ถอดความลิลิตตะเลงพ่ายตอนที่1

ถอดความลลิ ิตตะเลงพ่าย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕
ครูพัชรี เมืองเชยี งหวาน

สรุปเน้อื หาลิลติ ตะเลงพ่าย
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ โดย ครูพชั รี เมอื งเชียงหวาน

ความรเู้ บอื้ งตน้
ผู้แตง่ : สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ติ ชิโนรส
ลักษณะคาประพนั ธ์ : ลิลิตท่ีประกอบดว้ ย รา่ ยสภุ าพ โคลงสองสภุ าพ โคลงสามสภุ าพ
จุดมงุ่ หมาย : ๑. เพ่อื ยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวร
๒. เพอ่ื ฉลองตกึ วดั พระเชตุพนฯ
๓. สรา้ งสมบารมีของผแู้ ต่ง (เพราะผูแ้ ตง่ ขอไวว้ า่ ถา้ แตง่ เสรจ็ ขอใหส้ าเรจ็ สู่ พระนิพพาน )
ตอนท่ี ๑ เริ่มตน้ บทกวี
เนอื่ งดว้ ยพระเดชานภุ าพของกษัตรยิ ไ์ ทยท่ีสามารถมีชัยเหนือศตั รู ซึง่ มกี ารเลอ่ิ งลอื พระเกียรติยศไปทวั่

หลา้ ทาให้เหลา่ กษัตรยิ เ์ มอื งต่างๆรสู้ กึ หวัน่ เกรงและไมก่ ลา้ ท่ีจะออกรบดว้ ย จงึ ได้นาบ้านเมอื งมาถวายเป็นเมอื งข้นึ แก่ไทย
ซงึ่ มีกษตั รยิ ์ที่มีพระปรชี าสามารถทาใหแ้ ผ่นดนิ ไทยสงบสขุ เมื่อเมืองอ่ืนๆไดย้ ินช่อื ตา่ งกห็ ว่ันเกรง เปรียบได้กับพระรามซ่งึ มี
ชยั เหนือทศกัณฐ์ สามารถมชี ยั เหนือข้าศกึ ในทุกครั้ง เปรียบเสมอื นพระนารายณท์ ี่ลงมาเกิด ซง่ึ เหล่าขา้ ศกึ ไม่กล้าส้รู บด้วย
และหนไี ปทอ่ี ่ืน และกษัตริยต์ ่างๆกไ็ ดย้ กย่องและสรรเสริญ

ตอนที่ ๒ เหตกุ ารณท์ างเมืองมอญ
ฝงั่ มอญหรือพมา่ ได้ข่าววา่ สมเด็จพระมหาธรรมราชาสวรรคต ซ่ึงมีสมเด็จพระนเรศวรขนึ้ ครองราชยต์ ่อ

