คุณภาพตามความคิดสมัยใหม่ modery หมายถึง

การพฒั นาองคก์ ารตามหลกั การบริหารงานคุณภาพ

1. ความหมายของคุณภาพ
ในการให้ความหมายคาวา่ คณุ ภาพ (Quality) มผี ูน้ ิยามความหมายไวด้ งั น้ี
คุณภาพตามความคดิ ด้งั เดิม (Classical) คอื ผลติ สินคา้ ให้ไดม้ าตรฐานที่

กาหนดไว้ แผนภาพท่ี 6.1

แผนภาพท่ี 6.1 คุณภาพตามความคิดด้งั เดิม
คณุ ภาพตามความคิดสมยั ใหม่ (Modery) หมายถึง ผลิตสินคา้ สอดคลอ้ งกบั
ความพึงพอใจ (Satisfaction) ของผใู้ ชห้ รือลกู คา้ แผนภาพ ท่ี 6.2

แผนภาพท่ี 6.2 คุณภาพตามความคิดสมยั ใหม่

คณุ ภาพในความหมายของผบู้ ริโภค "คุณภาพ" หมายถงึ คณุ สมบตั ิทุกประการ

ของผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการท่ีตอบสนองความตอ้ งการและ สามารถสร้างความพงึ

พอใจให้แกล่ กู คา้ มีความปลอดภยั ตอ่ ชีวิตและสภาพแวดลอ้ ม

คณุ ภาพในความหมายของผผู้ ลิต คณุ ภาพ หมายถึง ขอ้ กาหนด

(Specification) ของสินคา้ ที่ผูผ้ ลิตกาหนดข้นึ และตอ้ งเหนือกวา่

คู่ แข่งขนั

ในอนุกรมมาตรฐาน มอก.9000 คณุ ภาพ หมายถึง ความเหมาะสมสอดคลอ้ ง

กบั ความตอ้ งการ มีความปลอดภยั ในการใชง้ านและยงั ให้ ความมงั่ ใจไดว้ ่า

การใหบ้ ริการหรือผลติ ภณั ฑน์ ้นั ไดร้ ับการออกแบบผลิตข้นึ ตรงกบั ความตอ้ งการของ

ลูกคา้

สรุป คุณภาพ หมายถงึ คุณลกั ษณะเฉพาะ (Characteristics) ของสินคา้

หรือบริการท่ีสามาตอบสนองตามความตอ้ งการและสร้างความ พงึ พอใจ

ให้แกล่ กู คา้ ไดแ้ ละไม่เป็นภยั ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มรวมถึงประโยชนต์ ่อสังคม

2. ความหมายของการบริหารงานคณุ ภาพ (Quality Management)

การบริหารงานคุณภาพ หมายถึง กระบวนการเพือ่ ให้บรรลุจดุ มุง่ หมายคุณภาพ

ขององคก์ ารประกอบดว้ ยนโยบายและวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิง คณุ ภาพ การจดั การ

โครงสร้างหนา้ ท่ีความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายท่ีเอ้อื อานวยตอ่ การทางาน โดยมีเป้าหมาย

ให้เกิดคณุ ภาพที่ สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของ

ลูกคา้

ในนิยามศพั ท์ ISO 8402 กลา่ วว่า การบริหารงานคณุ ภาพ หมายถงึ ความ

มงุ่ มนั่ และแนวทางดาเนิดการทางดา้ นคุณภาพท้งั หมดของ องคก์ ารที่ได้

แถลงไวอ้ ยา่ งเป็นทางการโดยผบู้ ริหารระดบั สูง

สรุป การบริหารงานคุณภาพ หมายถงึ กระบวนการดาเนินงานดา้ นคณุ ภาพ

ท้งั หมดอยา่ งตอ่ เน่ืองโดยมีเป้าหมายท่ีสนองความ

ตอ้ งการ ของ ลูกคา้

วิวัฒนาการของการบริหารงานคุณภาพ

วิวฒั นาการของการบริหารงานคุณภาพ สามารถแบ่งเป็นช่วงที่สาคญั ได้ 3

ช่วง ดว้ ยกนั คอื

1. ช่วงที่ 1 ช่วงก่อนการปฎิวตั อิ ุตสาหกรรม

ในช่วงน้ีการจดั การคณุ ภาพจะอยใู่ นรูปแบบของการตรวจสอบ

(Inspection) จะเป็นการผลิตสินคา้ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการ

ของ ลูกคา้ ซ่ึงมจี านวนไม่มากนกั จึงมีวธิ ีการในการควบคุณภาพโดยเนน้ ที่การ

ตรวจสอบสินคา้ ก่อนที่จะส่งถึงมอื ลกู คา้ เป็นการ

ควบคมุ คุณภาพ โดยวิธีการแยงของดีออกจากของ

เสีย

2. ช่วงท่ี 2 ช่วงของการปฎิวัติอุตสาหกรรม

อตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ มีการใชเ้ คร่ืองจกั รแทงแรงงานคน การผลิตสินคา้ เป็น

กระบวนการผลติ จานวนมาก (Mass Product) ผลติ ที่ออก จากกระบวนการ

ผลิตในแตล่ ะรอบมีปริมาณมากทาให้ตอ้ งพฒั นาวิธีการควบคุมคุณภาพโดยการนาเอา

เทคนิคทางสถติ ิมาใชใ้ นการสุ่ม ตวั อย่างเพอ่ื ตรวจสอบสินคา้ ท่ีผลติ เสร็จแลว้ โดย

ทาการตรวจสอบสินคา้ ท่ีผลิตไดว้ ่าเป็นไปตามขอ้ กาหนดหรือมาตรฐานที่ใชอ้ า้ งอิง

หรือไม่ ดงั น้นั ในช่วงน้ีจึงเป็นการควบคุณภาพในกระบวนการผลติ มกี าร

ตรวจสอบคณุ ภาพของสินคา้ ท่ีผลติ ไดเ้ ปรียบเทียบกบั เกณฑ์

หรือ มาตรฐาน ที่กาหนด

3. ช่วงท่ี 3 เป็ นช่วงของการแข่งขันที่เข้มข้นขนึ้

ในช่วงน้ีเป็นยคุ ของโลกาภิวฒั นเ์ ปิ กโลกเสรีการคา้ ส่งผลใหเ้ กิดการแข่งขนั
กนั มากในดา้ นธุรกิจการคา้ แนวคดิ สาคญั ของคุณภาพไดพ้ ฒั นาสู่การสร้างความพึงพอใจ
ให้กบั ลกู คา้ ดงั น้นั ในกระบวนการผลติ จึงตอ้ งมกี ารวางแผนและควบคมุ การผลิตในทุก
ข้นั ตอนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ ต้งั แตก่ ารควบคุมปัจจยั นาเขา้
(Input) ที่ส่งถึงมอื ลกู คา้ กระบวนการทกุ อยา่ งม่งึ เนน้ ที่ลูกคา้ เพือ่ สร้างความพึงพอใจ
ให้กบั ลกู คา้ การบริหารคณุ ภาพไดพ้ ฒั นาสู่ระบบประกนั คณุ ภาพเพื่อสร้างความมน่ั ใจ
ใหก้ บั ลกู คา้

หลกั การบริหารงานคุณภาพ
หลกั การบริหารงานคณุ ภาพ (Quality Management

Principle) ในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดคุณภาพในหน่วยงานเพอื่ เป้าหมายการ
บริหารงานคณุ ภาพ คือ การสร้างความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ องคก์ ารควรยดึ หลกั การ
บริหารงานคณุ ภาพ มีหลกั การพ้ื นฐานท่ีสาคญั 8 ประการดงั น้ี คอื เป็นองคก์ ารท่ีมุง่ เนน้
ลกู คา้ เป็นสาคญั (Customer Focus Organization) บริหารดว้ ยความ
เป็นผนู้ า (Leadership) การมสี ่วนร่วมของบคุ ลากร (Involvement of
people) การดาเนินการอยา่ งเป็นกระบวนการ ่่ (Process
Approach) การบริหารงานอย่างเป็นระบบ ่่(System Approach) การ
ปรับปรุงอยา่ งตอ่ เนื่อง (Continual Improvement) การใชข้ อ้ มลู
(Data) ท่ีเป็นจริง และการสร้างความสัมพนั ธ์กบั ตวั แทน (Relationship)

1. องค์กรที่มุ่งเน้นลูกค้า (Customer-Focused
Organization)

องคก์ รตอ้ งกาหนดนโยบายและวตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ รให้เป็นนโยบายและ
วตั ถปุ ระสงคท์ ี่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ความสาเร็จขององคก์ ร คือ
ความสามารถสร้างความพึงพอใจใหก้ บั ลูกคา้ ไดม้ ากท่ีสุด ควรดาเนินการขอ้ น้ี คือ

1. การกาหนดนโยบายและวตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ร ตอ้ งมีขอ้ มูลความ
ตอ้ งการความคาดหวงั และความพงึ พอใจของลูกคา้ อยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน

2. การตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ตอ้ งมีความสมดุลกบั การ
ตอบสนองความคาดหวงั ขององคก์ ร บุคลากร ชุมชน และสงั คม

