โครง งาน ธูป สมุนไพร ไล่ ยุง

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

เรื่อง การศึกษาและพัฒนาธูปหอมสมุนไพรไล่ยุง

จากเปลือกทุเรียน

โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้น ปวช.

ประจำปีการศึกษา 2559

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

1.นางสาวจุฬาลักษณ์ ดาราศรี

2.นางสาวฐิติมา พงค์ใฝ

3.นางสาวจารุวรรณ ธรรมศร

คณะผู้จัดทำโครงงาน

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ครูที่ปรึกษาโครงงาน

1.นางชไมภรณ์ อ่อนประสงค์

2.นางผกาวดี วุฒิ

ที่ปรึกษาพิเศษ

นายจิระพงษ์ จันทร์ประเสริฐ

ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

ธูป/ธูปหอม

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

กลายเป็นขยะสร้างปัญหามลภาวะเป็นพิษ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

1.เพื่อศึกษาและพัฒนาสูตรที่เหมาะสมในการทำธูปหอมสมุนไพร

ไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน

2.เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะที่ต้องการของธูปหอมสมุนไพร

ไล่ยุง จากเปลือกทุเรียนในสูตรที่ต่างกัน

3.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุง

จากเปลือกทุเรียน

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

1. สามารถประยุกต์สูตรมาตรฐานการทำธูปหอมสมุนไพรไล่ยุง

จากเปลือกทุเรียนในสูตรที่ต่างกันได้

2. ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียนทั้ง 3 สูตร จะมีคุณลักษณ์

ที่ต้องการต่างกัน

3. ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียนในสูตรที่เหมาะสมได้รับ

ความนิยมไม่ต่างกันจากธูปหอมที่มี ขายตามท้องตลาด

สมมติฐานของการศึกษา

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

1. เปลือกทุเรียนที่นำมาทำธูปหอมต้องผ่านกรรมวิธี

การบดเป็น ผงละเอียด

2. คุณลักษณะที่ต้องการของธูป ( Incense ) ตาม

เกณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 2345

– 2550 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม คณะผู้จัดทำได้ศึกษาด้าน

ลักษณะทั่วไป สี กลิ่น การใช้งาน และความชื้น

เท่านั้น

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 1 เพื่อศึกษาหาสูตร

ตัวแปรต้น ได้แก่ สูตรธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน มี 3 สูตร คือ สูตรI -1, I - 2 และI - 3

ตัวแปรตามได้แก่ ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน 3 สูตร

ตัวแปรควบคุมได้แก่ อุณหภูมิ สภาพแวดล้อม ปริมาณของผงโกบั๊วะ อัตราส่วนของ ส่วนผสมอื่น ๆ รูปแบบผลิตภัณฑ์

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2 เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่ต้องการ

ตัวแปรต้น ได้แก่ สูตรธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน มี 3 สูตร คือ สูตรI -1, I - 2 และI - 3

ตัวแปรตามได้แก่ คุณลักษณะที่ต้องการของธูป (Incense) ตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

มอก. 2345 – 2550

ตัวแปรควบคุมได้แก่ 1. ตรวจสอบโดยการตรวจพินิจ ใช้ผู้ตรวจสอบ กลุ่มเดียวกันทั้ง 3 สูตร

2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ทดสอบมีขนาด เท่ากัน รูปร่างเหมือนกัน

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

1. ธูปหอม (Incense) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีขี้เลื่อยหรือผงไม้หอมเป็นส่วนประกอบหลัก อาจเติมสมุนไพรหรือส่วนผสมอื่นเพื่อเพิ่มกลิ่นหอมและช่วยในการยึดติดของเนื้อธูปด้วยก็ได้ นำไปขึ้นรูปให้มีรูปทรงตามต้องการ โดยอาจมีก้านธูปหรือไม่ก็ ได้ แล้วนำไปทำให้แห้ ง อาจฉีดน้ำมันหอมระเหยและอาจอบไว้ ในภาชนะที่เหมาะสม ก่อนหรือไม่ก็ได้