ซึง่ พระเจา้ นนั ทบุเรงผ้เู ปน็ กษัตรยิ ข์ องพมา่ ได้คิดว่าอาจมกี ารแยง่ ชิงราชสมบตั ิระหว่างสมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกา
ทศรถ จึงได้นาทัพมาเตรียมหากว่ามีเหตกุ ารณ์ไม่สงบจะไดโ้ จมตอี ยธุ ยา โดยไดม้ บี ัญชาใหพ้ ระมหาอุปราชาและพระ
มหาราชเจา้ นครเชยี งใหม่มาเตรียมทพั ทัง้ ส้ิน หา้ แสนคน แตพ่ ระมหาอุปราชาไดท้ ูลวา่ พระองคก์ าลังมีเคราะหถ์ ึงตายตามท่ี
โหรได้ทานายเอาไว้ พระเจ้านนั ทบเุ รงจงึ พูดประชดเพอ่ื ให้เกิดมานะวา่ หากมีความหวาดกลัวตอ่ เคราะห์ ก็ใหน้ าเอาผ้าของ
ผู้หญิงมาสวมใส่ พระมหาอปุ ราชามคี วามรู้สึกอายเหลา่ ขุนนางจึงกราบลาพระเจา้ นนั ทบเุ รงและเกณฑท์ หารไปรบ จากนน้ั
จงึ ส่งั ลาพระสนม สรงน้าแล้วแต่งพระองคด์ ว้ ยสนับเพลา รดั ผ้าคาดและสวมพระภษู า จากน้นั จึงสวมกาไลท่ตี กแตง่ ดว้ ยแกว้
ลายมังกร ผา้ ตาบทีต่ กแต่งจากแกว้ ไพฑูรย์ สายสะอง้ึ ทท่ี ามาจากพลอย สายสงั วาล และทศี่ ีรษะทรงใส่มงกุฎเทริดรูป
พญานาคแบบท่กี ษตั ริย์มอญทรงใส่กนั พระธามรงคม์ ีแสงสีร้งุ มีแกว้ ๙ ประการ มีความสงา่ สมกัยที่เป็นกษัตรนิ ์ ทรงเดิน
อย่างมีอานาจและถืออาวธุ ไวท้ ่พี ระหตั ถ์ แล้วจงึ ทลู ลาพระเจา้ นนั ทบุเรงเพือ่ ไปรบกับสยาม พระเจา้ นนั ทบเุ รงได้
พระราชทานพรใหท้ าศกึ ไดช้ นะสมเด็จพระนเรศวร รวมถงึ พระราชทานโอวาทในการทาศกึ ซงึ่ มี ๘ ข้อดังตอ่ ไปนีใ้ หเ้ อา
อกเอาใจทหาร อยา่ มีความขลาด อยา่ โง่เขลาและเบาความ ใหร้ ้จู กั กับกระบวนทัพของขา้ ศึก และมคี วามเชยี่ วชาญ รู้
วิชาเกี่ยวกับรบ รู้จกั การต้ังคา่ ยทหาร รู้จักให้รางวลั แกน่ ายทรั จู้ ักมีความพากเพียร เมอ่ื ฟงั จบพระมหาอปุ ราชารบั พรและ
ทลู ลาพระราชบิดา สว่ นนายชา้ งร่นื เรงิ แกล้วกลา้ ขีช่ า้ งพนั ธกอมารบั พระมหาอุปราชา แลว้ จึงไดเ้ ริ่มเคลื่อนทพั ออกไป

ตอนท่ี ๓ พระมหาอปุ ราชายกทพั เข้าเมอื งกาจนบรุ ี
พระมหาอปุ ราชาไดร้ าพึงราพันถึงเหลา่ นางสนมว่าได้ออกเดินทางมารบเพียงคนเดียวทาใหร้ ูส้ กึ เปล่า

เปลยี่ วใจ เมือ่ เห็นไม้ท่สี วยงาม ก็นึกไปถงึ นางอนั เป็นทร่ี กั เมื่อมาถงึ ที่กาญจนบรุ ี กองระวงั ดา่ นไดส้ อดแนมและ
สงั เกตจากฉตั รจึงทราบไดว้ า่ เปน็ มอญทม่ี ีพระมหาอปุ ราชาเปน็ ผนู้ าทพั มาจงึ ไปแจ้งแกเ่ จ้าเมอื ง แตช่ าวกาญจนบุรไี ม่
สามารถทจ่ี ะตา้ นกองทัพพม่าได้ จงึ ไดเ้ ขา้ ไปหลบในป่าเพอื่ ดูว่าพมา่ มีกลยุทธ์ใดบ้างและได้ส่งข่าวให้กรงุ ศรอี ยธุ ยา
ได้ทราบ สว่ นพระมหาอุปราชาไดใ้ หพ้ ระยาจดิ ตองเปน็ ผ้นู าในการทาสะพานเชอื กข้ามแม่น้ากระเพินมาทีก่ าญจนบุรี
ซง่ึ ได้กลายเปน็ เมอื งรา้ ง ไดท้ รงพกั ค่ายที่ในเมือง เมอ่ื ได้เคล่อื นกองทพั มาจนถงึ ตาบลพนมทวนก็เกิดลมเวรมั ภาพดั
มาทาให้เศวตฉตั รของพระมหาอปุ ราชาหัก พระองค์ไดท้ รงเรยี กโหรมาทานาย เหลา่ โหรร้วู ่าเหตกุ ารณน์ ้เี ปน็ ลางร้าย
แต่กลวั พระอาญาจงึ ทูลว่าพระองคจ์ ะปราบทพั ไทยไดแ้ ละอยา่ ทรงกังวล แตพ่ ระองคท์ รงไมเ่ ชอื่ ในคาทานายท่ีโหรได้
ทานายให้ และได้ทรงหวัน่ ไปแลว้ ว่าจะแพ้แกอ่ ยธุ ยา รวมถงึ ได้นึกถึงพระบดิ าทจ่ี ะขาดคนให้คาปรึกษาหลังจากท่ีได้
เสีบพระโอรสไป และคดิ วา่ ไม่อาจจะกลับไปตอบแทนพระคณุ ได้
ตอนที่ ๔ สมเด็จพระนเรศวรทรงปรารภเรอ่ื งตีเมืองเขมร

ในเวลาเดยี วกัน สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ทรงถามทุกขส์ ขุ ของราษฎรและได้ตดั สนิ คดีความต่างๆ
ดว้ ยความยตุ ธิ รรม หลังจากนนั้ กไ็ ด้ปรกึ ษาเหล่าขุนนางเพ่ือเตรียมยกทัพไปตีเขมร โดยจะนากาลังพลจากทางใตม้ า
ช่วย และพระองคไ์ ด้ทรงบญั ชาให้ พระยาจกั รี เป็นคนดูแลพระนครหากว่ากองทพั มอญได้ยกทัพมาในระหว่างการรบ
กับเขมร แลว้ ทูตจากกาญจนบุรกี ไ็ ด้เข้ามาท่ที ้องพระโรง
ตอนท่ี ๕ สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสศู้ กึ มอญ

สมเด็จพระนเรศวรกาลังจะยกทพั ไปตเี ขมร แตบ่ ังเอญิ วา่ ฝ่ายมอญยกทพั เขา้ มา ทาให้พระองคต์ อ้ งนา
กองทพั ไปรบกับมอญกอ่ น โดยพระองคท์ รงประกาศเกณฑ์พลทหารจากเมืองกาญจนบรุ ีจานวน ๕๐๐ คนสาหรบั ไป
สอดแนมบรเิ วณลานา้ กระเพิน และให้ทาลายสะพานขา้ มแม่นา้ หลงั จากน้นั พระองคไ์ ด้รับรายงานศึกจากทตู เมอื ง
ตา่ งๆเป็นการเนน้ ยา้ วา่ ครั้งนี้พม่าได้ยกทัพมาจริง พระนเรศวรจงึ ไดน้ าความมาปรกึ ษากับอกมาตยไ์ ดข้ ้สรุปว่าควรจะ
ทาศกึ นอกเมอื งซ่ึงข้อสรุปน้ีก็ตรงกับพระประสงคข์ องพระองค์อยู่แล้ว พระองค์จงึ มีพระบรมราชโองการใหม้ กี ารเกณฑ์
ทหารจากหวั เมอื งต่างๆ โดยมองหมายใหพ้ ระยาศรไี สยณรงคเ์ ปน็ กองทัพหน้า และให้มปี ลดั ทัพคอื พระราชฤทธา
นนทพ์ ร้อมด้วยพลทหารจานวนหา้ หม่ืนคนใหอ้ อกไปรบก่อน ซึ่งหากไมส่ ามารถทจ่ี ะสไู้ ด้ พระองค์จะเสดจ็ มาช่วย
ตอ่ จากนนั้ แมท่ ัพทง้ั สองได้ทลู ลา และยกทัพไปท่ีตาบลหนองสาหรา่ ย จังหวัดกาญจนบุรี โดยตัง้ คา่ ยตามชยั ภูมิ
สีหนาม เพื่อเตรียมพร้อมในการออกรบรวมถึงเปน็ การลวงใหข้ ้าศกึ ทาการต่อส้ไู ดล้ าบากมากย่ิงข้ึน

ตอนที่ ๖ พระนเรศวรทรงตรวจเตรยี มทพั
สมเด็จพระนเรศวรได้ให้โหรทาการหาฤกษ์ทเ่ี หมาะในการยกทัพหลวง โดยหลวงญาณโยคและหลวงโลก