3. ทาใหบ้ ุคลากรทว่ั ท้งั องคก์ รยอมรับ และดาเนินการตามนโยบายและ

วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ร
4. ประเมินผลการดาเนินงานขององคก์ รตามนโยบายและวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีต้งั

ไว้ คอื ความพึงพอใจของลูกคา้
5. มรี ะบบบริหารสร้างความสัมพนั ธท์ ี่ดีกบั ลูกคา้

2. การบริหารดว้ ยความเป็นผนู้ า (Leadership)

" ผบู้ ริหารขององคก์ รทุกระดบั ตอ้ งใชภ้ าวะผูน้ า จดั การบริหารให้องคก์ รดาเนินงาน
ไปตามเป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ ององคก์ รอย่างเป็นเอกภาพ โดยสร้างบรรยากาศการ
ทางานท่ีจงู จาบุคลากรให้ร่วมสร้างผลงานเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ " การ
จดั ระบบบริหารงานคณุ ภาพตอ้ งการผูบ้ ริหารงานท่ีมีภาวะผูน้ า ซ่ึงประกอบดว้ ย
บคุ ลกิ ภาพ ความมงั่ คงทางอารมณ์ ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา วิสัยทศั น์ในการ
บริหาร และที่สาคญั อยา่ งยิ่ง คอื ทศั นคติหรือแนวคิดในการบริหารงานควรเป็นแบบ
ประชาธิปไตยที่ยอมรับในความเท่าเทียมกนั ของมนุษยแ์ ละยอมรับฟังความคิดเห็นของ
ผอู้ ่ืน แนวทางปฏิบตั ิของผบู้ ริหารในหลกั การบริหารดว้ ยความเป็นผนู้ า

1. การจดั ระบบการบริหารงานคุณภาพตอ้ งการผนู้ าท่ีมี "ภาวะผนู้ า" ซ่ึง
ประกอบดว้ ย

(1) ผนู้ าที่มบี คุ ลกิ ภาพโดดเดน่

(2) มคี วามรู้ความสามารถรอบดา้ น โดยเฉพาะเรื่องขององคก์ ารเอง

(3) มีความมน่ั คงทางอารมณ์

(4) มีความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา

(5) มวี สิ ยั ทศั น์ในการบริหารท่ีกวา้ งไกล

(6) ทศั นคติในการบริหารควรเป็นแบบประชาธิปไตย

2. แนวทางปฏิบตั ิของผบู้ ริหารในหลกั การบริหารดว้ ยความเป็นผูน้ า ไดแ้ ก่

(1) กาหนดวิสยั ทศั น์และพนั ธกิจขององคก์ ารและหน่วยงานใหส้ อดคลอ้ งกบั
เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ าร คอื "เนน้ ลกู คา้ เป็นสาคญั "

(2) สร้างแรงจงู ใจ กระตนุ้ ให้บุคลากรมีส่วนร่วมบริหารงานในหน่วยงาน

(3) มคี วามตื่นตวั ในการดาเนินการใหเ้ ป็นแบบอยา่ งแก่บุคลากรในองคก์ ร

(4) สร้างความเชื่อมน่ั ใหแ้ กบ่ ุคลากร

(5) ต้งั เป้าหมายที่ทา้ ทายความสามารถของบคุ ลากรและพร้อมให้ความสนบั นนุน
ปัจจยั เพอ่ื การพฒั นาองคก์ ร

(6) ฝึกอบรมและพฒั นาทกั ษะของบคุ ลากรพร้อมใหโ้ อกาสทางการศึกษา

(7) จดั ให้มรี ะบบการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพในการสร้างความเขา้ ใจทว่ั ท้งั
องคก์ ร

3. การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of People)
การดาเนินงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตอ้ งอาศยั ความร่วมมือของบุคลากรในองคก์ าร

บุคลากรทกุ คนไมเ่ พียงแตท่ าหนา้ ท่ีของตนให้ดีท่ีสุดเท่าน้นั จะตอ้ งให้ความร่วมมอื ร่วมใจ
กบั เพ่อื นร่วมงานในการสร้างผลงานให้สาเร็จตามเป้าหมายขององคก์ าร ความสาเร็จตาม
เป้าหมายขององคก์ ารข้นึ อยกู่ บั ผลงานของทกุ คน ทกุ ฝ่าย ไมไ่ ดข้ ้ึนอยกู่ บั ผลงานของคน
ใดหรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง "ความร่วมมือของบคุ ลากร คอื ความสาเร็จขององคก์ าร"

แผนภาพที่ 6.4 ความสมั พนั ธข์ องหน่วยงานฝ่ายตา่ งๆ ในองคก์ าร
จากแผนภาพขา้ งตน้ แสดงความสัมพนั ธข์ องหน่วยงานฝ่ายต่างๆ ในองคก์ าร ที่
จะตอ้ งทางานร่วมกนั ในการผลิต ผลิตภณั ฑค์ ุณภาพ ท่ีสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกคา้
ผลติ ภณั ฑท์ ่ีลูกคา้ พอใจไม่ใช่ผลงานของฝ่ายออกแบบหรือฝ่ายผลิตเทา่ น้นั แตเ่ ป็นผลงาน
ท่ีเกิดจากการร่วมกนั ของทุกฝ่ายในองคก์ าร
4. การดาเนินการอยา่ งเป็นกระบวนการ (Process Approach)
การดาเนินการอยา่ งเป็นกระบวนการ คอื การนาเอาทพั ยากรหรือปัจจยั การผลติ
ป้อนเขา้ สู่ระบบการทางานต่างๆ เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลงานตามเป้าหมาย เป็นหลกั การท่ีเนน้ การ
บริหารท้งั กระบวนการ ไม่ไดเ้ นน้ ท่ีเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงเป็นสาคญั

แผนภาพท่ี 6.5 กระบวนการดาเนินงานต่างๆ
จากแผนภาพขา้ งตน้ เป็นการแสดงถึงความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบในการ
ดาเนินงานต่างๆ ประกอบดว้ ย ปัจจยั นาเขา้ (Input) กระบวนการดาเนินงาน

(Process) ผลงานที่ไดจ้ ากกระบวนการ (Output) ซ่ึงผลงานที่ไดจ้ ะเป็นไปตาม
เป้าหมายหรือไม่ ไม่ไดข้ ้ึนอยกู่ บั ปัจจยั นาเขา้ และกระบวนการดาเนินงาน นน่ั คอื ถา้ ปัจจยั
นาเขา้ ดี กระบวนการดาเนินการดี ผลงานท่ีไดย้ ่อมดีดว้ ย ดงั น้นั การบริหารงานคุณภาพ
ตอ้ งให้ความสาคญั ท้งั องคป์ ระกอบของปัจจยั นาเขา้ และองคป์ ระกอบของกระบวนการ
เพราะท้งั 2 องคป์ ระกอบมผี ลต่อคุณภาพของงาน

แนวทางการบริหารตามหลกั การดาเนินงานอยา่ งเป็นกระบวนการ ไดแ้ ก่
1. มกี ารกาหนดและวางแผนการดาเนินงานทุกข้นั ตอน ให้ทางานทกุ

หน่วยงานยอ่ ยในองคก์ ารมคี วามตอ่ เนื่องและราบร่ืน สิ่งสาคญั คือ ระบบการเชื่อมโยง
จากหน่วยงานหน่ึงไปสู่อีกหน่วยงานหน่ึงตอ้ งไม่เกิดผลเสียต่อเป้าหมายการสนองความ
ตอ้ งการของลูกคา้

2. ให้ความสาคญั กบั ปัจจยั ที่ป้อนเขา้ สู่ระบบการทางานของทุกหน่วยงาน
ต้งั แต่ปัจจยั เร่ิมตน้ ไปถึงผลงานที่จะใชป้ ัจจยั เขา้ สู่ระบบการทางานข้นั ต่อไป

3. ใหค้ วามสาคญั กบั วิธีการทางานทกุ หน่วยงาน การทางานในแต่ละข้นั ตอน
ยอ่ มส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพของผลิตภณั ฑแ์ ละบริการ งานท่ีทาควรเป็นงานท่ีกอ่ ให้เกิด
มูลคา้ เพมิ่ ให้กบั หน่วยงาน

4. ประเมนิ ผลการทางานของทุกหน่วยงานที่อาจจะมปี ัญหาจากปัจจยั นาเขา้
5. เมอ่ื เกิดปัญหาตอ้ งพิจารณากระบวนการต้งั แตจ่ ุดเร่ิมตน้ ในการนาปัจจยั
การผลิตเขา้ สู่กระบวนการ มาในทุกข้นั ตอนของการดาเนินงาน
5. การบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ (System Approach to
Management)
การบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ หมายถงึ การใหค้ วามสาคญั กบั การสัมพนั ธ์
เก่ียวขอ้ งกนั ของหน่วยงานตา่ งๆ ขององคก์ ารและเช่ือมโยงการทางานของแต่ละ
หน่วยงานให้มีแนวทางสอดคลอ้ งกนั และเป้าหมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

แนวทางการบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ
1. กาหนดเป้าหมายและวิธีการดาเนินงานให้ชดั เจนโดยมีเป้าหมายสาคญั
ร่วมกนั คือความพึงพอใจของรับบริการ
2. วางโครงสร้างการบริหารงานอยา่ งชดั เจน
3. สร้างความเขา้ ในในความสัมพนั ธ์ของหน่วยงานในองคก์ ารที่จะมผี ลกระทบ
ต่อคุณภาพของงาน
6. การปรับปรุงงานอยา่ งต่อเน่ือง (Continual Improvement)
ในสภาวะปัจจุบนั การแข่งขนั ทางธุรกิจมคี วามรุนแรงมากข้นึ องคก์ ารตอ้ ง
ปรับปรุงสมรรถนะโดยรวมขององคก์ ารอยา่ งต่อเน่ือง เพอ่ื ความสามารถในการ
ตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ซ่ึงจะช่วยเสริมสร้างให้องคก์ ารมีความสามารถเชิง
อช่งขนั ดงั น้นั องคก์ ารควรกาหนดเรื่องของการปรับปรุงเป้าหมายถาวรขององคก์ าร
แนวทางการปรับปรุงอยา่ งตอ่ เนื่อง
1. กาหนดนโยบายองคก์ รใหม้ กี ารปรับปรุงงานอยา่ งตอ่ เนื่อง
2. กาหนดแผนการประเมินผลงานและเกณฑก์ ารประเมนิ ท่ีชดั เจน
3. การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง ท้งั ดา้ นผลิตภณั ฑ์ ปัจจยั ป้อนเขา้ และกระบวนการ
ดาเนินงานให้มีความสอดคลอ้ งสมั พนั ธ์กนั
4. ให้ความรู้เกี่ยวกบั เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการปรับปรุง เช่น วงจรบริหาร PDCA
เคร่ืองมือจดั การคุณภาพ เป็นตน้
7. ขอ้ มลู ที่เป็นจริง (Data)

การตดั สินใจท่ีถกู ตอ้ งและเกิดประสิทธิภาพตอ่ การบริหารงานต้งั อยบู่ น
พ้นื ฐานของขอ้ เท็จจริงที่ไดจ้ ากขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและมีการวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ

ขอ้ มลู ท่ีไดป้ ระกอบการตดั สินใจในการบริหารงานมีขอ้ มูลหลากหลายมาจาก
บคุ ลากรหน่วยงาน ลูกคา้ หรืออนื่ ๆ ดงั น้นั จะใชข้ อ้ มูลใดตอ้ งมน่ั ใจว่าขอ้ มูลน้นั เป็น

ขอ้ เทจ็ จริงท่ีเชื่อถือไดก้ ่อนใชข้ อ้ มลู ตอ้ งมรี ะบบวเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่มีประสิทธิภาพกอ่ น
นามาใชต้ ดั สินใจ

ตวั อยา่ งขอ้ มลู เชิงสถติ ิท่ีองคก์ ารสามารถนามใ่ ชเ้ ป็นขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจ
ไดแ้ ก่

1. สถิติยอดจาหน่ายในปี ที่ผา่ นมา
2. สถติ ิขอร้องเรียนจากลกู คา้
3. สถติ ิการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นการทางาน
4. สถติ ิการผลิตของเสีย
5. สถติ ิการให้บริการลูกคา้ เป็นตน้
8. การสร้างความสมั พนั ธ์ (Relationship)
องคก์ ารและผขู้ าย/ผใู้ ห้บริการ ตอ้ งพึงพาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั การที่องคก์ ารมี
ความสัมพนั ธ์กบั ผูข้ ายเพือ่ ประโยชนร์ ่วมกนั จะช่วยเพมิ่ ความสามารถในการสร้างคณุ ค่า
ร่วมกนั ของท้งั สองฝ่ าย และผขู้ ายทีมคี วามสัมพนั ธ์กบั องคก์ าร หมายถงึ ผูข้ ายที่เป็นผู้
จดั หาวตั ถุดิบให้กบั องคก์ าร และผูข้ ายท่ีเป็นตวั แทนจาหน่ายผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูปใหก้ บั
องคก์ าร

แผนภาพท่ี 6.6 ความสมั พนั ธข์ ององคก์ ารท่ีเก่ียวขอ้ งกนั ในการสร้างความพึงพอใจ
ให้กบั ลกู คา้

จากแผนภาพ ผลสาเร็จของการดาเนินงานขององคก์ ารท้งั 3 องคก์ ารขา้ งตน้ จะ
บรรลุเป้าหมายร่วกนั คอื ความพึงพอใจของลูกคา้ แตอ่ งคก์ ารท้งั 3 องคก์ ารจะตอ้ งสร้าง
สมั พนั ธภาพที่ดีตอ่ กนั บนพ้ืนฐานของผลประโยชนท์ ่ีเสมอภาคกนั

กระบวนการบริหารงานคณุ ภาพ
1. ความหมายของกระบวนการบริหารงานคุณภาพ

กระบวนการบริหารงานคณุ ภาพ คอื กระบวนการดาเนินงานที่เก่ียวขอ้ งกบั
ปัจจยั นาเขา้ (Input) กระบวนการดาเนินงาน (Process) ผลดาเนินงาน
(Output) ซ่ึงปัจจยั นาเขา้ ของกระบวนการบริหารคุณภาพ คือ ความตอ้ งการของ
ลูกคา้ องคก์ ารมหี นา้ ที่นาเอาความตอ้ งการของลกู คา้ เขา้ สู่กระบวนการดาเนินงานแลว้
ดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ เพอ่ื ให้ไดผ้ ลการดาเนินงานที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของ
ลูกคา้ ได้ ผลของกระบวนการบริหารคณุ ภาพ คอื ความพงึ พอใจของลูกคา้

แผนภาพท่ี 6.7 องคป์ ระกอบของกระบวนการบริหารงานคณุ ภาพ

2. องคป์ ระกอบของกระบวนการบริหารงานคุณภาพ
กระบวนการบริหารงานคุณภาพประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลกั 3 องคป์ ระกอบ คอื
1. ปัจจยั นาเขา้ การบริหารงานคุณภาพ คือการดาเนินกิจกรรมในการตอบสนอง

ความตอ้ งการของลูกคา้ สร้างความพึงพอใจให้กบั ลกู คา้ ดงั น้นั ปัจจยั นาเขา้ ของ
กระบวนการบริหารงานคณุ ภาพก็คอื ขอ้ มูลความตอ้ งการของลกู คา้

2. กระบวนการดาเนินงาน (Process) เพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายหลกั ของการ
ดาเนินงานบริหารงานคณุ ภาพขององคก์ ารในกระบวนการดาเนินงานอีกกรวบการหลกั 4
กระบวนการ ที่องคก์ ารจะตอ้ งดาเนินการ ดงั น้ี

(1) ความรับผิดชอบดา้ นการบริหาร (Management
Responsibility) ผบู้ ริหารมีหนา้ ท่ีในการจดั การบริหารงานระบบการบริหารงาน
คุณภาพ

(ก) การกาหนดกลยทุ ธ์การบริหารงานในองคก์ าร
(ข) การกาหนดนโยบายคุณภาพ/วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ
(ค) จดั ระบบการบริหารงานคุณภาพ
(ง) กาหนดหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ
(จ) แตง่ ต้งั ตวั แทนฝ่ายบริหาร
(ฉ) สื่อขอ้ มูลภายในองคก์ าร เพื่อใหบ้ คุ ลากรในองคก์ ารรับรู้ขา่ วสารใน
องคก์ าร
(ช) ทบทวนการบริหารงาน เพ่ือพิจารณาถงึ ความเหมาะสมเพียงพอของ
ระบบเพอ่ื หาทางปรับปรุงขององคก์ ารต่อไป
(2) การบริหารดา้ นทรัพยากร (Resource Management)
การบริหารดา้ นทรัพยากร หมายถงึ ทรัพยากรบุคคลและโครงสร้าง
พ้นื ฐานสาธารณูปโภค องคก์ ารตอ้ งกาหนดและจดั สรรทรัพยากรท่ีจาเป็นข้ึนในระบบ
เช่น
(ก) การกาหนดความสามารถของบุคลากร
(ข) กาหนด จดั หา และบารุงรักษาโครงสร้างพ้นื ฐาน
(ค) กาหนดดแู ลสภาพแวดลอ้ มในการทางานให้เหมาะสมเพ่อื ใหไ้ ด้
ผลิตภณั ฑ/์ การบริการตามที่กาหนด
(3) การผลติ หรือการบริการ องคก์ ารจะตอ้ ง
(ก) กาหนดกระบวนการผลิต/บริการ
(ข) มกี ารดาเนินการและควบคุมกระบวนการ

(4) การวดั วเิ คราะห์ และการปรับปรุง
การวดั วิเคราะห์ และการปรับปรุง เป็นการเฝ้าติดตามและตรวจวดั

กระบวนการและผลิตภณั ฑ/์ บริการ วา่ สามารถดาเนินการไดต้ ามความตอ้ งการของลกู คา้ /
ผรู้ ับบริการไดห้ รือไม่ โดยผา่ นกระบวนการบริหารระบบบริหารงานคุณภาพ ดว้ ยการ
ตรวจประเมนิ ภายใน มีการวิเคราะหข์ อ้ มูลเพื่อแสดงถึงความเหมาะสมและประสิทธิผล
ของระบบ
3. ผลการดาเนินงาน (Output) เป้าหมายของการบริหารงานคุณภาพองคก์ าร คอื
ความพึงพอใจของลูกคา้ ดงั น้นั ผลการดาเนินงานในการบริหารงานคณุ ภาพ คือ องคก์ าร
สามารถสร้างความพงึ พอใจในสินคา้ หรือบริการลูกคา้

