปสรรคทั้ง 14 ข้อนี้ ทำให้นึกขึ้นได้ว่า มนุษย์เราจะสื่อสารกันได้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ เพราะมนุษย์เรามีกำแพงกั้นกลางระหว่างผู้รับสารกับผู้ส่งสารมากมายเหลือเกิน เช่น 15 มิ.ย.57 คนไทยได้ชมหนังฟรี เรื่อง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค 5 ยุทธหัตถี สารที่แฝงอยู่ คือ ลำปางมีประชากรราว 8 แสน มีโรงหนัง 2 โรง จะมีคนสมหวังได้ชมกี่คน (ไม่ถึง 0.5) และพลาดหวังกี่คน (มากกว่า 99.5) นั่นเป็นความสนใจที่ผู้รับสารควรตระหนัก แล้วมาจัดการความเสี่ยง เช่น ไปเข้าคิวก่อนเปิดห้าง เป็นต้น .. เพราะถ้าสนใจแต่คำว่าฟรี ก็แสดงว่าไม่ได้สนใจอุปสรรคที่กั้นกลางระหว่างความเป็นจริง (Truth) กับความหวัง (Hopeness)
ปล. ที่ลำปางมีของดีบ่อย แต่เป็นแบบ 5 คนแรก ของวัน ทำนองนี้
อุปสรรคอื่นที่ทำให้การสื่อสารด้อยประสิทธิภาพหรือล้มเหลว
1. ภูมิหลังที่แตกต่างกันของคู่สื่อสาร (Divergent backgrounds of the participants)
2. ความแตกต่างกันทางด้านการศึกษา (Differences in education formal and informal)
3. ความสนใจในข่าวสารแตกต่างกัน (Differences in interest in the message)
4. ความแตกต่างกันของระดับสมอง (Differences in IQ)
5. ความแตกต่างของระดับภาษาและการใช้ภาษา (Differences in language levels and usages)
6. การขาดความเชื่อถือร่วมกันของคู่สื่อสาร (Lack of mutual respect among participants)
7. ความแตกต่างกันในปัจจัยต่าง ๆ เช่น วัย เพศ เผ่าพันธุ์ และชนชั้น (Differences in such factors as age, sex, race, and class)
8. ความเครียดทางด้านร่างกาย และจิตใจในขณะที่ทำการสื่อสาร (Mental and/or physical stress at time of communication)
9. สภาพแวดล้อมที่แย่ในช่วงเวลาที่ทำการสื่อสาร (Bad environmental conditions at time of communication)
10. การขาดประสบการณ์ที่คล้ายคลึงกัน (Little or no "experiential overlap" few, if any, common experiences)
11. การขาดโอกาสที่จะตอบโต้ซักถาม (Little or no change for "feedback" or interaction)
12. ผู้ส่งสารขาดทักษะในการสื่อสาร (Lack of skill on part of communicator)
13. ผู้รับสารขาดทักษะในการรับสาร (Lack of skill on part of communicatee)
14. สารที่ปราศจากสาระ (Lack of information in message or "empty" message)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ในการสื่อสารหรือการมีปฏิสัมพันธ์จะเกิดขึ้นระหว่างมนุษย์กับมนุษย์แล้ว ปัจจุบันเรายังสื่อสารระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งไม่มีชีวิตอื่น ๆ เพราะการสื่อสารไม่ได้จำกัดว่า ผู้รับ (Receiver) กับผู้ส่ง (Sender) ต้องเป็นมนุษย์เสมอไป
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human-Computer Interaction) [CPSC 334 - 3-0-6]
    พฤติกรรมมนุษย์ กระบวนวิธีการบันทึกและแปลพฤติกรรมมนุษย์ การวิเคราะห์ การทำงาน เทคนิคการสังเกต การออกแบบสอบถาม เทคนิคการวิเคราะห์และการโมเดลงาน วิธีแสดงส่วนปฏิสัมพันธ์และเครื่องมือสร้างต้นแบบ ขั้นตอนการเรียนรู้ การศึกษาการใช้งานและการวิเคราะห์โพรโทคอลการใช้คำ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ แนวทางการทดลองทำจริง การเรียนรู้ของมนุษย์ การทำนายและการเลียนแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์และกรณีศึกษา
    Human behavior, methodologies for obtaining and interpreting human behavior: work activity analysis, observation techniques, questionnaire, task analysis and modeling techniques, methods for interface representation and prototyping tools, cognitive walkthroughs, usability studies and verbal protocol analysis, the four approaches to human-computer interaction, empirical, cognitive, predictive, and anthropomorphic and case studies.