ทปี เปน็ ผ้คู านวนหาฤกษ์ไดค้ ือ วันอาทติ ย์ ขึ้น ๑๑ ค่า เดอื นยี่ ในเวลา ๘.๓๐ นาฬกิ า สว่ นพระสบุ ินทีท่ รงฝันว่า
พระองคท์ รงเหน็ น้าทว่ มปา่ ในทศิ ตะวนั ตก และในขณะทท่ี รงลยุ นา้ ได้เกิดการปะทะและตอ่ สู้กบั จระเขต้ ัวใหญ่ สุดทา้ ย
พระองค์ไดใ้ ช้พระแสงดาบฟันจระเขจ้ นตาย แลว้ สายนา้ กแ็ หง้ ไป สามารถทานายโดยพระโหราธบิ ดีได้ว่า พระสุบนิ
ครงั้ นีเ้ กดิ จากเทวดาสังหรณ์ โดยอธบิ ายตอ่ วา่ กระแสน้าในทิศตะวันตกก็เปรียบได้กบั กองทัพพม่า จระเข้คอื พระมหา
อุปราชา และสงครามคร้ังน้ีเป็นสงครามใหญ่ท่ีจะเกดิ การรบบนหลงั ช้าง สว่ นทีพ่ ระองค์ชนะจระเขท้ านายไดว้ ่าพระองค์
จะชนะศตั รูได้ดว้ ยพระแสงของ้าว การท่ีพระองคท์ รงลุยไปในกระแสนา้ ทานายได้ว่าพระองคจ์ ะบุกเขา้ ไปในกลุ่มข้าศกึ
จนขา้ ศกึ เหลา่ นน้ั แตกพ่ายไป หลังจากนนั้ พระองคแ์ ละสมเดจ็ พระเอกาทศรถไดเ้ สดจ็ ไปที่บรเิ วณเกยทรงชา้ งเพื่อรอฤกษ์
และขณะน้นั เองท่พี ระองคท์ อดพระเนตรเหน็ พระบรมสารรี กิ ธาตขุ นาดเท่ากบั ผลสม้ เกลี้ยงๆท่ีลอยมาจากท้องฟา้ ทิศใต้และ
เวยี นทักษิณาวรรค ๓ รอบ รอบบริเวณกองทพั แลว้ จงึ วนไปทศิ เหนือ สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถได้
ทรงอธษิ ฐานใหพ้ ระบรมสารีริกธาตุบันดาลให้พระองคม์ ีชยั ชนะเหนอื เหล่าข้าศกึ แลว้ จึงเคล่ือนทัพออกไป โดยช้างทรง
พระนเรศวรคอื เจา้ พระยาไชยานุภาพ และช้างทรงสมเด็จพระเอกาทศรถคือ เจ้าพระยาปราบไตรจกั ร
ตอนท่ี ๗ พระมหาอุปราชาทรงปรกึ ษาการศกึ แลว้ ยกทัพเข้าปะทะหนา้ ของไทย

