สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน
สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน
สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรร

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)   เป็นข้อกำหนดทางวิชาการที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้เป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพในระดับที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด ซึ่งมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้มีหลายเรื่องครอบคลุมสินค้าหลายๆ ประเภท ได้แก่ประเภท าหาร เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานพาหนะ สิ่งทอ วัสดุก่อสร้าง เป็นต้น

           สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ดำเนินการจัดทำมาตรฐาน โดยคณะกรรมการวิชาการซึ่งประกอบด้วยผู้ผลิต ผู้ใช้ และนักวิชาการ เพื่อให้มาตรฐานแต่ละเรื่องสอดคล้องกับความต้องการของทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ ตลอดจนมีความถูกต้องทางวิชาการ


สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์ที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กล่าวคือ สำนักงานฯ ได้ตรวจระบบการผลิต และระบบการควบคุมคุณภาพของโรงงานที่ผลิต และตรวจสอบผลิตภัณฑ์นั้นแล้วว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จึงอนุญาตให้ผู้ผลิตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานที่ผลิตภัณฑ์นั้น โดยสำนักงานฯ จะมีการตรวจสอบติดตามอยู่ตลอดเวลาที่ผลิตภัณฑ์นั้นยังแสดงเครื่องหมายมาตรฐานอยู่


สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน
เครื่องหมายมาตรฐาน
เครื่องหมายมาตรฐานที่สำนักงานฯ อนุญาตให้แสดงกับผลิตภัณฑ์ขณะนี้มี 5 เครื่องหมาย คือ

สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน

1. เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป

เป็นเครื่องหมายที่แสดงกับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐานไม่บังคับ ผู้ผลิตสามารถยื่นขอใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานได้ด้วยความสมัครใจ

สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน

2. เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ

มาตรฐาน เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค และป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่เศรษฐกิจของประเทศ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายจะต้องผลิต นำเข้าและจำหน่ายเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ต้องเป็นไปตามมาตรฐานเท่านั้น

สินค้าที่มีเครื่องหมายมาตรฐาน

3. เครื่องหมายมาตรฐาน
เฉพาะด้านความปลอดภัย

เป็นเครื่องหมายที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติของความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า ตามมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยเครื่องหมายนี้เป็นทั้งมาตรฐานบังคับและไม่บังคับ กรณีที่เป็นมาตรฐานบังคับ กฎหมายบังคับให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้าและผู้จำหน่าย จะต้องผลิต นำเข้าและจำหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตามมาตรฐาน และสามารถยื่นขอใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายโดยสมัครใจในกรณีที่เป็นเครื่องหมายไม่บังคับ

เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ สมอ. กำหนดมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์นั้นไว้แล้วซึ่งผู้ผลิตสามารถยื่นขอการรับรองคุณภาพโดยสมัครใจ (มาตรฐานทั่วไป) เพื่อการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดในมาตรฐานและหลัก ประกันให้กับผู้บริโภคหรือผู้ซื้อว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณภาพ มีความปลอดภัยคุ้มค่า และเหมาะสมกับราคา เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารวัสดุก่อสร้าง วัสดุสำนักงาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ(จะมีวงกลม)

          เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน (มาตรฐานบังคับ) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของผู้ บริโภคและป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดต่อเศรษฐกิจและ สังคม โดยส่วนรวม โดยกฎหมายบังคับผู้ผลิต ผู้นำเข้าและผู้ จำหน่าย จะต้องผลิต นำเข้า และจำหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นไป ตามมาตรฐานแล้วเท่านั้น ซึ่งจะต้องมีเครื่องหมายมาตรฐานบังคับ ติดแสดงไว้ทุกหน่วยเพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้น ได้ผ่านการตรวจสอบรับรองแล้วตามกฎหมาย เช่น ไม้ขีดไฟ สายไฟฟ้า บัลลาสต์ ผงซักฟอก ท่อพีวีซี ผลิตภัณฑ์ เหล็ก ถังดับเพลิง ของเล่นเด็ก หมวกกันน๊อค เป็นต้น