นิยามศัพท์เฉพาะ

2. ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีผงทุเรียน ใช้แทน

ขี้เลื่อยไม้ หรือผงไม้หอมเป็นส่วนประกอบหลัก อาจเติมสมุนไพรหรือส่วนผสมอื่นเพื่อเพิ่มกลิ่นหอมและช่วยในการยึดติดของเนื้อธูปด้วยก็ได้ นำไปขึ้นรูปให้มีรูปทรงตามต้องการโดยอาจมีก้านธูปหรือไม่ก็ ได้ แล้วนำไปทำให้แห้ง อาจฉีดน้ำมันหอมระเหยและอาจอบไว้ ในภาชนะที่เหมาะสม ก่อนหรือไม่ก็ได้

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

นิยามศัพท์เฉพาะ

3. คุณลักษณะที่ต้องการ หมายถึง ลักษณะทั่วไป สี กลิ่น การใช้งาน

ความชื้นและสารที่ระเหยได้

4. กาตรวจพินิจ หมายถึง การทดสอบโดยใช้สายตาเปล่าหรือบาง

กรณีผู้ตรวจสอบอาจใช้แว่นขยาย เพื่อช่วยในการตรวจหารอย

บกพร่องหรือความไม่ต่อเนื่องที่อยู่บนผิวชิ้นงาน

5. ความพึงพอใจ หมายถึง  เป็นความรู้สึกของบุคคลในทางบวก

ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจต่อผลิตภัณฑ์ที่ใช้

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

วิธีการศึกษาค้นคว้า

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “ การศึกษาและพัฒนาสูตรธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน” เป็นโครงงานประเภททดลองที่อาศัยข้อมูลเชิงประจักและข้อมูลเชิงคุณภาพสำหรับพัฒนาส่วนผสมในการผลิตธูปหอมสมุนไพรโดยใช้เปลือกทุเรียนที่มีมากและทิ้งเป็นขยะในจังหวัดจันทบุรี มาใช้เป็นส่วนผสมหลักแทนขี้เลื่อยและผงสมุนไพรที่มีราคาแพง ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสูตรที่เหมาะสม

ขั้นตอนที่ 2 ทำการศึกษาหาคุณลักษณะที่ต้องการของธูป (incense) ตามเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานและคุณลักษณะตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 2345 – 2550 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความพึงพอใจ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

- อ่างผสมธูป - เครื่องชั่งละเอียด

- ขวดชั่ง - เดซิกเคเตอร์ ( โถดูดความชื้น)

- บีกเกอร์ - ครกบดสารช้อนคนสาร - หลอดทดลอง

- เตาอบไฟฟ้า (ที่ควบคุมอุณหภูมิได้ที่ 100 องศาเซลเซียส ± 5 องศาเซลเซียส)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

ดซิกเคเตอร์

ตาอบไฟฟ้า

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

วิธีการทำธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน

นำผงทุเรียนบดละเอียด 300 g

ผงจันทร์ขาว 200 g ผงยางบง (โกบั๊วะ) 100 g ผงหอย 20 g จันทน์เทศ 20 g ขมิ้นชัน 5 g คนให้ส่วนผสมต่างๆ ให้เข้ากัน

ติมสีผสมอาหารลงไป ค่อยๆ เติมน้ำลงในส่วนผสมทีละน้อย คลุกเคล้าสมุนไพรพร้อมกับนวดให้เหนียว นวดไปเรื่อยๆ จนกระทั้งส่วนผสมทั้งหมดมีลักษณะเหนียวเหมือนดินเหนียว

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

I -2

I -1

I -3

สูตร

ส่วนผสมผงธูปที่นวดได้ที่

มีลักษณะคล้ายดินเหนียว

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ทำการศึกษาหาคุณลักษณะที่ต้องการของธูป (incense)

นำธูปที่ได้ทั้ง 3 สูตร มาตรวจสอบโดยการตรวจพินิจ ตามเกณฑ์คุณลักษณะที่ต้องการ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ตาราง 1 ตารางบันทึกผลการศึกษาคุณลักษณะที่ต้องการของธูปหอมสมุนไพรจากเปลือกทุเรียน

คุณลักษณ์ที่ต้องการ

สูตร

I -1

I -2

I -3

ลักษณะทั่วไป

ผิวขรุขระ เนื้อธูปไม่ติดกัน มีรอยร้าวหรือแตกหัก

ผิวไม่ขรุขระ เนื้อธูปติดกันดี ไม่มีรอยร้าวหรือแตกหัก

ผิวไม่ขรุขระ เนื้อธูปติดกันดี ไม่มีรอยร้าวหรือแตกหัก

เนื้อธูปเวลานวดเหนียวมาก

สี

มีสีสม่ำเสมอ แต่ไม่ติดมือเมื่อสัมผัส

มีสีสม่ำเสมอ ไม่ติดมือเมื่อสัมผัส

มีสีสม่ำเสมอ ไม่ติดมือเมื่อสัมผัส

กลิ่น

มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติจากวัตถุดิบที่ใช้หรือสารปรุงแต่งกลิ่น

มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติจากวัตถุดิบที่ใช้หรือสารปรุงแต่งกลิ่น

มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติจากวัตถุดิบที่ใช้หรือสารปรุงแต่งกลิ่น

การใช้งาน

จุดติดยาก ส่วนที่เป็นเนื้อธูปเผาไหม้ติดต่อกันได้จนหมด

จุดติดง่าย ส่วนที่เป็นเนื้อธูปต้องเผาไหม้ติดต่อกันได้จนหมด

จุดติดง่าย ส่วนที่เป็นเนื้อธูปต้องเผาไหม้ติดต่อกันได้จนหมด

ความชื้น (โดยนำหนัก)

ร้อยละ 19.2  

ร้อยละ 13.63 

ร้อยละ 14.28  

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

จากตาราง 1 การทำธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน พบว่า

1. ลักษณะทั่วไป สูตร I -2 I -3 ไม่แตกต่างกัน ส่วน สูตร I -1 เนื้อธูปไม่ติดกัน มีรอยร้าวหรือแตกหัก 2. สี สูตร I -1 I -2 และ I -3 มีสีสม่ำเสมอ แต่ไม่ติดมือเมื่อสัมผัส 3. กลิ่น สูตร I -1 I -2 และ I -3 มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติจากวัตถุดิบที่ใช้หรือสารปรุงแต่งกลิ่น เช่นเดียวกัน 4. การใช้งาน สูตร I -2 I -3 จุดติดง่าย ส่วนที่เป็นเนื้อธูปต้องเผาไหม้ติดต่อกันได้จนหมด 5. ความชื้น (ร้อยละโดยนำหนัก) สูตร I -1 = 19.2, I -2 = 13.65 และ I -3 =14.28 ตามลำดับ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

ตาราง 2 แสดงผลการศึกษาลักษณะที่ต้องการของธูปหอมสมุนไพรจากเปลือกทุเรียน

ธูปหอม

สูตร

ลักษณะที่ต้องการ

ลักษณะทั่วไป

สี

กลิ่น

การใช้งาน

ความชื้น

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

I -1

I -2

I -3

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

จากตาราง 2พบว่า ธูปหอมสมุนไพรจากเปลือกทุเรียน สูตร I -2 และ I -3 มีคุณลักษณะที่ต้องการผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ด้าน ลักษณะทั่วไป สี กลิ่น และการใช้งาน สูตร I -1 ผ่านเกณฑ์ ด้านสีและกลิ่น แต่ไม่ผ่าน ด้าน ลักษณะทั่วไป และการนำไปใช้งาน ด้านความชื้นและสารที่ระเหยได้ I -2 ถึง I -3 ผ่านเกณฑ์ตามกำหนด

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

าราง 3 ตารางข้อมูลการเปรียบเทียบคุณลักษณะที่ต้องการของธูปหอมสมุนไพรจากเปลือกทุเรียน สูตร I -1 ถึง I -3

ธูปหอม

สูตร

ลักษณะที่ที่ต้องการ

ลักษณะทั่วไป

สี

กลิ่น

การใช้งาน

ความชื้น

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

I-1

I-2

I- 3

ากตาราง 3 พบว่า คุณลักษณะของธูปหอมสมุนไพรจากเปลือกทุเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานที่ดี จากคุณลักษณะที่ต้องการจาก มากไปหาน้อย คือ สูตร I -2 , I-3 และ I -1 ตามลำดับ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

การศึกษาความพึงพอใจ

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบความพึงพอใจธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน ใช้กลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนนักศึกษา บุคลากรวิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี และแม่บ้าน จำนวน 30 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย

เครื่องมือที่ใช้ในการสรุปผลการประเมินโครงการธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 4 ข้อ