พระมหาอปุ ราชาได้ให้ฝ่ายกองตระเวนของมอญซง่ึ ได้แก่ สมิงอะคร้าน สมิงเปอ่ สมิงซายม่วนและกอง
กาลงั ม้า ๕๐๐ คนมาสบื ดกู ารเคล่อื นไหวของฝา่ ยไทย ซ่ึงพบว่ามาต้ังคา่ ยอยบู่ ริเวณหนองสาหร่าย จงึ ไปทูลให้พระ
มหาอุปราชาทราบ และเมื่อพระมหาอปุ ราชาให้ประมาณกองกาลงั ไทยจึงทูลตอบไปว่ามี ๑ แสนถงึ ๑ แสนแปดหมื่น
คน ซ่ึงทรงเหน็ วา่ พระองคม์ ีกองกาลงั จานวนทม่ี ากกวา่ และควรทจี่ ะโจมตีใหไ้ ดใ้ นตอนแรกเลย แล้วค่อยไปล้อมกรุง
ศรอี ยุธยาเพ่ือชงิ ราชสมบตั ใิ นภายหลงั จงึ ได้มบี ัญชาไปถึงเหล่าทหารให้จดั เตรยี มกองทพั ในเวลา ๓ นาฬกิ า เมอื่ ๕
นาฬกิ ากไ็ ด้เคลอื่ นทพั ออกไป โดยพระมหาอุปราชาประทพั ชา้ งชื่อพลายพทั ธกอซงึ่ กาลงั ตกมนั อยู๋ เพ่ือใหพ้ ร้อมสาหรบั
การโจมตีในตอนเช้า สว่ นฝา่ ยไทย พระยาศรีไสยณรงคแ์ ละพระราชฤทธานนท์ได้รบั พระบรมราชโองการให้โจมตี
ขา้ ศึก โดยจดั รปู แบบทัพแบบตรีเสนา ซึ่งเป็นการจดั ทพั ท่แี บง่ ทัพใหญอ่ อกเป็น ๓ ทัพยอ่ ยๆ และแต่ละทพั น้ันยัง
แบ่งย่อยออกเป็น ๓ กองดว้ ยกัน

ในเวลาประมาณ ๗ นาฬิกากองทัพไทยที่เคลอ่ื นทัพจากหนองสาหรา่ ยก็มาถึงโคกเผาข้าว และได้ปะทะกบั
กองทพั มอญท่ีน่ี ซง่ึ ไดเ้ กดิ การตอ่ สเู้ ป็นค่ดู ว้ ยอาวุธชนิดเดียวกัน เกดิ การเสยี ชีวิตจานวนมาก สุดท้ายกองทพั มอญท่ีมี
จานวนมากกวา่ ได้เคล่อื นทีม่ าล้อมกองทพั ไทย ทาให้ตอ้ งถอยทัพออกมากอ่ น ซึ่งสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระ
เอกาทศรถก็ไดเ้ ตรียมกองกาลังไวพ้ รอ้ มแล้ว

ตอนท่ี ๘ ทพั หนา้ ไทยถอยไมเ่ ปน็ กระบวน
ในขณะท่พี ราหมณไ์ ด้ทาพธิ ีเบิกประตูปา่ และพิธีละวา้ เซ่นไก่ หลวงมหาวิชัยได้นาพระแสงดาบอาญา

สทิ ธ์ิมาทาพธิ ตี ดั ไม้ข่มนาม สมเด็จพระนเรศวรทรงได้ยนิ เสียงปืน จึงมีบญั ชาใหห้ มืน่ ทิพเสนาไปสืบขา่ ว หมน่ื ทิพ
เสนาได้กลบั มาพรอ้ มกบั ขนุ หมนื่ มาเขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระนเรศวร และกราบทูลวา่ ทัพไทยไดส้ ูร้ บกบั ทพั มอญบริเวณตาบล
โคกเผาขา้ วตอน ๙ นาฬกิ าและได้ถอยรน่ กองกาลงั เขา้ มาเนื่องจากข้าศกึ มีจานวนมากกวา่ สมเด็จพระนเรศวรได้
ปรึกษากบั แมท่ ัพ โดยแมท่ ัพทูลใหพ้ ระองคส์ ง่ กองทัพออกไปตา้ นทัพพมา่ แต่พระองค์ทรงเห็นวา่ จะเปน็ การทาใหท้ พั
ไทยต้องแตกพ่ายอีกครัง้ จึงได้ข้อสรุปวา่ ให้กองทัพทแ่ี ตกพา่ ยนนั้ ถอยทพั เข้ามาเพอื่ ลวงใหข้ า้ ศกึ ยกทัพตามเขา้ มา
จากนนั้ นากองทพั ใหญอ่ อกโจมตีแทน ซึ่งวธิ ีการนน้ี า่ จะไดร้ ับชัยชนะได้อย่างไม่ยากนัก พระองค์จงึ มีคาสง่ั ให้
หมื่นทิพเสนาและหมนื่ ราชามาตย์ไปบอกให้ทพั หนา้ รบั ถอยทพั ส่วนพม่าทไ่ี ม่รูใ้ นอุบายครัง้ นีก้ ็ไดร้ ุกไล่เข้ามาตามท่ี
ไดท้ รงวางแผนไว้
ตอนที่ ๙ ทพั หลวงเคลอ่ื นพล