สายไฟ มอก. 11 เป็นสายไฟที่มีตัวนำเป็นทองแดง และฉนวนเป็นพีวีซี แรงดันต่ำ (แรงดันตั้งแต่ 450-750 โวลต์)ดังนั้นสายไฟที่ไม่ได้มีตัวนำเป็นเป็นทองแดง และไม่มีได้มีฉนวนเป็นพีวีซี จะไม่จัดอยู่ใน มอก.11 และก็ยังคงใช้มาตรฐานตามเดิม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานสายไฟ มอก.11-2553 ที่มีผลบังคับใช้ไปแล้ว กับมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟ้าของ วสท.2556การเปลี่ยนมาตรฐานและสีของสายไฟนั้น สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้เปลี่ยนมาตรฐานเป็น มอก11-2553 ซึ่งต้องการเปลี่ยนสีขนาดแรงดันและชื่อของของสายให้ตรงกับมาตรฐาน IEC code ซึ่งมีใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก และร่วมถึงประเทศที่อยู่นี้กลุ่ม AEC ด้วย เมื่อมีกฎหมายสีของฉนวนสายไฟชนิดตัวนำทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซีเปลี่ยน ตาม มอก.11-2553 นั้น แต่ในส่วนของสายไฟประเภท CV ซึ่งเป็นฉนวนประเภท XLPE นั้นผู้ผลิตได้ทำการเปลี่ยนให้เอง ซึ่งไม่มีกฎหมายบังคับ เพราะเห็นว่าจะทำให้มีสีไปในทางเดียวกัน ในเมื่อกฎหมายการผลิตสายไฟมีการเปลี่ยน ในส่วนของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท) ซึ่งเป็น สถาบันอิสระที่ทำมาตรฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับด้านวิศวกรรม แต่หลายๆองค์กร เช่น การไฟฟ้า MEA ,PEA ร่วมทั้งกรมโยธาธิการและผังเมือง และหน่วยงานต่าง ๆ หรือแม้แต่ใน กฎหมายบางมาตราเกี่ยวกับ พรบ. ควบคุมอาคาร ก็ได้นำมาตรฐานนี้มาอ้างอิงและบังคับใช้ ดังนั้นเมื่อมาตรฐานสายไฟมีการปรับปรุง

เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไปมีในสินค้าอะไรบ้าง

1. เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพที่ผู้ผลิตสามารถยื่นขอการรับรองคุณภาพโดยสมัครใจ เพื่อรับการตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพการผลิต ให้เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดของ สมอ. และเป็นหลักประกันแก่ผู้บริโภคว่าสินค้ามีคุณภาพ ได้รับรองมาตรฐานการผลิต ตัวอย่างเช่น สินค้าอุปโภคบริโภค วัสดุก่อสร้าง วัสดุสำนักงาน เครื่องใช้ ...

มาตรฐานคุณภาพสินค้า มีอะไรบ้าง

เครื่องหมายรับรองสินค้า ตรารับรองคุณภาพสินค้าที่ต้องรู้.
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.).
เครื่องหมายรับรองสินค้า GMP (Good Manufacturing Practice Codex Alimentarius).
เครื่องหมายอาหารและยา (อย.).
เครื่องหมายฮาลาล.
เครื่องหมายโอทอป (OTOP).
เครื่องหมายมาตรฐาน Q..
เครื่องหมายมาตรฐานไอเอสโอ.
เครื่องหมายมาตรฐาน HACCP..

เครื่องหมายมาตรฐานคืออะไร

เป็นเครื่องหมายที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่มี กฏหมาย กำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งบังคับให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่าย จะต้องผลิต นำเข้า และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่เป็นไปตามมาตรฐานเท่านั้น

สินค้ามี มอก.คืออะไร

มอก.เป็นคำย่อมาจาก “มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม” หมายถึง ข้อกำหนดทางวิชาการที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) ได้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพในระดับที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุดโดยจัดทำออกมาเป็นเอกสารและ จัดพิมพ์เป็นเล่ม ภายใน มอก.แต่ละเล่มประกอบด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการ ...