อําเภอปากเกร็ด

มาตรฐานข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ การจัดทำมาตรฐานข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งดำเนินการตามกรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ หรือ TH e-GIF โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้จัดทำมาตรฐานข้อมูลด้านการพาณิชย์ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ทั้งหน่วยงานภายในกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานภายนอก สามารถบูรณาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการทำงาน/ข้อมูลของระบบงานต่างๆ ที่หน่วยงานมีอยู่ในปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายที่ประชาชนหรือผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางการให้บริการ

ในปีพุทธศักราช ๒๑๗๙ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองอ้อมใหญ่ไปทะลุคลองบางกรวยตอนใต้ของวัดเขมาภิรตาราม ยาวประมาณ ๕ กิโลเมตร คลองนี้ถูกกระแสน้ำที่ไหลแรงขุดเซาะจนกว้างมาก กลายเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ราวปีพุทธศักราช ๒๒๐๘ ทรงเห็นว่า การที่แม่น้ำเปลี่ยนทิศ ทำให้ข้าศึกประชิดเมืองได้ง่าย จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมปราการตรงปากแม่น้ำอ้อม และย้ายเมืองนนทบุรีมาอยู่ปากแม่น้ำอ้อมด้วย

พุทธศักราช ๒๒๖๔ ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ได้ทรงโปรดให้ขุดคลองลัดเกร็ด ที่อำเภอปากเกร็ด ความยาวได้ ๓๙ เส้นเศษจวบจนถึงปี พ.ศ. ๒๓๐๗ เมืองนนทบุรีเป็นยุทธภูมิระหว่างเรือกำปั่นอังกฤษกับพม่า และถูกพม่ายกค่ายเข้าเมืองในช่วงเหตุการณ์นี้ และจนกระทั่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ที่ตั้งของเมืองนนทบุรี จึงได้มีการโยกย้ายอีกครั้งเป็นบริเวณที่ตั้งในปัจจุบัน

ประชากรของจังหวัดนนทบุรี ประกอบไปด้วยชนชาวไทยที่สืบเชื้อสาย มาจากหลายเชื้อชาติทั้งไทย จีน มอญ แขก เป็นต้น โดยชาวไทยเชื้อสายมลายูและชาวไทยเชื้อสายมอญ อพยพมาอยู่ในจังหวัดนนทบุรีตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งปรากฏหลักฐานในหนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทยดังนี้
ในจังหวัดนี้ มีชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากมอญอยู่มากแถวอำเภอปากเกร็ด ตั้งแต่ปากคลองบางตลาด ฝั่งเหนือลำแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านตะวันออกและตะวันตก ตำบลอ้อมเกร็ด เหนือคลองบางภูมิขึ้นไป รวมทั้งเกาะเกร็ดด้วย

เดิมอำเภอปากเกร็ด ตั้งที่ว่าการอำเภอที่วัดสนามไชย มีตำบล ๑๐ ตำบล หมู่บ้าน ๑๖๘ หมู่บ้าน พื้นที่ของอำเภอปากเกร็ดนั้นมีที่นามากกว่าที่สวน โดยสวนมีทุเรียนและสวนส้มเขียวหวาน เป็นไม้ยืนและมีผลไม้อื่นเป็นไม้แซม นอกจากการทำนาทำสวนแล้ว ยังมีการทำหัตถกรรมเครื่องดินเผาของบ้านเกาะเกร็ด โดยชาวบ้านที่ประกอบอาชีพนี้เป็น คนไทยเชื้อสายมอญ ที่ได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การทำเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาะเกร็ดนิยมสลักลวดลายอย่างสวยงาม จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของปากเกร็ด

ปัจจุบันนี้ พื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ในอำเภอปากเกร็ดคือพื้นที่ของเทศบาลนครปากเกร็ด ครอบคลุมพื้นที่ ๕ ตำบล คือ ตำบลปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ และตำบลบ้านใหม่ และสภาพพื้นที่สวนผลไม้ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนสภาพเป็นที่รองรับการขยายตัว เป็นที่พักอาศัยและอุตสาหกรรม จนอาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ฝั่งตะวันออกของปากเกร็ดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครด้วย