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดโครงการจำนวน 10 ข้อ

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

การศึกษาความพึงพอใจ

ความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้ธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียนอยู่ในมากที่สุด คือ มีกลิ่นสมุนไพรตามธรรมชาติ ได้ค่าเฉลี่ย 4.63 (S.D.= 0.49) ส่วนข้ออื่นอยู่ในระดับมากทุกข้อ ได้ค่าเฉลี่ย 4.00 (S.D.=0.50) เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับจากข้อที่ได้ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ลำดับที่ 1 มีกลิ่นของสมุนไพรตามธรรมชาติ ได้ค่าเฉลี่ย 4.63 (S.D.=0.49) ลำดับที่ 2 ความสามารถในการไล่ยุง ได้ค่าเฉลี่ย 4.27 (S.D.= 0.45) ลำดับที่ 3 ธูปมีความแข็ง ไม่มีรอยร้าวหรือแตกหัก ได้ค่าเฉลี่ย 4.17 (S.D.= 0.38)

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

สรุปผล อภิปรายผล ประโยชน์และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

จากการศึกษาและพัฒนาธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียนโดยการศึกษาและประยุกต์จากตำราและอินเตอร์เน็ต โดยการนำเปลือกทุเรียนมาผ่านกรรมวิธีบดจนเป็นผงละเอียด มาเป็นส่วนผสมที่สำคัญแทนขี้เลื่อยไม้ที่เวลาเผาจะก่อให้เกิดอันตราย และใช้แทน ผงไม้หอมที่มีราคาแพง จากการศึกษาและพัฒนาสูตรธูปหอมสมุนไพรไล่ยุงจากเปลือกทุเรียน จำนวน 3 สูตร คือ สูตร I -1 , I -2 , I-3 สรุปได้ว่า สูตร I -2 ได้คะแนนตามคุณลักษณะที่ต้องการของธูป (Incense) ตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 2345 – 2550 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มากที่สุด รองลงมา คือ สูตร I -3 และ I – 1 ตามลำดับ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

ผู้จัดทำโครงงานได้สังเคราะห์ และเลือกวัตถุดิบที่น่าสนใจ สามารถหาได้ในท้องถิ่น โดยเฉพาะในจังหวัดจันทบุรี ที่ในปีหนึ่งๆ เปลือกทุเรียนจากตลาด บ้านเรือน และในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปจากทุเรียนได้ทิ้งเปลือกหลายสิบตัน ทำให้เกิดปัญหามลพิษและขยะมูลฝอย จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาและพัฒนาส่วนผสมในการผลิตธูป โดยใช้ผงทุเรียนบด แทนผงสมุนไพรจากไม้เนื้อหอม เช่น จันทน์เทศ จันทน์ขาว ที่มีราคาแพง โดยใช้สัดส่วนของวัตถุดิบที่แตกต่างกัน พัฒนาสูตรธูปทดลองทั้งหมด 3 สูตร คือ สูตร I -1 , I -2 , I -3 ซึ่งจากการศึกษาและพัฒนามีแนวโน้มความเป็นไปได้ในการนำสูตรที่เหมาะสมไปพัฒนาสำหรับผู้ผลิตธูปหอมเป็นสินค้าโอทอป เพื่อจำหน่ายในท้องตลาดได้

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

1. ได้ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์

2. นำเปลือกทุเรียนที่มีอยู่มากในท้องถิ่นมา และทิ้งเป็นขยะก่อเกิด

ปัญหาสิ่งแวดล้อม มาเพิ่มมูลคุณค่าและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

3. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถ

นำไปใช้ในการประกอบอาชีพ

ประโยชน์ที่ได้รับ

วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดจันทบุรี

  • ผู้สนใจควรทำการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการหาพืชชนิดอื่นที่มีมากมาทำธูป
  • ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวการลดปริมาณควัน ให้มีน้อยลง
  • ควรศึกษาหาวิธี หรือติดต่อหน่วยงานที่สามารถตรวจสอบหาสารพิษ เพื่อเป็นข้อรับประกันในเรื่องความปลอดภัยยิ่งขึ้น
  • นอกจากนำเปลือกทุเรียนมาเป็นส่วนผสมสำคัญในการทำธูปแล้ว ควรหาวิธีการในการทำผลิตภัณฑ์ชนิดอื่นที่ปลอดภัยและช่วยในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ

สวัสดีคะ

จบการนำเสนอ

สวัสดีค่ะ