+ thaiall.com/blog/burin/3604/Course Description of "วิชา การสื่อสารและการนำเสนอ"การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) [MGMT 500]
ศึกษา ทั้ง การเขียน และ เนื้อหาวิชาครอบคลุมวิธีการสื่อสารทางธุรกิจอย่างได้ผล อันได้แก่ ที่ต้องการนำเสนอ การจัดทำเอกสารในรูปแบบต่างๆ เพื่อการนำเสนอต่อ ที่ประชุม เป็นต้นX.1 กิจกรรมในชั้นเรียน 1หยิบกระดาษออกจากกล่อง แล้วใช้ภาษาพูด/ภาษากาย สื่อถึงสิ่งที่อยู่ในกระดาษ 1 นาที (กลุ่ม)
โดยไม่เอ่ยคำนั้นออกมา แล้วให้เพื่อน ๆ ทายว่า พูดถึงอะไร
ซึ่งให้เพื่อพิจารณาด้วยกระบวนการกลุ่มก่อนส่งคำตอบ
(เรื่องนี้สอดรับกับ และ )
ในกล่องอาจเป็นคำที่นักศึกษาช่วยกันเขียน 3 คำ (ระบุชื่อ) เช่น สำนวน ชื่อผลไม้ อาชีพX.2 กิจกรรมในชั้นเรียน 2จงวาดแผนที่มโนทัศน์/แผนที่ความคิด สะท้อนคำที่ท่านสนใจ (กลุ่ม)
- การทำวิจัย การค้นคว้าอิสระ การทำวิทยานิพนธ์
- การเป็นนักเรียนมัธยม นักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท
- การทำธุรกิจ
- ชีวิตพนักงานรายเดือน ชีวิตสมรส ชีวิตนักศึกษา ชีวิตในหนึ่งวัน ชีวิตในหนึ่งปีX.3 กิจกรรมในชั้นเรียน 3จงออกแบบ infographic สื่อสารข้อมูลทางสถิติ (กลุ่ม)
- ใช้ข้อมูลจริงที่ได้จากการสืบค้น และมีแหล่งอ้างอิง
- นำเสนอผ่าน infographic ที่เข้าใจง่ายX.4 กิจกรรมในชั้นเรียน 4จงถ่ายคลิ๊ป 1 นาที แล้วอัพโหลดเข้า youtube.com แล้ว share เข้ากลุ่ม
- แนะนำตัว ชื่อ รหัส และแนะนำสินค้า/บริการ/หัวข้อวิจัย ใน 1 นาที
- youtube.com ต้องเป็นบัญชีของตนเอง และ upload แบบ public
- FB group : facebook.com/group/thaiebookX.5 งานมอบหมายกลุ่ม การนำเสนอผ่านสื่อเทคโนโลยีจงจัดทำคลิ๊ปวีดีโอนำเสนอ สินค้า บริการ
- นำเสนอตามหลัก 4Ps หรือ เป็นต้น
- มีการ Capture Screen นำเสนอการประยุกต์ใช้ Social Network
- สมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องมีบทบาท หน้าที่เฉพาะ และบทพูดในคลิ๊ป
- ระยะเวลาแต่ละกลุ่ม 4 - 5 นาที สำหรับ 4 - 5 คน
- อัพโหลดคลิ๊ปเข้า Youtube.com แล้วแชร์เข้าไปในกลุ่มเฟซบุ๊ค
- จัดทำ Powerpoint นำเสนอหน้าชั้นเรียน
ทีมงานและบทบาทสมาชิกในกลุ่ม วัตถุประสงค์การทำงานนี้
ข้อมูลสินค้า/บริการ เหตุที่เลือกสินค้า แผนการดำเนินงาน
4Ps/PDCA แหล่งนำเสนอผลงาน และเบื้องหลังX.6 งานมอบหมายกลุ่ม ฝึกสื่อสาร และนำเสนอผลงานของกลุ่ม- ให้แบ่งกลุ่มประมาณ 4 - 5 คน
- กำหนดผู้เป็นหัวหน้ากลุ่ม และบทบาทที่สำคัญ
- ให้วางแผน กำหนดการ และมอบหมายงานแต่ละคน
- กำหนดหัวข้อที่สนใจ แล้วไปทบทวนวรรณกรรมคนละเรื่อง
- สืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากอินเทอร์เน็ต
- มีจำนวนชิ้นงานที่ทบทวนเท่ากับจำนวนสมาชิก
- สรุปหัวข้อที่สนใจศึกษา ที่เป็นผลจากการทบทวนวรรณกรรม
- ทำ clip นำเสนอเชิงสรุป แนะนำกลุ่ม+ที่ศึกษามา+สรุป รวม 4 - 5 นาที
- ส่งคลิ๊ปเข้า youtube.com และแชร์ใน fb group
- ทำ powerpoint นำเสนอผลการทบทวนงานวิจัย หน้าชั้นเรียน
ความสุข ของ Grand age 8 ตัวอย่างความสุข นอกจากสุขภาพดีแล้ว ก็มีอีกหลายวิธีในการหาความสุข
เรื่องเล่า Grand age ใน 8 ตัวอย่าง
"โลกของผู้สูงอายุ อาจไม่เหมือนที่คุณคิด
ถึงตอนนี้คุณยังคิดเหมือนเดิม อยู่อีกหรือเปล่า"
2.00 : 1) นรินทร์ บุญทวีกิจ และ กรองแก้ว บุญทวีกิจ
- ว่างก็ไป shopping ทานอาหารคลีน
- tour ทั่วไทย 2000 ก.ม.
- ออกกำลังกายที่บ้าน ทานน้ำปั่น ทุกวัน
3.18 : 2) สมชาย จงนรังสิน
- Tri กีฬา ปั่น ว่าย วิ่ง
- ปั่น 600 กิโล มา 3 ครั้งแล้ว
- จากไม่เคยมีจักรยาน ตอนนี้มี 12 คัน
4.04 : 3) ชัชวาล วิริยะไพบูลย์
- วิ่งตั้งแต่อายุ 50
- วิ่งได้ถ้วย 2 ปีที่ผ่านมา ได้ 50 กว่าใบ (แม่เมาะ ลำปาง)
- กลุ่มเยอะ ไลน์ ส่งสวัสดีวันจันทร์ บอกกูยังอยู่นะ (14.10)
5.11 : 4) ปัญญา ศรีสุพรรณ
- เดินป่า ถ่ายรูป 3 ปี 70 ทริป
- ไปไหนมาก็ถ่ายรูปอัพเฟสบุ๊ค
- ยุคนี้เริ่มเห็น คนเดินป่าตอนอายุเยอะล่ะ
5.32 : 5) สุพจน์ สนสุวรรณ
- เล่นกีต้า อายุเยอะก็เล่นได้
- หลัง 60 ชีวิตไม่หยุดนิ่ง หนึ่งนาทีมีค่า อยุ่หยุดกับที่
- ซื้อออนไลน์ได้เกือบทุกอย่าง ยกเว้นทีวีตู้เย็น
5.46 : 6) ธนสวรรณ เทพสาธร
- กระตือรือร้นกับตัวเองตลอด แก่ไม่ได้
- สังสรรกับเพื่อนปีละครั้ง
- ทุกเดือนต้องนัดเจอ
5.52 : 7) อรัญญา จีระมะกร
- ยังไม่รู้สึกว่าต้องเกษียณ
- เรียนวาดรูป ร้องคอรัสกับเพื่อน ฝึกโยคะ
6.00 : 8) มานพ เด่นซอ
- อายุ 81 ยังเป็นหัวหน้าทัวร์
- ยังมีไฟอยู่ ไฟมันยังไม่หมดบู ล ลี่
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
บูล ลี่ (B u l l y) คือ การกลั่น แกล้งที่แสดงออกด้วยคำพูด หรือ พฤติกรรมที่ก้าวร้าวต่อผู้อื่น ซึ่งมักเกิดขึ้นในสังคมที่มีช่องว่างระหว่างผู้ที่มีพละกำลัง หรืออำนาจมากกว่าแสดงออกแก่ผู้ที่อ่อนแอกว่า และมีโอกาสเกิดขึ้นซ้ำ ๆ โดยพบการ บู ล ลี่ ในโรงเรียน และในที่ทำงานมาก นำไปสู่ปัญหาสภาพทางจิตใจที่ร้ายแรงได้ในอนาคต
บู ล ลี่ (B u l l y) คืออะไร มีกี่ประเภท โดย thairath
การ บู ล ลี่ มี 3 ประเภท มีดังนี้