ขณะท่ีกองทัพฝา่ ยไทยกาลงั รอฤกษ์ในการเคลอ่ื นทัพ กไ็ ด้ปรากฏเมฆลอยอยู่ในทิศตะวนั ตกเฉียงเหนอื
แตห่ ลงั จากนน้ั ทอ้ งฟ้าก็กลบั เปน็ ปกติ มแี สงอาทิตย์ส่องลงมา ซึ่งส่ิงเหล่าน้เี ป็นนมิ ติ ทบี่ ง่ บอกถึงความโชคดี
หลังจากนัน้ สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระนเรศวรได้เคลื่อนยา้ ยกองทัพรปู เกลด็ นาคตามทไี่ ดม้ กี ารกลา่ วไว้ใน
ตาราพชิ ยั สงคราม และไดเ้ กดิ การปะทะกบั ทัพของฝา่ ยพมา่ บังเอญิ ว่าพระเจ้าไชยานุภาพและเจ้าพระยาปราบไตร
จกั รไดย้ ินเสยี งฆ้อง เสลี งกลอง เสียงปืน จึงได้วิง่ จนเจ้าไปใกล้กบั กองหนา้ ของทัพข้าศกึ ทาใหม้ เี พยี งกลางชา้ ง
และควาญช้างจานวน ๔ คนที่ตามเสดจ็ ได้ทนั โดยช้างทรงได้แทงช้างข้าศกึ ทาให้ทหารพมา่ เสียชวี ิตไปมากมาย
ทหารพมา่ ได้พยายามยิงปนื แตไ่ ม่สามารถทาอันตรายชา้ งทรงได้ ซึง่ ในการต่อสู้ครั้งนน้ั ได้มีฝุน่ จานวนมากทาให้
วิสยั ทศั น์ไมด่ ี มองเห็นไม่สะดวก พระนเรศวรไดต้ รสั แก่เหลา่ เทวดาว่า ทท่ี ่านเหลา่ น้นั ไดท้ าใหพ้ ระองคม์ าประสตู ิ
เนอ่ื งจากได้หวงั ใหพ้ ระองคม์ าเป็นกษตั ริยแ์ ละบารงุ พระพุทธศาสนาให้รุง่ เรือง แลว้ เพราะอะไรทา่ นเหลา่ นน้ั จึงไม่
ทาให้ท้องฟา้ สว่างเพ่ือใหเ้ ห็นข้าศกึ ไดช้ ดั หลงั จากน้นั ทอ้ งฟ้ากเ็ ปน็ ปกติและพระองคท์ งั้ สองทรงเหน็ พระมหาอปุ ราชา
ถกู ล้อมรอบดว้ ยทหาร ใต้ตน้ ข่อย จึงไดบ้ ังคับชา้ งเข้าไป ขา้ ศึกบางส่วนยิงปนื ไฟเขา้ มาแตก่ ไ็ ม่ได้โดนพระวรกาย
แตอ่ ย่างใด
ตอนที่ ๑๐ ยทุ ธหัตถี และชัยชนะของไทย

สมเดจ็ พระนเรศวรได้ทรงเชิญพระมหาอปุ ราชามาทาศึกร่วมกัน โดยเร่มิ ดว้ ยการกลา่ วถึงพระเดชานภุ าพ
และเชญิ มาทาการรบบนคอชา้ งรว่ มกนั หลังจากท่ไี ด้ตรัสเสร็จ พระมหาอปุ ราชาไดเ้ กดิ ขัตตยิ มานะแล้วได้นาช้าง
เข้าสรู้ บ ซ่งึ กวปี ระพนั ธ์ว่าช้างทรงทั้งสองเปรยี บเสมอื นช้างเอราวณั และชา้ งคีรีเมขล์ซ่งึ เป็นพาหนะพญามารวสั วตี
และกษตั ริย์ทงั้ สองได้มาทาสงครามกนั เปรียบดง่ั สงครามของพระรามและทศกัณฐ์ เม่อื ชา้ งทรงของพระนเรศวรไดโ้ ถม
ตัวเขา้ หาชา้ งทรงพระมหาอปุ ราชา ชา้ งทรงประมหาอุปราชาอยดู่ า้ นล่างและไดใ้ ชง้ าทาให้ชา้ งทรงสมเด็จพระ
นเรศวรแหงนหนา้ ข้ึน จากน้ันพระมหาอุปราชไดเ้ งอ้ื พระแสงของ้าวเพ่ือทจี่ ะฟนั และสมเดจ็ พระนเรศวรทรงหลบได้

