เกณฑ์ การให้คะแนน powerpoint

งานนำเสนอเรื่อง: "การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
หน่วยที่ 5 การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2 การประยุกต์ใช้การประเมินภาคปฏิบัติในวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
มาตรฐานและตัวชี้วัด ตามหลักสูตรฯ การประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment) การประเมินเพื่อตัดสินผล การเรียน (Summative Assessment) หน่วยที่ 1 หน่วยที่.... หน่วยที่... สอบกลางภาค/ปีการศึกษา สอบปลายภาค/ปีการศึกษา ชิ้นงาน/ภารกิจ การประเมินภาคปฏิบัติ

3 ตัวชี้วัดเน้นด้านผลงาน (Product)
สร้างงานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างละ ๑ ชนิด เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่ใช้การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ

4 ตัวชี้วัดเน้นกระบวนการ (Process)
เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการทำงานอย่างเหมาะสมกับงานและประหยัด ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลงของการออกกำลังกาย การเล่นเกม การละเล่นพื้นเมืองได้ด้วยตนเอง ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด ความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

5 ตัวชี้วัดเน้นด้านกระบวนการและผลงาน (Process & Product)
ทดลองและอธิบาย น้ำ แสง เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

6 ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภารกิจ (20 คะแนน) Rubric แบบใหม่
ตัวชี้วัดที่ 1 (4 คะแนน) ชิ้นงาน/ภารกิจ (20 คะแนน) หน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 2 (14 คะแนน) ตัวชี้วัดที่ 3 (2 คะแนน) Rubric

7 หน่วยการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภารกิจ (20 คะแนน) Rubric Rubric Rubric
ตัวชี้วัดที่ 1 (4 คะแนน) ตัวชี้วัดที่ 2 (14 คะแนน) ตัวชี้วัดที่ 3 (2 คะแนน) Rubric Rubric Rubric ข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือ ข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือ ข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือ

8 เครื่องมือในการประเมินภาคปฏิบัติ
ทักษะกระบวนการ (Process & skill) แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) มาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal Record) แบบตรวจสอบผลงาน (Evidence check) เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) (ต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด)

9 ลักษณะของเครื่องมือ. ในการประเมินภาคปฏิบัติ
ลักษณะของเครื่องมือ ในการประเมินภาคปฏิบัติ - แบบตรวจสอบรายการ (checklist) - แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) - แบบบันทึกพฤติกรรม

10 แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
ใช่ ไม่ใช่ 1. ใช้รูปเรขาคณิตไม่น้อยกว่า 4 ชนิด 2. เป็นภาพที่มีความหมายในชีวิตจริง 3. วาดภาพสำเร็จตามเวลาที่กำหนด เกณฑ์ประเมินการผ่าน ผลงานต้องมีลักษณะทั้ง 3 รายการ รายการ ทำ ไม่ทำ 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง เกณฑ์ประเมินการผ่าน ปฏิบัติครบทุกขั้นตอน

11 แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale)
แบบประเมินการทาบกิ่ง คำชี้แจง : ประเมินโดย  ตัวเลขตามระดับที่ต้องการ จากมาก ที่สุด (5) ถึงน้อยที่สุด (1) 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง 5 4 3 2 1 แบบประเมินการทาบกิ่ง คำชี้แจง : ประเมินโดยใส่เครื่องหมาย / ลงในช่องระดับคะแนน รายการ ระดับคะแนน 5 4 3 2 1 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง

12 ลักษณะของพฤติกรรมที่พบ
แบบบันทึกพฤติกรรม ประเด็น ลักษณะของพฤติกรรมที่พบ 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง

13 เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics)
เป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการประเมินทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Procedure) และผลงานจากการปฏิบัติ (Product) เพื่อกำหนดแนวทางในการตัดสินอย่างยุติธรรม และปราศจากความลำเอียงจากผู้ตรวจให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนจึงต้องมีความชัดเจนอย่างพอเพียง เพื่อให้ผู้ประเมินทุกคนสามารถใช้เกณฑ์การให้คะแนนเดียวกันประเมินชิ้นงานของผู้เรียนชิ้นเดียวกันแล้วให้คะแนนได้ตรงกัน

14 แบบภาพรวม (Holistic Rubrics)
เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) แบบภาพรวม (Holistic Rubrics) แบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

15 เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)
เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน  มีคำอธิบายลักษณะของงานในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาผลรวมหรือภาพรวมทั้งหมด