จากข้อมูลในตารางที่ 3 แสดงให้เห็นจำนวนประชากรในช่วงระยะเวลาสี่ปี (พ.ศ.2560 - 2563) โดยลดลงจากปี 2560 เป็นจำนวน 491 คน ทั้งนี้ ยังไม่รวมกลุ่มประชากรแฝงที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยไม่ปรากฏข้อมูลในระบบทะเบียนราษฏร ซึ่งมีจำนวนมากและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่มีแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้

ตารางที่ 4 ตารางแสดงจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดแยกตามกลุ่มอายุ ย้อนหลัง 4 ปี

ตำบลอายุ 1-6 ปี (ก่อน-ปฐมวัย)อายุ 7-17 ปี (ประถม-มัธยม)อายุ 18-59 ปี (ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง)อายุ 60 ขึ้นไป    2560     2561     2562      2563      2560      2561      2562 2563    2560      2561      2562  2563    2560      2561      2562  2563ตำบลปากเกร็ด2,6362,5382,4502,8485,9645,4785,4854,58323,25323,18223,25921,3345,9226,5466,3567,231ตำบลบางพูด4,5064,3774,4304,7708,7678,0978,1038,55441,12441,01241,19840,3488,9659,7219,4689,542ตำบลบ้านใหม่2,2753,0783,1563,2184,5417,1087,6237,12820,65628,38827,66227,5004,1649,2159,1209,420ตำบลบางตลาด3,1052,4402,4822,7497,8204,1644,1054,22728,55320,67621,19221,6688,5574,6054,5104,686ตำบลคลองเกลือ4464683444531,0078758258025,9345,9515,9675,9691,9172,0552,2182,326รวม12,96812,90112,86214,03828,09925,72226,14125,294119,520119,209119,278116,81929,52532,14231,67233,205

 ข้อมูล ณ กันยายน 2563

5.ลักษณะภูมิประเทศ

ด้วยพื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาที่เรียกว่าที่ราบกรุงเทพ การตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เนื่องจากพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านเกษตรกรรม จึงได้มีการขุดคูคลองเพื่อส่งน้ำเข้าพื้นที่สวนไร่นา ด้วยสภาพพื้นที่ในปัจจุบัน กลายเป็นพื้นที่รองรับการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานครฯ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย หน่วยงานราชการ แหล่งธุรกิจ เขตอุตสาหกรรม ศาสนสถาน และโรงเรียน จนกลายเป็นพื้นที่ชุมชนหนาแน่นแล้ว คูคลองแหล่งน้ำธรรมชาติ เดิมเป็นพื้นที่ในการส่งน้ำเข้าสู่พื้นที่สวนไร่นา แต่ปัจจุบันกลายเป็นที่รองรับการระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา จากการสำรวจข้อมูลจากสำนักงานที่ดิน อำเภอปากเกร็ด พบว่าพื้นที่ในเขตเทศบาลปากเกร็ด มีคูคลองแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ดังนี้

อําเภอปากเกร็ด มีกี่ตําบล

อำเภอปากเกร็ดแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 12 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้าน รวม 85 หมู่บ้าน (หรือ 51 หมู่บ้าน หากไม่นับรวมในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดซึ่งไม่มีตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว) ได้แก่ 1. ปากเกร็ด (Pak Kret)

อําเภอปากเกร็ดอยู่จังหวัดอะไร

1.ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลนครปากเกร็ด ตั้งอยู่ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ด้านฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาระยะทางห่างจากจังหวัดนนทบุรี ประมาณ 10 กิโลเมตร ทำเลที่ตั้งเป็นปริมณฑลติดกับกรุงเทพมหานคร 2.อาณาเขต

ปากเกร็ดรหัสอะไร

ข้อมูลรหัสไปรษณีย์.

ปากเกร็ดมีอะไรบ้าง

Chit Beer. โรงเบียร์.
อิมแพคอารีน่า เมืองทองธานี 150. ศูนย์ประชุม เปิดอยู่ ... .
อิมแพ็ค สปีด พาร์ค 106. สนามแข่งรถ เปิดอยู่.
วัดชลประทานรังสฤษดิ์ สถานที่ทางศาสนา โดย Vichai_Family. .. ... .
วัดบางจาก สถานที่ทางศาสนา โดย jitsiri. ... .
ศาลสมเด็จพระนางเรือล่ม โบราณสถาน.
วัดกู้ สถานที่ทางศาสนา เปิดอยู่.
เซนทรัลพลาซ่า แจ้งวัฒนะ ศูนย์การค้า.