ประโยชน์ของการบริหารงานคุณภาพ
หน่วยงานที่นาระบบคุณภาพมาใชจ้ ะช่วยเพ่ิมศกั ยภาพในการแข่งขนั ท้งั ใน
ประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะฝ่ายลูกคา้ กม็ องเห็นประโยชนข์ องระบบว่าสามารถ
ใชเ้ ป็นหลกั ฐานทาใหม้ น่ั ใจว่าตวั สินคา้ ท่ีไดร้ ับมีคณุ ภาพมาตราฐานเกิดความพงึ พอใจ
อยา่ งไรก็ตามองคก์ ารที่ดาเนินการใชร้ ะบบคณุ ภาพอยา่ งมีประสิทธิภาพจะไดร้ ับ
ประโยชน์ ดงั น้ี
1. เป็นเครื่องมอื ที่ใชใ้ นการพฒั นางานช่วยใหส้ ามารถจดั การหรือกาหนดการ
ทางานอย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่องรวมถึงส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบ ติดตาม และ
ปรับปรุงผลการดาเนินงาน
2. ลูกคา้ มคี วามพึงพอใจในตวั สินคา้ อละบริการซ่ึงส่งผลให้มีการใชบ้ ริการ
ต่อเนื่องหรือแนะนาลูกคา้ รายอ่ืนมาใชบ้ ริการเพม่ิ
3. สร้างภาพพจนท์ ่ีดีใหก้ บั องคก์ าร รวมถึงสภาพการยอมรับจากลกู คา้ และสงั คม
4. เพม่ิ ประสิทธิภาพขององคก์ าร เนื่องจากดาเนินงานเหมาะสมและประหยดั
ค่าใชจ้ า่ ย

5. เพิม่ ขวญั กาลงั ใจให้กบั พนกั งาน เนื่องจากองคก์ ารมกี าไร พนกั
งานไดร้ ับผลตอบแทนท่ีมากข้ึน

เทคนิคการบริหารงานคุณภาพ
เทคนิคการบริหารงานที่จะทาใหเ้ กิดคุณภาพ ตอ้ งเป็นวธิ ีการบริหารท่ีตอ้ งไดร้ ับ
ความร่วมมือของ ทกุ คนในหน่วยงาน เพอื่ ใหก้ ารทางานเกิดประสิทธิภาพ เช่น
กิจกรรม 5ส กิจกรรม QCC และกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรับปรุงงาน เป็นตน้
1. กิจกรรม 5ส เป็นแนวทางการปฏิบตั ิงานเพ่ือกอ่ ให้เกิดสภาพการทางานที่ดี ปลอดภยั มี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย อนั จะนาไปสู่การเพมิ่ ประสิทธิในการทางาน

(1) องคป์ ระกอบของกิจกรรม 5ส เป็นเทคนิคการบริหารงานคุณภาพท่ียึด
แบบอยา่ งมาจากประเทศญี่ป่ นุ ซ่ึงคาว่า 5ส มาจากตวั อกั ษรนาหนา้ คาของภาษาญ่ีป่ นุ 5 คา
ท่ีข้นึ คน้ ดว้ ยอกั ษร S ดงั น้ี
- Seiri อ่านวา่ เซริ แปลว่า สะสาง (ส. สะสาง)
- Seiton อา่ นวา่ เซตง แปลวา่ สะดวก (ส. สะดวก)
- Seiso อา่ นว่า เซโซ แปลว่า สะอาด (ส. สะอาด)
- Seiketsu อา่ นวา่ เซเคทซึ แปลว่า (ส. สุขลกั ษณะ)
- Shitsuke อ่านว่า ซึทซึเคะ แปลว่า (ส. สร้างนิสยั )

ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั นี้
(1) ส. สะสาง (Seiri : เซริ) หมายถึง การแยกส่ิงของจาเป็นออกจากสิ่งท่ีไม่
จาเป็น โดยของที่ไมจ่ าเป็นให้หาวธิ ีจากดั ที่เหมาะสมถกู หลกั วิธี เหตผุ ลที่ตอ้ งทาการ
สะสางเพราะการเก็บของท่ีไม่ใชแ้ ลว้

ข้นั ตอนในการจัดทา ส. สาง มีดังนี้
1. สารวจส่ิงของเคร่ืองใช้ อุปกรณ์และเอกสารในสถานที่ทางาน
2. แยกของท่ีตอ้ งการและไม่ตอ้ งการออกกจากกนั

3. ขจดั ของที่ไมต่ อ้ งการทิ้ง
(2) ส. สะดวก (Seiton : เซตง) หมายถงึ การจดั วางส่ิงของต่าง ๆ ในที่ทางาน
ใหเ้ ป็นระเบียบ เพ่อื ความสะดวกและปลอดภยั วิธีการคือ

1. ศึกษาวิธีการเก็บวางส่ิงของโดยคานึงถึงความปลอดภยั คุณภาพ และ
ประสิทธิภาพ

2. กาหนดที่วางให้แน่ชดั โดยคานึงถงึ การใชเ้ น้ือท่ี
3. เขยี นป้ายช่ือแสดงสถานท่ีวาง และเก็บส่ิงของเคร่ืองใช้ อุปกรณ์
(3) ส. สะอาด (Seiso : เซโซ) หมายถงึ การทาความสะอาดเคร่ืองจกั รอุปกรณ์
และสถานที่ทางาน พร้อมท้งั ตรวจสอบขจดั สาเหตขุ องความไม่สะอาดน้นั ๆ วิธีการ
คือ
1. ทาความสะอาดสถานที่ทางาน
2. กาหนดแบง่ เขตพ้ืนท่ี
3. ขจดั สาเหตุอนั เป็นตน้ ตอของขยะ ความสกปรก เลอะเทอะ
4. ตรวจเช็คเครื่องใช้ อุปกรณ์ ดว้ ยการทาความสะอาด
(4) ส. สุขลกั ษณะ (Seiketsu : เซเคทซึ) หมายถงึ การรักษาความสะอาด ดแู ล
สถานท่ีทางานและปฏิบตั ิตนให้ถกู สุขลกั ษณะ วธิ ีการคือ
1. ขจดั มลภาวะซ่ึงก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตของพนกั งาน
เช่น อากาศเป็นพิษ เสียงดงั เกินไป แสงสว่างไม่เพียงพอ ควนั และเขมา่ ฟ้งุ กระจายทว่ั ไป
2. ปรุงแตง่ สถานที่ทางานใหเ้ ป็นระเบียบ สะอาดหมดจดย่งิ ข้ึน มีบรรยากาศร่มรื่น
น่าทางาน เปรียบเสมอื นท่ีพกั ผอ่ น
3. พนกั งานแตง่ กายใหถ้ ูกระเบยี บ สะอาดหมดจด
(5) ส. สร้างนิสยั (Shitsuke : ซึทซึเคะ) หมายถึง การรักษาและปฏบิ ตั ิตาม
หลกั เกณฑ์ 4 ส. จนเป็นนิสยั และมีวนิ ยั ในการทางาน วิธีการคอื ฝึกอบรมพนักงานให้มี

ความรู้ความเขา้ ใจต่อกฎระเบียบ มาตรฐานการทางานต่าง ๆ เพอ่ื ให้สามารถปฏิบตั ิจนเป็น
นิสยั โดยการตอกย้า เรื่องน้ีอยา่ งสม่าเสมอ ตอ่ เน่ืองเป็นประจา

2. ประโยชน์จากการทากิจกรรม 5ส เป็นการจดั กิจกรรม ท่ีทาให้หน่วยงานไดร้ ับ
ประโยชน์หลายประการ ดงั น้ีคือ

1. บคุ ลากรจะทางานไดร้ วดเร็วข้นึ มีความถกู ตอ้ งในการทางานมากข้นึ
บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มดีข้นึ

2. เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ จะเกิดข้ึน บคุ ลากรจะรักหน่วยงานมากข้ึน
3. บคุ ลากรจะมรี ะเบียบวินัยมากข้ึน ตระหนกั ถงึ ผลเสียของความไม่เป็น
ระเบียบในสถานที่ทางาน ต่อการเพิม่ ผลผลิต และถกู กระตุน้ ใหป้ รับปรุงระดบั ความ
สะอาดของสถานที่ทางานใหด้ ีข้นึ
4. บคุ ลากรปฏิบตั ิตามกฏระเบียบ และคมู่ ือการปฏิบตั ิงานทาใหค้ วามผิดพลาด
และความเส่ียงต่างๆ ลดลง
5. บคุ ลากรจะมีจิตสานึกของการปรับปรุง ซ่ึงจะนาไปสู่ประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการทางาน
6. เป็นการยดื อายขุ องเครื่องจกั ร อปุ กรณ์ เครื่องมอื ต่างๆ เมื่อใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั
และดแู ลรักษาที่ดี และการจดั เกบ็ อยา่ งถูกวิธีในที่ที่เหมาะสม
7. การไหลเวยี นของวสั ดุ และ work in process จะราบร่ืนข้นึ
8. พ้ืนท่ีทางานมรี ะเบียบ มที ่ีวา่ ง สะอาดตา สามารถสงั เกตสิ่งผดิ ปกติต่างๆ ได้
ง่าย
9. การใชว้ สั ดคุ ุม้ คา่ ตน้ ทุนต่าลง
10. สถานท่ีทางานสะอาด ปลอดภยั และเห็นปัญหาเร่ืองคณุ ภาพอยา่ งชดั เจน
2. กิจกรรม Quality Circle Control (Q.C.C)

เป็นกิจกรรมกลมุ่ คุณภาพที่มีบุคลากรปฏิบตั ิงานอยใู่ นแผนกเดียวกนั รวมตวั กนั
จานวน 4-10 คน เพอื่ แกไ้ ขปัญหาหรือขอ้ บกพร่องที่เกิดจากการปฏิบตั ิงาน ท้งั น้ีการ
ทางานของกลุ่มจะตอ้ งไมข่ ดั ตอ่ นโยบายของหน่วยงานและจะตอ้ งกระทาอย่างต่อเนื่อง
สามารถนาผลงานที่เสร็จเรียบร้อยแลว้ แสดงได้

1. วตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม Q.C.C มีดงั น้ี
(1) เพื่อประโยชนใ์ นการปรับปรุงและการพฒั นารัฐวิสาหกิจ
(2) เพื่อสร้างสถานที่ทางานให้น่าอยู่ สร้างบรรยากาศในองคก์ ารใหแ้ จม่ ใส
(3) เพ่อื ส่งเสริมใหม้ บี คุ ลากรภายในหน่วยงานไดแ้ สดงความสามารถอยา่ ง

อิสระภายใตข้ อบเขต
2. ข้นั ตอนในการทากิจกรรม Q.C.C มกี ารจดั ต้งั กล่มุ จดทะเบียนกลุม่ และ

จดั ประชุมกลุ่มอยา่ งสม่าเสมอ โดยข้นั ตอนในการดาเนินการภายในการดาเนินการภายใน
กลุ่มแตล่ ะกล่มุ ควรมขี ้นั ตอนในการดาเนินกิจกรรม ดงั น้ี

(1) คน้ หาปัญหา เป็นการระดมสมองคน้ หาปัญหาในการทางาน และตกลง
เลือกปัญหาท่ีจะนามาแกไ้ ข ในการคน้ หาปัญหานิยมใชแ้ ผนผงั กา้ งปลา หรืออาจเรียกว่า
ผงั แสดงเหตุและผล เป็นการแสดงปัญหาและสาเหตขุ องปัญหาท่ีไดจ้ ากการระดมสมอง
โดยกาหนดให้หวั ปลาเป็นปัญหา และกา้ งปลาเป็นสาเหตุของปัญหา ดงั แผนภาพ

แผนภาพท่ี 6.8 ผงั กา้ งปลาหรือผงั แสดงเหตุและผล

(2) กาหนดเป็นหวั ขอ้ เร่ือง ตอ้ งเป็นหวั ขอ้ ท่ีสมาชิกทกุ คนยอมรับและเต็ม
ใจ และเป็นเร่ืองท่ีสามารถดาเนินการตามข้นั ตอนต่างๆ ไดท้ ้งั หมดภายหน่วยงาน

(3) กาหนดเป้าหมายที่ชดั เจนเป็นตวั เลขที่สามารถวดั ผลและประเมนิ ผล
ได้ เช่น จากตวั อยา่ งผลของปัญหาในขอ้ 1 ที่ประฃมุ เลือกสาเหตุท่ีสาคญั มาจากการขาด
เรียน

(4) สารวจสภาพปัจจุบนั สมาชิกท้งั หมดจะตอ้ งร่วมกนั สารวจสภาพ
ปัจจบุ นั ให้ละเอยี ดทกุ แง่มุมและบนั ทึกขอ้ มูลท้งั หมดเพื่อไปใชใ้ นการวเิ คราะห์ปัญหาท่ี
เกิดข้นึ

(5) แกไ้ ขตามข้นั ตอน PDCA ในการดาเนินงานมกี ารวางแผน การ
ปฏิบตั ิตามแผน มีการตรวจสอบ และปรับปรุงแกไ้ ข ซ่ึงการดาเนินกิจกรรมตามวงจร
ดงั กล่าว

(6) กาหนดเป็นมาตรฐาน เมอื่ สามารถแกไ้ ขสาเร็จแลว้ จะตอ้ งกาหนด
เป็นมาตรฐานของการทางานของกลุ่มอยา่ งแน่ชดั

3. ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากกิจกรรมกล่มุ Q.C.C
(1) ประโยชนต์ อ่ บริษทั มีการนากิจกรรมกล่มุ Q.C.C มาใช้

บริหารงานทาให้บริษทั ไดร้ ับประโยชน์ ดงั น้ี
(1) ลดค่าใชจ้ ่ายในการผลติ สินคา้
(2) ควบคุมคุณภาพในการทางาน
(3) เพ่มิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการผลิต

(2) ประโยชนต์ อ่ พนกั งาน มกี ารใชก้ ิจกรรมกลุม่ Q.C.C ที่ทาให้
พนกั งานไดร้ ับประโยชน์ ดงั น้ี

(1) พนกั งานมโี อกาสแสดงความคิดเห็นในการทางาน
(2) พนกั งานรู้จกั การทางานเป็นกลุม่

(3) พนกั งานเกิดความรักและสามคั คี
(4) พนกั งานไดร้ ับความรู้และความสามารถเพ่มิ ข้นึ
(3) ประโยชนต์ ่อประเทศ
(1) สร้างนิสยั ที่ดี
(2) สร้างความน่าเชื่อถอื ของสินคา้
(3) ทาให้การคา้ กบั ตา่ งประเทศขยายตวั
(4) สร้างระบบการทางานบนพ้นื ฐานการพฒั นาความคิดของคนใน

ประเทศ

3. กิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพอื่ ปรับปรุงงาน (Suggestion)
กิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพอื่ ปรับปรุงงาน เป็นกิจกรรมที่ใหโ้ อกาสพนกั งานทกุ คนมี

ส่วนร่วมในการบริหารเพือ่ เสนอความคิดเห็นตอ่ ฝ่ายบริหาร
1. วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรับปรุงงานมีดงั น้ี
(1) เพื่อใหพ้ นกั งานมสี ่วนร่วมในการปรับปรุงการทางาน
(2) เพื่อให้พนกั งานมคี วามพึงพอใจในการทางานมากข้นึ
(3) เพื่อกระตนุ้ จูงใจให้พนกั งานผูกพนั ในองคก์ ารและรักในองคก์ ารมาก

ข้ึน
(4) เพอ่ื ส่งเสริมใหพ้ นกั งานมีจิตสานึกและมคี วามคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์

2. หลกั การของกิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรับปรุงงานมดี งั น้ี
(1) หลกั ทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ในการตดั สินใจเก่ียวกบั

ขอ้ เสนอแนะน้นั จะตอ้ งมขี อ้ มลู ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ มายนื ยนั เพอ่ื การตดั สินใจ
(2) หลกั การประชาธิปไตย เป็นการรับฟังความคดิ เห็นของผูอ้ ื่นและ

ตดั สินใจดว้ ยเหตุผล

(3) หลกั บริหารจากล่างสู่บน เป็นหลกั การในการบริหารในการเสนอแนะ
ปรับปรุงจากระบดงั ล่างสู่ระดบั บน

(4) หลกั ผลประโยชนร์ ่วมกนั เมือ่ มีการปรับปรุงงานทาให้เกิดคณุ ภาพใน
สินคา้ และบริการ ส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ชุมชน

(5) หลกั การสร้างขวญั และกาลงั ใจใหพ้ นกั งานมสี ่วนร่วมสร้างคุณภาพ
ให้กบั องคก์ าร

แผนภาพที่ 6.9 หลกั การของกิจกรรม Suggestion

3. การดาเนินกิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรับปรุงงานมดี งั น้ี
(1) อบรมพนกั งานใหเ้ ขา้ ใจเป้าหมายและร่วมกนั กนั วางแผนการดาเนิน

กิจกรรม
(2) ผบู้ ริหารประกาศนโยบายที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้ชดั เจน

(3) ใหข้ องขวญั หรือประกาศเกียรติคณุ แกข่ อ้ เสนอแนะของพนกั งานที่
ผบู้ ริหารยอมรับและนาไปใชจ้ ริง

(4) ติดตามประเมินผลกิจกรรม Suggestion
4. การพฒั นาองคก์ าร (Organization Development)

1. ความหมายของการพฒั นาองคก์ าร
การพฒั นาองคก์ าร สามารถแปลไดห้ ลายความหมาย เช่น ความพยายาม

เปลี่ยนแปลง องคก์ ารอยา่ งมีแบบแผน มกี ารวเิ คราะหป์ ัญหา/วาง แผนยทุ ธศาสตร์และใช้
ทรัพยากรเพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมาย หรือการพฒั นาระบบโดยมสี ่วนร่วมท้งั องคก์ าร เริ่มจาก
ผบู้ ริหารระดบั สูงลงสู่ระดบั ลา่ งขององคก์ าร โดยมีจุดมุ่งหมายเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพของ
องคก์ าร ดงั แนวคิดของบคุ คลต่อไปน้ี