ตอนที่ ๑๑ พระนเรศวรทรงสรา้ งสถูปและปูนบาเหนจ็ ทหาร
หลังจากทีท่ าสงครามเสรจ็ ส้นิ แล้วได้ทรงมีพระบญั ชาให้สรา้ งสถปู บริเวณที่พระองคไ์ ดท้ ายุทธหตั ถที ่ตี าบล

ตระพังตรุ เพ่อื เปน็ การเฉลิมพระเกียรติในการทาสงครามคร้งั น้ี และไดส้ ่งเจา้ เมอื งมลว่ นและควาญชา้ งไปแจง้ ขา่ ว
พระมหาอปุ ราชาสิ้นประชนมแ์ ละข่าวท่ีทรงแพ้สงคราม จากนัน้ พระองค์ไดย้ กทัพกลับมาท่ีกรงุ ศรีอยุยา แล้วได้
พระราชทานความชอบและบาเหนจ็ เงนิ ทอง ทาส เชลยแก่ พระยารามราฆพผเู้ ป็นกลางช้างของสมเดจ็ พระ
นเรศวรและขนุ ศรีคชคงผ้เู ปน็ ควาญชา้ งสมเด็จพระเอกาทศรถ รวมถงึ พระราชทานบานาญแกภ่ รรยาและบตุ รของนาย
มหานุภาพกบั หม่นื ภกั ดศี วรทไี่ ด้เสยี ชีวิตทส่ี นามรบ สว่ นแมท่ ัพและนายทหารตา่ งๆที่ตามเสด็จไมท่ ันถูกพพิ ากษาให้
ได้รบั โทษประหารชีวิต แต่ชว่ งนัน้ ใกล้วนั ข้นึ ๑๕ ค่า จงึ ได้มกี าหนดประหารในวนั หนึง่ คา่ (ปาฏบิ ท)แทน
ตอนที่ ๑๒ สมเดจ็ พระวันรตั ขอพระราชทานอภยั โทษ