1. การกลั่น แกล้ง ทางวาจา (Verbal B u l l y ing) คือ การสื่อสาร เขียน เพื่อสื่อความหมายกลั่น แกล้ง เช่น ล้อเล่น เรียกชื่อ แสดงความคิดเห็นทางเพศที่ไม่เหมาะสม เหน็บแนม และขู่ว่าจะทำอันตราย
2. การกลั่น แกล้ง ทางสังคม (Social B u l l y ing) คือ วิธีการทำให้เสียหน้า หรือแกล้งให้สูญเสียความสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างตั้งใจ เช่น ขับเพื่อนออกจากกลุ่ม กระจายข่าวลือให้เสียหาย กีดกันไม่ให้เป็นเพื่อนกัน ทำให้เกิดความอับอายในที่สาธารณะ
3. การกลั่น แกล้ง ทางกายภาพ (Physical B u l l y ing) คือ การกลั่น แกล้งที่เกี่ยวข้องกับร่างกายและสวัสดิภาพของผู้ถูกกลั่นแกล้ง เช่น การทุบตี ทำร้าย ทำให้สะดุด แย่งสิ่งของ แสดงออกทำท่าทางหยาบคายใส่
ซึ่ง Raksa Content Team นำเสนอสาเหตุที่นำไปสู่การ B u l l y ดังนี้
1. เคยเป็นผู้ถูกกระทำมาก่อน และต้องการที่จะระบายความเจ็บปวดเหล่านั้น
2. กลั่น แกล้ง เพื่อที่จะให้คนในสังคมนั้น ๆ มาเป็นเพื่อน หรือพวกของตัวเอง
3. ต้องการให้ตัวเองรู้สึกดีขึ้น หรือมีคุณค่ามากขึ้น
4. เป็นพฤติกรรมเลียนแบบ ที่เกิดจากการเคยเจอความรุนแรงในครอบครัว หรือเห็นตัวอย่างและทำตาม
5. กลั่น แกล้งผู้อื่นเพื่อให้ตัวเองเป็นที่สนใจ
6. เพราะตนเองไม่มีความสุข เลย B u l l y คนอื่น เพื่อให้คนเหล่านั้นไม่มีความสุขเหมือนตัวเอง
7. ต้องการสร้างความหวาดกลัวต่อผู้อื่น เพียงเพื่อปกปิดความรู้สึกกลัวหรือความอ่อนแอของตัวเอง
8. กลั่น แกล้งผู้อื่น เพียงเพราะมีความแตกต่างจากตัวเอง
หยุด B u l l y การหยอกล้อที่ไม่ตลกเสมอไป และคนอ่อนไหวก็ไม่ใช่เหยื่อแนะนำเว็บไซต์+ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ***
+ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (HCI)
+ การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
+ การจัดทำ e-book แบบต่าง ๆ
+ การใช้เสียงในการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ
+ โปรแกรมกลุ่ม Microsoft Office
+ ต.ย. รวม .. วิดีโอคลิ๊ปที่น่าสนใจ
+ ต.ย. รวม e-book ด้วย Flash Page Flip
+ คลิ๊ปเฉลยข้อสอบ IT Examination 150 ข้อเผยแพร่ข่าว คือ การสื่อสาร เพื่อให้ข้อมูลอย่างสร้างสรรค์

ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย

นักข่าว คือ ผู้นำเสนออย่างมืออาชีพ มีหน้าที่เผยแพร่ข่าว เพื่อสื่อสารข้อมูล ข่าวสาร เรื่องราว ข้อเท็จจริงให้กับประชาชนได้รับรู้ ซึ่ง เนื้อหาข่าวที่ดี น่าสนใจ และสร้างสรรค์ ย่อมมีประชาชน หรือแฟนข่าวติดตามดู อ่าน และฟังจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันประชาชนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ มิใช่การใช้โทรศัพท์โทรเข้าไปในรายการเหมือนในอดีต แต่สามารถพิมพ์แสดงความคิดเห็น (comment) ต่อข่าวนั้น ทั้งแบบ live และ post ถ้าเนื้อหาน่ายินดีก็จะแสดงความยินดีด้วย ถ้าเนื้อหาเป็นปัญหาก็จะแสดงความเป็นห่วงหรือเสนอแนวทางแก้ไข เช่น 1) ทางเปลี่ยวก็ติดไฟเพิ่ม 2) ทางม้าลายมีอันตรายก็ให้สร้างทางข้าม 3) ของแพงก็เข้าแทรกแซงควบคุมราคา 4) ฉีดยาแล้วเสียชีวิตก็นำมาเล่าให้ตระหนัก 5) งบไม่พอก็เพิ่มงบ 6) คนไม่พอก็เพิ่มคน 7) บริหารไม่ดีก็เปลี่ยนผู้บริหาร 8) วิธีสอนไม่ดีก็เปลี่ยนวิธีการสอน 9) ข้อสอบไม่ดีก็ออกข้อสอบใหม่ 10) เนื้อหาที่เรียนไม่ได้ใช้ก็เรียนเฉพาะที่ต้องใช้ 11) หลักสูตรที่เรียนแล้วไม่ได้งานก็เปลี่ยนเป็นหลักสูตรที่ตลาดต้องการ 12) ใครทำผิดก็ให้รับผิดแบบที่เค้าทำ ข่าวไหนที่ประชาชนชอบก็ไปหาความจริงมาเผยแพร่ ทำให้นึกถึง นิวส์ออฟเดอะเวิลด์ ที่มีความพยายามหาความจริงมาเปิดเผยให้ประชาชนได้ทราบ พบว่า มีหลายสำนักข่าวที่ทำข่าวด้วยจิตอาสา มุ่งเผยแพร่ความจริงแก่สังคมอย่างสร้างสรรค์การประชาสัมพันธ์ คืออะไร
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) คือ การติดต่อสื่อสารจากองค์การไปสู่สาธารณชนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรับฟังความคิดเห็นและประชามติจากสาธารณชนที่มีต่อองค์การ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเชื่อถือ ภาพลักษณ์ ความรู้ และแก้ไขข้อผิดพลาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ Public Relations คือ การประชาสัมพันธ์ หรือการสื่อสารไปยังลูกค้า โดยจุดประสงค์หลัก คือ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า สร้างความเข้าใจ โน้มน้าวใจ สร้างความเชื่อถือให้กับแบรนด์ และที่สำคัญที่สุด คือ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับแบรนด์ (อ่านเพิ่มใน greedisgoods.com)เอกสารอ้างอิง #
[1] วิรัช ลภิรัตนกุล, "การประชาสัมพันธ์", สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2553.
[2] Julia Wood, "Communication in Our Lives", Cengage Learning, 2008.
[3] สุธี ปิงสุทธิวงศ์ สุรีพันธุ์ เสนานุช และ ยิ่งศักดิ์ นันทิวรรณกุล,"โศกนาฏกรรมองค์กรหลงทิศ", สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2554.
ข้อสอบ O-NET เรื่อง คลื่น พร้อม เฉลย