Wendul L. Irenchและ Ceci H. Bell ได้ ใหค้ วามหมายการ
พฒั นาองคก์ ารไวว้ ่า เป็นเรื่องของการใชค้ วามพยายามในระยะยาวท่ีจะแกไ้ ขปัญหา
ภายในองคก์ ารและการ ฟ้ืนฟอู งคก์ าร โดยจะดาเนินการในส่วนของวฒั นธรรมองคก์ าร
โดยเฉพาะทีมงานบนรากฐานแห่งความร่วมมือ แต่ท้งั น้ีตอ้ งอาศยั ความร่วมมือจากท่ี
ปรึกษาและใชท้ ฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ รวมท้งั การวจิ ยั และ การปฏิบตั ิเป็นหลกั

Jack K. Fordye และ Reymond Well ได้ ใหค้ วามหมายการ
พฒั นาองคก์ ารไวว้ ่า เป็นวิธีการมุ่งที่จะเอาพลงั ความสามารถของมนุษยไ์ ปใชเ้ พือ่
วตั ถุประสงค์ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงขององคก์ าร

การพฒั นาองคก์ ารจะสาเร็จได้ ถา้ องคก์ ารมีแผนและใชค้ วามรู้ทางพฤติกรรม
ศาสตร์เขา้ มาช่วย เช่น เรื่องการจงู ใจ เร่ืองอานาจ เรื่องการส่ือสาร เร่ืองความเขา้ ใจใน
วฒั นธรรมองคก์ าร การแกป้ ัญหา การกาหนดเป้าหมายความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล กลมุ่
หรือเร่ืองของการขจดั ความขดั แยง้

2. ข้นั ตอนในกระบวนการพฒั นาองคก์ าร (Step in the OD
Process) กระบวนการเฉพาะท่ีจะเปลย่ี นแปลงองคก์ ารก็คอื การพฒั นาองคก์ ารตาม
กระบวนการเปล่ียนแปลงของ Kurk Lewin's โดยอาศยั ทีมที่ปรึกษา ตอ้ งมีการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูล การพิจารณาขอ้ ผิดพลาด การป้อนกลบั และการประเมินผลอยา่ งเป็น
ทางการ ซ่ึงข้นั ตอนในกระบวนการพฒั นาองคก์ ารสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 7 ข้นั ตอน
ดงั น้ี

ข้นั ตอนที่ 1 การกาหนดปัญหา(Problem recognition) เป็นการ
เร่ิมตน้ พฒั นาองคก์ าร โดยท่ีผบู้ ริหารระดบั สูงจะตอ้ งกาหนดปัญหาตา่ งๆ ภายในองคก์ าร
และสิ่งท่ีตอ้ งการแกไ้ ขปัญหา ถา้ หากผบู้ ริหารระดบั สูงมีความตอ้ งการที่จะแกไ้ ขกถ็ ือว่า
เป็นผูน้ าการเปลย่ี นแปลงในระบบการพฒั นาองคก์ ารและเป็นจดุ เริ่มตน้ ที่สาคญั สูงสุด

ข้นั ตอนท่ี 2 การส่งตอ่ ให้กบั ทีมที่ปรึกษา(Entry of change
agent) ทีม ที่ปรึกษาจะนาปัญหามาวิเคราะห์พร้อมหาทางแกไ้ ขและเปลยี่ นแปลง
บคุ คลภายในองคก์ ารและภายนอกองค์การมีส่วนร่วมในการเขา้ มาช่วยแกไ้ ขปัญหาของ
องคก์ าร

ข้นั ตอนที่ 3 การรวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะหป์ ัญหา(Data
collection and problemdiagnosis)การ ทางานของสมาชิกภายใน
องคก์ าร ทีมท่ีปรึกษาจะมีการตรวจสอบเอกสารภายในองคก์ าร และใชใ้ นการสมั ภาษณ์
ทาแบบสอบถาม และสังเกตขอ้ มลู เก่ียวกบั องคก์ ารและปัญหาท่ีเกิดข้ึน ตอ่ จากน้นั ทีมที่
ปรึกษากจ็ ะเลือกผจู้ ดั การให้ช่วยในการตรวจสอบขอ้ มลู และ วเิ คราะหป์ ัญหาเบ้ืองตน้ ว่า
เกิดจากสาเหตุอะไร ลกั ษณะของปัญหาและการขยายตวั ของปัญหา ส่วนทีมที่ปรึกษา
อาจจะมีการสอบถามผูจ้ ดั การบางท่านให้จดั เตรียมขอ้ มูล ป้อนกลบั ของการวเิ คราะห์
ปัญหาเบ้ืองตน้

ข้นั ตอนท่ี 4 การปรับแผนสาหรับเปลยี่ นแปลง (Development of
plan for change)ทีมที่ปรึกษาจะทางานร่วมกบั ผจู้ ดั การหลกั เพือ่ กาหนด
เป้าหมายในการเปล่ยี นแผนโดยการสร้างและประเมนิ ทางเลอื กในการทากิจกรรมตา่ งๆ
และตดั สินใจเลือกทางที่เหมาะสมท่ีสุด ในระหว่างน้นั จะมกี ารปรับแผนให้เหมาะสมกบั
องคก์ าร

ข้นั ตอนที่ 5 การดาเนินการเปลีย่ นแปลงในเบ้ืองตน้ (Change
implementation) คดั เลือกวิธีท่ีเหมาะสมและนาไปปฏิบตั ิ ข้นั ตอนน้ีจะไดร้ ับ
การตอบสนองตามข้นั ตอนการเปล่ียนแปลง สามารถที่จะเปลย่ี นแปลงโครงสร้าง บุคคล
วฒั นธรรม และสภาวะการทางานอื่นๆ

ข้นั ตอนที่ 6 การทาให้มนั่ คงและจดั ทาให้มีข้นึ (Stabilization and
institutionalization) หมาย ถงึ การปฏิบตั ิอยา่ งต่อเนื่องและจริงจงั โดย
ผบู้ ริหารระดบั สูงจะตอ้ งใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบตั ิงานอยา่ งสม่าเสมอ และพิจารณาผล
การเปล่ยี นแปลงภายหลงั จากท่ีไดน้ าวิธีใหมม่ าใชพ้ ฒั นาองคก์ ารโดย พิจารณากิจกรรมแต่
ละวนั

ข้นั ตอนท่ี 7 การป้อนกลบั และการประเมินผล (Feedback and
evaluation) หลงั จากการเปล่ียนแปลงท่ีไดป้ ฏิบตั ิมาเป็นเวลานาน ทีมท่ีปรึกษา
จะตอ้ งมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลใหม่ เพ่อื เปรียบเทียบกบั ขอ้ มลู เก่า และวิเคราะห์
ขอ้ ผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึน จากน้นั ก็จะมกี ารประเมนิ ผล ข้นั ตอนน้ีสามารถที่จะ
ปรับปรุงข้นั ตอนในกระบวนการเปล่ียนแปลงต่างๆ ได้ หากผลการวเิ คราะห์ออกมาวา่
ข้นั ตอนใดยงั ไม่เหมาะสมกใ็ ห้แกไ้ ขใหม่ ถงึ แมว้ ่าสภาพแวดลอ้ มบางอยา่ งเราจะควบคุม
ไม่ได้ แต่องคก์ ารกส็ ามารถที่จะเอาชนะได้ เป็น ผลมาจากการทดลองปฏิบตั ิ ผบู้ ริหาร
ระดบั สูงควรจะตระหนกั ว่า การที่องค์การมนั่ คงและการทางานมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ
เกิดจากการเปล่ยี นแปลง และพฒั นาองคก์ าร

3. เทคนิคในการพฒั นาองคก์ าร (OD Techniques) ภายหลงั จากการ
วิเคราะหป์ ัญหาขององคก์ ารและมีการต้งั เป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงแลว้ ทีมท่ีปรึกษา
สามารถที่จะใชเ้ ทคนิคอบา่ งใดอย่างหน่ึง หรือหลายวิธีในการนามาปฏิบตั ิ เทคนิคในการ
พฒั นาองคก์ ารมีดงั น้ี

1. การสารวจการป้อนกลบั (Survey Feedback) เทคนิคน้ีทีมท่ี
ปรึกษาจะให้สมาชิกในองคก์ ารตอบแบบสอบถาม โดยจะสอบถามเกี่ยวกบั ทศั นคติ ความ
ชานาญงาน เคร่ืองมือในการปฏิบตั ิ คา่ นิยม วฒั นธรรมขององคก์ าร และสิ่งต่างๆ หลกั
จากน้นั กจ็ ะนาขอ้ มูลมาวิเคราะห์เพื่อหาขอ้ บกพร่อง พร้อมวิธีการแกไ้ ขปัญหา

2. การอบรม (Training) ทีมที่ปรึกษาอาจใชว้ ธิ ีการอบรมในลกั ษณะ
ส่วนตวั กลมุ่ เลก็ หรือกลมุ่ ใหญ่ เพ่ือช่วยพนกั งานและผจู้ ดั การปรับปรุงเทคนิคในการ
ปฏิบตั ิงาน การตดั สินใจ การวางแผนหรือความชานาญระหว่างบุคคล