เมอื่ วนั แรม ๑๕ ค่า เวลาประมาณ ๘ นาฬกิ า สมเดจ็ พระวนั รัตแห่งวัดปา่ แก้วและพระราชาคณะ ๒๕
องค์จากสองสว่ น ได้แก่ คามวาสี และ อรญั วาสี ได้มาท่พี ระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระนเรศวรจึงมคี าส่ังให้
นิมนตม์ าท่ที ้องพระโรง สมเดจ็ พระนเรศวรไดแ้ สดงการคารวะแกพ่ ระวันรตั พระวนั รัตจึงถามเก่ยี วกบั การยทุ ธหตั ถี
เม่อื ฟังจบไดถ้ ามแกส่ มเดจ็ พระนเรศวรถงึ การทีท่ หารเหลา่ นัน้ ไดร้ ับโทษ และไดก้ ราบทูลวา่ การที่สมเดจ็ พระ
นเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถไดท้ รงปราบศัตรูโดยไม่มีเหลา่ ทหารคอยช่วยนั้นเปรยี บเสมอื นกับการท่สี มเดจ็ พระ
สัมมาสัมพทุ ธเจา้ (พระตรีโลกนาถ)ไดท้ รงชนะพญามารโดยลาพงั ซง่ึ ในการน้พี ระเกยี รติยศตา่ งๆของพระองคไ์ ด้
แพร่กระจายไปท่ัวทุกแดน แต่หากมที หารอยู่ด้วย พระเกยี รตยิ ศท่ไี ด้รบั กจ็ ะไม่มากเท่าน้ี และเหตกุ ารณเ์ ปน็ เชน่ น้ี
เนื่องจากเทพเทวดาต่างๆไดบ้ ันดาลใหเ้ ป็น และขอให้พระองค์ทง้ั สองไม่ต้องขุ่นพระทัย เม่ือสมเดจ็ พระวันรัตเห็น
ว่าความโกรธทพี่ ระองคท์ รงมีต่อเหล่าทหารไดล้ ดน้อยลงแลว้ จงึ ได้กราบทูลวา่ ทหารเหล่านมี้ ีความผิดร้ายแรง และ
สมควรทีจ่ ะได้รบั โทษ แตท่ หารเหล่านีย้ ังคงมีความจงรกั ภักดีตอ่ พระองค์และได้รับราชการมาต้งั แตส่ มัยสมเด็จพระ
มหาจักรพรรดซิ ่ึงเปน็ พระบรมอยั กาและสมเด็จพระมหาธรรมราชาซึง่ เปน็ พระราชบิดามาก่อน จึงไดข้ อให้พระองค์
งดโทษประหารชีวิต และหากในอนาคตได้มสี งครามและเหล่าทหารทตี่ ้องการจะแกต้ ัวจะเป็นการเพ่มิ บารมขี อง
พระองค์อีกดว้ ย หลังจากน้นั สมเดจ็ พระวนั รตั จงึ ถวายพระพรลาและกลับวดั สมเด็จพระนเรศวรจงึ ไดพ้ ระราชทาน
อภัยโทษแก่ทหารเหล่านั้นและได้ให้โอกาสไปตีเมืองตะนาวศรี ทวาย และมะริดเปน็ การแก้ไขความผดิ โดยให้
เจ้าพระยาคลงั และทหาร 5 หมื่นคนไปตีทวาย และให้เจ้าพระยาจักรีคุมทหาร ห้าหมนื่ คนไปตมี ะริดและตะนาวศรี
และไดท้ รงมีพระราชดารสั ถงึ หัวเมอื งฝ่ายเหนือซง่ึ ไดถ้ ูกกวาดต้อนครอบครัวต่างๆมาจานวนมาก หากดูแลหวั เมอื ง
ฝ่ายเหนือไว้ใหด้ ียอ่ มจะทาให้การยกทัพเขา้ มาจากทางพม่าและมอญคงไมน่ า่ กลัวเทา่ ใดนัก


ลิลิตตะเลงพ่าย แต่งยังไง

แต่งด้วยลิลิตสุภาพ ประกอบด้วย ร่ายสุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ แต่งสลับกันไป จำนวน 439 บท โดยได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิตยวนพ่ายที่แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น ลิลิตเปรียบได้กับงานเขียนมหากาพย์ จัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์

ลิลิตเลงพ่ายให้ข้อคิดอย่างไร

ข้อคิดจากเรื่อง - 1. ลิลิตตะเลงพ่ายสะท้อนให้เห็นความรักชาติ ความเสียสละ ความกล้าหาญ ของบรรพบุรุษ ซึ่งคนไทยควรภาคภูมิใจ 2. แผ่นดินไทยต้องผ่านการทำศึกสงครามอย่างมากมายกว่าที่จะมารวมกันเป็นปึกแผ่นอย่างปัจจุบันนี้ 3. พระราชภารกิจของกษัตริย์ไทยในสมัยก่อน คือการปกครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขและรบเพื่อปกป้องอธิปไตยของไทย

ลิลิตตะเลงพ่ายเกิดขึ้นในสมัยใด

194 กวีวัจน์วรรณนา ที่มาของวรรคทอง ลิลิตตะเลงพ่าย ผู้แต่ง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงพระนิพนธ์ โดยมีพระองค์เจ้ากปิตถาขัตติยกุมาร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นผู้ช่วยในการนิพนธ์ ปี/สมัยที่แต่ง ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๗๔-๒๓๗๘ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเภทของวรรณคดี ...

ลิลิตตะเลงพ่ายเกิดขึ้นที่ไหน

ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระปรมานุชิตชิโนรสและ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3.