การมีส่วนร่วมของประชาชน eia

Return to Article Details การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขยายกำลังการผลิตโรงไฟฟ้ากระบี่ / A Public Participation in Environmental Health Impact Assessment: A Case Study of Krabi Power Plant Expansion Project Download Download PDF

           การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) คือ กระบวนการซึ่งประชาชนหรือผู้มีส่วนได้เสียได้มีโอกาสแสดงทัศนะ และแลกเปลี่ยนข้อมูล และความคิดเห็นเพื่อแสวงหาทางเลือก และการตัดสินใจต่างๆ เกี่ยวกับโครงการที่เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับร่วมกันจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นผู้มีส่วนได้เสียจึงควรเข้าร่วมในกระบวนการนี้ตั้งแต่เริ่มแรก เพื่อให้เกิดความเข้าใจและการรับรู้-เรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งเป็นการนำเสนอข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ไปพิจารณาปรับปรุงการศึกษาให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายโดยโครงการนี้จะดำเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2549

   โครงการตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมีแนวทางการดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 โดยมีกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

    • กิจกรรมการแนะนำข้อมูลโครงการแก่ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

    • กิจกรรมการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 1 (จัดทำในช่วงกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม)

การมีส่วนร่วมของประชาชน eia

    •  กิจกรรมการประชุมหารือเพื่อลดผลกระทบและให้ข้อเสนอแนะต่อมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (กลุ่มย่อย)

    •  กิจกรรมการสัมภาษณ์เชิงลึก

การมีส่วนร่วมของประชาชน eia

  •  กิจกรรมการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 2 (จัดทำช่วงการจัดทำร่างรายงานการวิิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม)

ทั้งนี้ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และข้อห่วงกังวลจากประชาชนที่มีต่อโครงการ จะได้นำไปพิจารณาประกอบการออกแบบและกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ เพื่อให้โครงการนี้เป็นความร่วมมือของภาครัฐและภาคประชาชนอย่างแท้จริง

งานนำเสนอเรื่อง: "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ปิยนันท์ โศภนคณาภรณ์ ผู้อำนวยการ สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การสัมมนา เรื่อง “การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีความหมายที่แท้จริงในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” วันที่ 1 มิถุนายน ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ

2 Contents กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 การดำเนินงานของ สผ. 2 3
การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA การดำเนินงานระยะต่อไป 4

3 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

4 การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
ประกาศประเภทและขนาดโครงการเพิ่มเติมจาก 22 เป็น 34 ประเภท ประเทศไทยประกาศใช้ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2552 จดทะเบียนนิติบุคคล ทำรายงาน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2527 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ มีการพัฒนาและปรับปรุงขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (22 ประเภท) ประกาศประเภทและขนาดโครงการรุนแรงตามมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญปี 50 จำนวน 11 รายการ พ.ศ. 2524 ประกาศกำหนดประเภทและขนาดทำรายงาน (10 ประเภท)

5 2 การดำเนินงานของ สผ.

6 การ ดำเนินงาน 2549 สผ. ร่วมกับ World Bank ศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2553 สผ. ดำเนินโครงการศึกษาทบทวนเพื่อพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคม ประกาศ ทส. ระบุว่าการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ให้ดำเนินการตาม แนวทางการมีส่วนร่วมฯ ของ สผ.

7 2554 ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ ทั้ง 10 ชุด ให้มีผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชน

8 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA
3 การมีส่วนร่วมของประชาชน (PP) ใน EIA

9 PP in EIA การมีส่วนร่วมของประชาชนใน EIA
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการร่วมแสดงความคิดเห็น นำเสนอข้อมูล ข้อโต้แย้ง หรือข้อเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้มีขึ้นในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ

10 หลักการสำคัญเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ต้องเกิดจากความเต็มใจและความตั้งใจ ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค และขีดความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเข้ามามีส่วนร่วม ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพ/อิสรภาพ

11 ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน
1. ทำให้การตัดสินใจมีความรอบคอบรัดกุม มากขึ้น 2. การลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา และทำให้การตัดสินใจนั้นได้รับการยอมรับ 3. การสร้างฉันทามติ ลดความขัดแย้งทาง การเมืองและเกิดความชอบธรรมในการ ตัดสินใจของรัฐ

12 ประโยชน์ของการดำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน
4. ความง่ายในการนำไปปฏิบัติ สร้างให้ประชาชน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีความกระตือรือร้น ในการช่วยให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 5. การมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นสามารถลดการเผชิญหน้า และความขัดแย้งที่รุนแรงได้ 6. ช่วยทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความใกล้ชิดกับ ประชาชนและรับทราบข้อห่วงกังวลของ ประชาชนและมีความตระหนักในการตอบสนอง ต่อความห่วงกังวลของประชาชน