16 เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)
เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละส่วนของงาน  ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องกำหนด แนวทางการให้คะแนนโดยมีคำนิยามหรือคำอธิบายลักษณะของงานส่วนนั้นๆ ในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน

17 ขั้นตอนการเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ศึกษางาน (Task) ที่ต้องการประเมิน กำหนดประเด็นการประเมิน กำหนดลักษณะการปฏิบัติ ของแต่ละระดับคุณภาพในแต่ละประเด็น

18 เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)
ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)

19 การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร
ภาระงาน ประเด็น ระดับคุณภาพ มารยาท บนโต๊ะอาหาร 1. การรับประทานอาหาร 2. การพูดคุยบนโต๊ะอาหาร 3 = ทานอาหารโดยใช้ช้อน ส้อมถูกวิธี ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหาร ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก ไม่พูดเรื่องหวาดเสียวหรือเรื่องไม่สุภาพ ใช้ภาษาที่สุภาพ 2 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหารบ้าง ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ 1 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม แต่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง เคี้ยวอาหารเสียงดัง พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ

20 เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)
ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

21 การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร
ภาระงาน ประเด็นการประเมิน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 3 2 1 มารยาท บนโต๊ะอาหาร การรับประทานอาหาร 1) ใช้ช้อนส้อมถูกวิธี 2) ใช้ช้อนกลางตักอาหารทุกครั้ง 3) ตักอาหารไม่หก 4) ตักอาหารพอดีคำ 5) ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง ปฏิบัติครบทุกรายการ ไม่สมบูรณ์ 1 รายการ ไม่สมบูรณ์ มากกว่า 1 รายการ การพูดคุย 1) ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก 2) ไม่พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ ไม่สมบูรณ์ทั้ง 2 รายการ

22 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การประเมิน (Scoring Rubrics)
. กำหนดประเด็นสำคัญในการตรวจให้คะแนน และจัดลำดับ ความสำคัญหรือน้ำหนักของแต่ละประเด็น 2. กำหนดระดับหรือคุณภาพที่ต้องการให้คะแนน เช่น 3 ระดับ ได้แก่ ดี (2 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน) และ ปรับปรุง (0 คะแนน) 3. กำหนดรูปแบบของRubric คือ แบบภาพรวม (Holistic Rubric) หรือ แบบแยกส่วน (Analytic Rubric)

23 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics)
4. วิธีการเขียนคำอธิบายในแต่ละระดับสามารถเขียนได้ 3 รูปแบบ คือ แบบที่ 1 กำหนดคำอธิบายแบบลดลง หมายถึง การเขียนเกณฑ์การให้คะแนนโดยเริ่มเขียนเกณฑ์ที่ ระดับคุณภาพสูงสุดหรือได้คะแนนเต็มก่อนแล้วลด คะแนนตามคุณภาพที่ลดลง แบบที่ 2 กำหนดคำอธิบายแบบบวกหรือเพิ่มขึ้น หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพต่ำสุดหรือไม่ได้ คะแนนก่อนแล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามระดับคะแนนที่ เพิ่มขึ้นไปตามลำดับ แบบที่ 3 กำหนดคำอธิบายแบบเพิ่มขึ้นและลดลง หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพกลาง(พึงพอใจ/ ผ่านเกณฑ์) แล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามคะแนนที่ เพิ่มขึ้น(ดี/ดีมาก) และลดระดับคุณภาพตามคะแนนที่ ลดลง(ปรับปรุง)ไปตามลำดับ

24 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics)
5. ตรวจสอบโดยคณะผู้มีส่วนร่วมหรือ ผู้เชี่ยวชาญทางการวัดผล 6. ทดลองใช้เกณฑ์ในการตรวจผลงานที่มีมาตรฐาน/คุณลักษณะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 7. ตรวจสอบความเป็นปรนัย (objective Testing) ของเกณฑ์การตรวจให้คะแนนจากของกรรมการ 3 ท่าน ในลักษณะของ Inter rater Reliability 8. ตรวจสอบความความตรงตามสภาพจริง (Concurrence Validity) 9. ปรับปรุงเกณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

25 การตรวจสอบคุณภาพของเกณฑ์การประเมิน (rubric)
1 Objective testing Rater1 Rater2 Rater3 ผลการตอบของนักเรียน ปรับปรุง พอใช้ ดี Concurrence Validity testing Rater1 2