3. การสอนงาน (Coaching) และการใหค้ าแนะนา
(Counseling) ในระดบั ส่วนตวั ควรจะมกี ารสอนงานและให้คาแนะนาจาก
สมาชิกภายในองคก์ าร เพือ่ ปรับตวั ให้เขา้ กบั การเปลี่ยนแปลงเมื่อผรู้ ่วมงานไม่ทราบว่าผล
ของการปฏิบติงานของจนมคี วามสมั พนั ธ์กบั ผลการปฏิบติงานขององคก์ าร วิธีการสอน
งานและการให้คาแนะนาจะช่วยใหพ้ นกั งานไดท้ ราบถึงบทบาทในการการพฒั นาองคก์ าร
ใหม่ ซ่ึงจะทาใหม้ พี ฤติกรรมและผลการปฏิบตั ิงานท่ีดีข้นึ

4. การสร้างทีมงาน (Team Building) หรือการสร้างกลมุ่ ในการพฒั นา วธิ ี
จะเนน้ ที่ความสมั พนั ธใ์ นการทางานร่วมกนั เป็นกลุ่ม ความชานาญในการตดั สินใจหรือ
การทากิจกรรม ซ่ึงจะช่วยในการปรับปรุงวธิ ีการติดตอ่ ส่ือสาร การทางานร่วมกนั และ
การเพ่มิ ประสิทธิภาพ

5. การทาใหบ้ ุคคลท่ีสามเขา้ มาแทรกแซง (Third-Party) เมอื่ เกดิ ความ
ขดั แยง้ ระหว่างบุคคลหรือกลุม่ ข้ึน จะทาใหเ้ กิดอุปสรรคต่อการทางาน ทีมท่ีปรึกษา

จะตอ้ งสังเกต ถงึ การกระทาและคุณภาพระหวา่ งสมาชิกในองคก์ ร และจดั เตรียมขอ้ มลู
ป้อนกลบั เก่ียวกบั ประสิทธิภาะของกระบวนการ
5. องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ (Learning Organizations)

1. ความหมายองคก์ ารแห่งการเรียนรู้
องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ หมายถึง เป็นแนวคดิ ในการพฒั นาองคก์ ารโดยเนน้ การ

พฒั นาการเรียนรู้สภาวะของการเป็นผูน้ าในองคก์ าร (Leadership) และการเรียนรู้
ร่วมกนั ของคนในองคก์ าร (Team Learning) เพื่อใหเ้ กิดการถา่ ยทอด
แลกเปลี่ยนองคค์ วามรู้ ประสบการณ์ และทกั ษะร่วมกนั และพฒั นาองคก์ ารอยา่ งต่อเนื่อง
ทนั ตอ่ สภาวะการเปลีย่ นแปลงและการแข่งขนั

ผบู้ ริการในปัจจบุ นั น้ีกาลงั เผชิญกบั สภาพแวดลอ้ มท่ีเปลี่ยนแปลงในอตั ราที่รวดเร็ว
มากนวตั กรรมที่ตอ่ เรื่องในเรื่องของสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ที่เช่ือมโยงกบั
โลการภวิ ฒั น์ของตลาด ซ่ึงทาให้เกิดความสบั สนวุน่ วาย ผลที่เกิดข้ึนคอื หลกั การและแนว
ทางการบริหารในอดีตไมส่ ามารถนามาใชไ้ ด้

2. ที่มาของแนวคดิ องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ (Learn Organizations)
แนวความคิดขององคก์ ารแห่งการเรียนรู้ ไดม้ กี ารกล่าวถึงไวใ้ นวรรณกรรม

ต่างๆ ซ่ึงยอ้ นหลงั ไปเม่ือประมาณ ค.ศ. 1978 คริส อาร์จีริส (Chris Argyris)
ศาสตราจารยด์ า้ นจิตวทิ ยาการศกึ ษาและพฤติกรรมองคก์ ารของมหาวิทยาลยั ฮาร์ดวาร์ด
ร่วมกบั ศาสตราจารยด์ า้ นปรัชญา คอื โดนลั ชุน (Donald Schon)แห่งสถาบนั
เทคโนโลยีของแมซชาซูเสส (Massachusetts Institute of
Technology: MIT) สร้างผลงานการเขยี นท่ีเสนอแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกบั
องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ไว้ แต่เน่ืองจากผลงานเหลา่ น้นั มีลกั ษะเชิงวชิ าการช้นั สูงยากตอ่
การศกึ ษาและเขา้ ใจ จึงทาใหไ้ ม่ใคร่ไดร้ ับความนิยมเทา่ ท่ีควร (Argyris and
Schon, 1978) อยา่ งไรก็ตาม ในช่วง ค.ศ. 1980 เรื่อยมาแนวคดิ ดงั กล่าวเร่ิม

กลบั มาไดร้ ับความสนใจและตระหนกั ถึงความสาคญั ในศกั ยภาพ แต่ยงั คงไดร้ ับความ
นิยมในวงแคบ เช่น กรณีของบริษทั เชลล์ ที่เร่ิมนาเอาองคก์ ารแห่งการเรียนรู้มาเช่ือมโยง
เขา้ เป็นแผนกลยทุ ธข์ องบริษทั (Marquardt, 1996) และในทศวรรษต่อมาคือ
ช่วงต้งั แต่ ค.ศ.1990 จนถึงปัจจบุ นั มอี งคก์ ารที่ไดน้ าเอาแนวคดิ เร่ืององคก์ ารแห่งการ
เรียนรู้มาปฏิบตั ิในตา่ งประเทศและไดร้ ับความสาเร็จในการเป็นบริษทั ระดบั โลก ไดแ้ ก่
บริษทั โมโตโรล่า วอลลม์ าร์ท บริติชปิ โตรเลียม ซีรอกซ์ เจอเนอรัลอิเลก็ ทริกซ์ ฟอร์ดมอ
เตอร์ ฮาเลยเ์ ดวิดสัน โกดกั ฮิวเลต็ แพคการ์ด ไอบีเอม็ ฮอนดา โซนี่ และสามเอม็ เป็นตน้

3. แนวคดิ ของความสามารถในการเรียนรู้
เป็นปัจจยั สาคญั ที่ทาให้องค์การประสบความสาเร็จ ส่ิงท่ีช่วยสนบั สนุน

ความสามารถในการเรียนรู้ขององคก์ ารที่สาคญั มี 2 ประการ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี
(1) ปัจจยั ท่ีทาให้เกิดความสะดวก (Facilitating Factors) ปัจจยั

ที่ทาใหเ้ กิดความสะดวกเป็นผลมาจากโครงสร้างภายในองคก์ ารและกระบวนการ ซ่ึง
ส่งผลกระทบตอ่ ความยากง่ายสาหรับการเรียนรู้ที่เกิดข้ึน และประสิทธิผลในการเรียนรู้

(2) วิธีการเรียนรู้ (Learning Mode) วิธีการเรียนรู้ไดแ้ สดงให้เห็น
วธี ีการที่หลากหลายซ่ึงองคก์ ารไดพ้ ยายามสร้างสรรคแ์ ละทาให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด
แสดงใหเ้ ห็นวา่ วิธีการเรียนรู้ไดร้ ับอิทธิพลโดยตรงจากวฒั นธรรมองคก์ าร
(Organization s Culture) และประสบการณ์หรือเร่ืองราวในอดีต นกั วิจยั
พฤติกรรมองคก์ ารช่ือ (Danny Mill่าe)

4. วนิ ยั 5 ประการขององคก์ ารแห่งการเรียนรู้
รองศาสตราจารย์ peter Senge แห่ง MlT ไดก้ าหนดคาท่ี

ไดร้ ับความนิยมไปทวั่ โลก คือ คาว่า องคก์ ารแห่งการเรียนรู้(Learning
Organization) ในหนงั สือท่ีขายดีที่สุดเล่มหน่ึง คอื วินยั 5 ประกอบของ
องคก์ ารแห่งเรียนรู้ (The Fifth Discipline) โดย Senge ไดอ้ ธิบายถึง

องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ในฐานะเป็ นกลมุ่ บคุ คลซ่ึงทางานร่วมกนั ในการเพมิ่ พูน
ความสามารถในการสร้างสรรคผ์ ลงานท่ีพวกเขาตอ้ งคอยขดแู ลตอ้ งรับผดิ ชอบ

วนิ ยั ประการที่ 1 การคิดอยา่ งเป็นระบบ (Systems Thinking)
เป็นวนิ ยั องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ที่มคี วามสาคญั มากท่ีสุด โดย ระบบ คอื ส่วนยอ่ ยท่ี
เก่ียวเนื่องกนั ในส่วนใหญ่ จะสะทอ้ นให้เห็นความสัมพนั ธข์ องส่วนยอ่ ยท่ีมผี ลตอ่ ส่วน
ใหญ่ โดยเฉพาะในเร่ืองของความคิดที่เป็นระบบ เน่ืองจากองคก์ าาธุรกิจในปัจจุบนั จะมี
ลกั ษณะการดาเนินงานอยา่ งเป็นระบบท่ีมขี อบเขตการดาเนินงานท่ีตอ้ งชดั เจนการที่จะ
พจิ ารณาขอ้ มูลเพียงส่วนเดี่ยวของระบบอาจทาใหพ้ ิจารณามองไมเ่ ห็นภาพรวม ซ่ึงจะทา
ใหม้ องปัญหาไมอ่ อกหรือแกป้ ัญหาไดไ้ ม่สมบูรณ์ โดยเราจะตอ้ งสามารถมองภาพรวม
ขององคก์ ารว่าเป็นระบบ ๆ หน่ึง จึงจะทาใหอ้ งคก์ ารพฒั นาไปได้