13 1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ
ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการ 2. ทราบผลกระทบ ลักษณะ และ ระดับของผลกระทบ ใครได้รับผลกระทบ 3. สามารถแสดงข้อมูล ข้อโต้แย้ง ต่อขอบเขตการศึกษา และ EIA ได้ 4. สร้างความเข้าใจให้ประชาชน 5. ทราบข้อคิดเห็นของประชาชนและมีข้อมูล รอบด้านประกอบการตัดสินใจ

14 2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. จำแนกหัวข้อหรือประเด็นหลักที่ต้องให้ ความสำคัญในด้านสังคมและการมีส่วนร่วม 2. จำแนกผู้มีส่วนได้เสีย 3. จัดทำแผนการมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ให้ข้อมูลกับสาธารณะ (Public Information) 5. ดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียตลอดกระบวนการ 6. จัดทำแผนการติดตามผลอย่างมีส่วนร่วม

15 การบริหารจัดการการมีส่วนร่วมของประชาชน

16 แนวทางการบริหารจัดการ
หลักการพื้นฐานของการจัดการมีส่วนร่วมของประชาชน ประกอบด้วย 4 S Starting Early : เริ่มต้นตั้งแต่ระยะแรก Stakeholders : ผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย Sincerity : จริงใจ เปิดเผย ซื่อสัตย์ ปราศจากอคติ Suitability : วิธีการที่เหมาะสม

17 1 2 การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน
กรณี EIA ในระหว่าง เริ่มต้น โครงการ โดยรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอ โครงการและขอบเขตการศึกษา 1 โดยรับฟังความคิดเห็น การทำ ประชาพิจารณ์ หรือใช้เทคนิค การมีส่วนร่วมอื่นๆ ที่เหมาะสม ในระหว่าง เตรียมจัดทำ รายงาน 2 ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ

18 การดำเนินการการมีส่วนร่วมของประชาชน
กรณี IEE ให้ข้อมูล กำหนดมาตรการ เมื่อเห็นชอบแล้ว กำหนดมาตรการ ป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมเปิดเผยข้อมูล ให้ประชาชนทราบ เจ้าของโครงการต้อง ให้ข้อมูลกับประชาชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลข่าวสารกับประชาชนและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ภายหลังจากโครงการอนุมัติแล้ว เจ้าของโครงการต้องให้ข้อมูลและรับฟังความเห็นตลอดการก่อสร้างโครงการ

19 กรณี EHIA ภายใน 15 วัน 15 วัน สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น
1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) ภาคผนวก ค 1 เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Scoping รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา) สำรวจและรับฟังความเห็น เช่น สัมภาษณ์รายบุคคล แสดงความเห็นทางโทรศัพท์ สนทนากลุ่มย่อย การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสร็จสิ้น ภายใน 15 วัน สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็น 15 วัน แสดงรายงานไว้ตามจุดที่กำหนด ภาคผนวก ค 2 ภาคผนวก ค 3 1 เดือน แจ้ง สผ. สช. สาธารณชน ทราบ (แจ้งสาธารณชนทราบ ผ่านช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง) เปิดเผยเอกสารโครงการ 15 วัน จัดเวที Public Review รับฟังความเห็นต่อเนื่อง ผ่าน 2 ช่องทาง สรุปความคิดเห็น และนำเสนอขอบเขต และแนวทาง EHIA ส่ง สผ. สช (ไม่กำหนดเวลา)

20 การดำเนินงานในระยะต่อไป
6 การดำเนินงานในระยะต่อไป

21 การดำเนินงานระยะต่อไป
พัฒนาและปรับปรุงแนวทางการ มีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

22 Thank You! ต่อ 6832, 6834

Initial Environmental Examination คืออะไร

IEE รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Examination) EIA รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment) EHIA รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมส าหรับโครงการ กิจการหรือการด าเนินการที่อาจมี ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชน ใน ...

การจัดทํารายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วยอะไรบ้าง

กำหนดขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หน่วยงานของรัฐและผู้ดำเนินโครงการ การจัดทำรายงาน ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน.
3.1 ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ... .
3.2 ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ ... .
3.3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ... .
3.4 คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต.

การประเมิน EHIA คืออะไร และสำคัญอย่างไร

Environmental and Health Impact Assessment: EHIA คือ “รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับ โครงการ กิจการหรือการดำเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง” อันเป็น ส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

การทํา EIA ต้องคํานึงถึง 4 อย่างอะไรบ้าง

การจัดทำ EIA ประกอบด้วย การศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน คือ.
ทรัพยากรกายภาพ เป็นการศึกษาถึงผลกระทบ เช่น ดิน น้ำ อากาศ เสียง ว่าจะมี การเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง.
ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่มีต่อระบบนิเวศน์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้ำ ปะการัง เป็นต้น.