อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

มุ่งให้การศึกษา การวิจัย โดยการนำความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานด้านความปลอดภัย วางแผนควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากการทำงาน และป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ เพื่อลดผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานและการสูญเสียผลผลิต โดยจัดประสบการณ์การเรียนในหลักสูตรทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับวิชาชีพ ตามข้อกำหนดทางกฎหมาย

โอกาสการทำงาน : นักวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในหน่วยงานรัฐบาล เช่น กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การนิคมอุตสาหกรรม ฯลฯ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในระดับวิชาชีพในหน่วยงานภาคเอกชน หน่วยงานเอกชน เช่น กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยานยนต์ รวมถึง ภาคบริการ เช่น บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)

โอกาสศึกษาต่อ : สาขาสุขศาสตร์ อุตสาหกรรมและความปลอดภัย สาขาวิทยาศาสตร์อาชีวอนามัย สาขาพิษวิทยา สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม


สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

  • INFORMATION
  • U-REVIEW
  • COMMENTS
  • PHOTOS
  • CONTACT

อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Summary 8.22

รีวิวสาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

เป็นหลักสูตรทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาธารณสุขที่นำหลักวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์ใช้ โดยมุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นนักวิชาการและวิชาชีพทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเพื่อปกป้องดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ รวมถึงสุขอนามัยที่ดีของประชาชนที่อาศัยในชุมชนและอุตสาหกรรมรอบสถานประกอบการอย่างมืออาชีพ

จบมาทำงานอะไร

นักวิชาการสาธารณสุขหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ (จป.วิชาชีพ) ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน หรือองค์กรอิสระต่างๆ เช่น
- ศูนย์อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน
- กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
- ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงาน กองความปลอดภัยแรงงาน
- สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
- กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
- สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน
- โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ทั่วประเทศ
- การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
- การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย

รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
15,000 บาท ตามโครงสร้าง สำหรับงานราชการ
20,000-25,000 บาท สำหรับภาคเอกชน

สมัครเรียนทำอย่างไร

1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

367,900 บาท

อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน

  ชื่อหลักสูตร
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
Bachelor of Engineering Program in Safety Engineering
  ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน

ชื่อเต็ม

:  วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมความปลอดภัย)
      :  Bachelor of Engineering (Safety Engineering)  
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน

ชื่อย่อ

:  วศ.บ. (วิศวกรรมความปลอดภัย)
      :  B. Eng. (Safety Engineering)
  วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เพื่อผลิตบัณฑิตด้านวิศวกรรมความปลอดภัย ที่มีความรู้ความสามารถด้านวิศวกรรม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสุขศาสตร์อุตสาหกรรม โดยสามารถปฏิบัติงานในตำแหน่งวิชาชีพ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาครัฐ และอุตสาหกรรมการบริการต่างๆ 
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการตระหนัก ประเมินและควบคุมปัจจัยเสี่ยง
ในสิ่งแวดล้อมการทำงาน รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อให้เกิดสภาพการทำงานที่ปลอดภัย
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการทำงานได้หลากหลาย หมั่นแสวงหาความรู้ และสามารถปรับตัวได้ตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการสื่อสารและปรับตัวให้เข้ากับสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี 
   คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือประกาศนียบัติวิชาชีพ (ปวช.)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาอื่นจากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้การรับรอง
  โอกาสทางวิชาชีพ
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
วิศวกรความปลอดภัย (Safety Engineer)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ (Safety Officer, Professional Level) หรือ จป. วิชาชีพ
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygienist)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
นักอาชีวอนามัย (Occupational Health Officer)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
พนักงานตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Auditor)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
ผู้ชำนาญการด้านความปลอดภัย (Safety Officer, Senior Professional Level)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
เจ้าหน้าที่ให้บริการตรวจวัดสภาพแวดล้อม (Environmental Sampling Officer)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
นักวิชาการหรือนักวิจัย (Academic Scholar or Researcher)
  ค่าใช้จ่ายโดยประมาณ
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
ค่าใช้จ่ายลงทะเบียนแรกเข้า 3,500 บาท (เป็นส่วนหนึ่งของค่าเทอมโดยประมาณ 31,220 บาท)
(เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยเอกชนอื่น)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรโดยประมาณ 220,520 บาท (เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยเอกชนอื่น)
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
มหาวิทยาลัยเน้นเปิดโอกาสทางการศึกษาให้กับสังคม (เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยเอกชนอื่น)
  กองทุนเพื่อการศึกษา
 
อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ม. เอกชน
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และ กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)