วนิ ยั ประการที่ 2 การรอบรู้แห่งตน (personal Mastery) เป็น
ความสามารถในการเรียนรู้ระดบั สูงของบคุ คลท่ีเกิดข้นึ อยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือเพมิ่ ระดบั ของ
สามารถของคนท่ีสูงสุดในงานท่ีตนรับผดิ ชอบ การฝึกฝนบรรมตนดว้ ยการเรียนรู้เสมอ
เป็นรากฐานท่ีสาคญั จะเป็นการขยายขดี ความสามารถใหเ้ ช่ียวชาญมากข้นึ และเกิดความรู้
เมอื่ เป็นเช่นน้ีก็จะส่งผลต่อองคก์ าร เพราะองคก์ ารจะเรียนรู้ผา่ นกลุม่ บคุ คลทมี่ กี ารเรียนรู้
เทา่ กนั

วินยั ประการที่ 3 การสร้างวสิ ยั ทศั นร์ ่วมกนั (Shares Vision)
หมายถงึ การมวี ินยั ทศั นร์ ่วมกนั ของคนท้งั องคก์ าร องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ตอ้ งเป็น
องคก์ ารท่ีสมาชิกทุกคนไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีวิสัยทศั น์สอดลอ้ งกบั วิสัยทศั นข์ ององคก์ าร
เพอ่ื ท่ีจะเกิดพลงั และแนวคิดไปในทิศทางเดี่ยวกนั นาพาองคก์ ารไปสู่จุดหมายไดใ้ นท่ีสุด

วินยั ประการท่ี 4 แบบจาลองความคดิ (Mental Model) คอื
รูปแบบทางความคดิ ที่เหมาะสม เป็นสิ่งท่ีมีอทิ ธิพลตอ่ ความเขา้ ใจในเร่ืองต่าง ๆ ซ่ึงทาให้
บคุ คลแสดงพฤติกรรมแบบจาลองความคิดเร่ิมตน้ ข้ึนดว้ ยการมองภาพของตนเองกอ่ น คือ

พยายามท่ีจะคน้ หาตวั เองและนามาพจิ ารณารวมท้งั ความสามารถท่ีจะรักษาสภาพการ
เรียนรู้และสร้างสมดลุ ระหว่างส่ิงที่เรากาลงั คน้ หา โดยใช่ความคดิ วิจารญาณที่ถกู ตอ้ ง
สมเหตสุ มผล เพอื่ ประเมนิ ส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และหาวธิ ีการพฒั นาที่เหมาะสม
ตอ่ ไป

วนิ ยั ประการท่ี 5 การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) การเรียนรู้
ถา้ เกิดในคนเดียว จะไม่ทาใหเ้ กิดพลงั อนั จะนาไปสู่การเปล่ยี นแปลงได้ ดงั น้นั ยการเรียนรู้
ที่จะมีประโยชน์ คอื การเรียนรู้เป็นทีม จะเกิดจากการที่สมาชิกในทีมโอกาสเรียนรู้ส่ิงต่าง
ๆ ดว้ ยกนั มกี ารแลกเปล่ียนขอ้ มูลความคิดและประสบการณ์ซ่ึงกนั และกนั อยา่ งต่อเน่ือง
และสม่าเสมอ การเรียนรู้เป็นทีมจะทาให้เกิดการแตกแขนงทางความคดิ

5. วิธีการเรียนรู้หรือกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงไดแ้ ก่
(1) การบรรยายและโปรแกรมการสอน (Lectures and

syllabus-Based programmers) จะประกอบดว้ นวีการใชก้ รณีศกึ ษา
เพอื่ ให้ผูเ้ รียนรู้ไดเ้ รียนรู้เก่ียวกบั ขอ้ มลู ใหม่ ๆ และสามารถปรับใหเ้ หมาะสมกบั
สถานการณท์ ี่เกิดข้นึ

(2) การเรียนรู้โดยการจดั โปรแกรม (programmed
Learning) เป็นการเรียนรู้โดยการฝึกอบรมทางดา้ นฐานขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ โดยการ
ทาการเรียนการสอนในกอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่ึงพ้ืนฐานการเรียนคือการท่องจา มีการบรรยาย
เนื่องหาและมกี ารฝึกปฏิบตั ิอยา่ งเพียงพอ ซ่ึงจะทาให้เกิดความเคยชินในการเรียน

(3) การแสดงพฤติกรรมและการเรียนรู้แบบแสดงบทบาท จะเป็น
การฝึกทกั ษะทางดา้ นการเรียนรู้ลกี ษณะท่ีกกู กาหนดไดล้ า่ งหนา้ ซ่ึงจะทาให้ผูเ้ รียน
ปรับตวั และสามารถตดั แปลงลกั ษณะตามบทบาทที่ไดร้ ับ

(4) แบบจาลองทางธุรกิจ (Business Simulations)
เป็นการเรียนรู้แบบลองผิด ลองถูก (Trial & Error) และผลท่ีป้อนกลบั

(Feedback) ซ่ึงผเู้ รียนจะต่องปฎิบตั ิการโดยการออกแบบสภาพแวดลอ้ มในการ
เรียนใหเ้ หมอื นกบั การปฏิบตั ิงานในธุรกิจน้นั ๆ ซ่ึงจะถอื วา่ เป็นเกมในการเรียนรู้

(5) การเรียนรู้โดยการปฎิบตั ิและโปลแกรมกราพฒั นาภายนอก
องคก์ าร (Action Learning and Outdoor Development
programmers) เป็นการปรับเปล่ยี นการให้ความสนใจในพฤติกรรมของผเู้ รียน
ไปเป็นการรับรู้ในสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดข้นึ ซ่ึงจะเป็นการเรียนรู้เพอ่ื ใหไ้ ดป้ ระสบการณ์ และ
เป็นการกระตุน้ ให้เกิดการระมดั ระวงั ตนเองมากข้ึน

(6) กิจกรรมท่ีไมม่ ีใครสร้างที่สาคญั (Relatively
Unstructured Activities) ซ่ึงจะคลา้ ยกบั กลมุ่ เผชิญหนา้
(Encounter Groups) ละเป็นพ้นื ฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ โดยอาศยั
ประสบการณ์รวมท้ีงเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกบั ตวั บคุ คลท้งั ทางดา้ นความรู้สึก
(Feelings) สิ่งจูงใจ (Motives) และอารมณ์ (Emotions) เชน่ เดียวกนั
การเรียนรู้ทางดา้ นความรู้สึกนึกคดิ และพฤติกรรม (Cognition) และพฤติกรรม
(Behaviors) ซ่ึงหลกั ของการเรียนรู้แบบน้ีจะมคี วามเป็นอสิ ระและตอ้ งอาศยั การ
ปรับตวั ในการเรียนรู้ เพอ่ื ท่ีจะขจดั อุปสรรคที่เกิดข้นึ

สรุปสาระสาคัญ
-คณุ ภาพ หมายถงึ คณุ ลกั ษณะของสินคา้ หรือบริการท่ีสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการและสร้างความพงึ พอใจใหแ้ กล่ กู คา้ ได้
-การบริหารงานคณุ ภาพ หมายถงึ กระบวนการดาเนินงานดา้ นคุณภาพท้งั หมดอยา่ ง
ต่อเนื่อง โดยมเี ป้าหมายท่ีสนองความตอ้ งการของลกู คา้
-วิวฒั นาการของการบริหารงานคุณภาพมี 3 ช่วง คอื ช่วงก่อนปฏิวตั ิอุตสาหกรรม
ช่วงของการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม และช่วงการแข่งขนั ที่เขม้ ขน้ ข้นึ

-หลกั การบริหารงานคณุ ภาพมี 8 ประการ ไดแ้ ก่ มงุ่ ลูกคา้ เป็นสาคญั มคี วามเป็นผนู้ า
มีส่วนร่วม ดาเนินกระบวนการ อย่างเป็นระบบ ปรับปรุงตอ่ เน่ือง ใชข้ อ้ มูลจริง สร้าง
ความสมั พนั ธ์กบั ตวั แทน

-กระบวนการบริหารคณุ ภาพ คือ กระบวนการดาเนินงานที่ใชอ้ งคป์ ระกอบ 3 ส่วน
ไดแ้ ก่ ปัจจยั นาเขา้ กระบวนการ และผลการดาเนินงาน

-ประโยชน์ของการบริหารงานคณุ ภาพ มดี งั น้ี เครื่องมอื ช่วยพฒั นางานใหม้ ีระบบ
ลูกคา้ มีความพึงพอใจ สร้างภาพพจน์ท่ีดี เพ่ิมประสิทธิภาพ และเพ่ิมขวญั กาลงั ใจกบั
พนกั งาน

-เทคนิคการบริหารงานเพื่อใหก้ ารดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ กิจกรรม 5ส
กิจกรรม Q.C.C. และกิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรับปรุงงาน เป็นตน้