ข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพ

          การสำรวจเชิงคุณภาพเป็นการหาค่าข้อมูลในเชิงแนวคิด ประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม การอธิบายเหตุผล หรือความพึงพอใจจากการสอบถาม ดังนั้นข้อมูลที่ได้มักจะปรากฏอยู่ในรูปแบบของตัวอักษร และผู้ศึกษาต้องนำข้อมูลมาวิเคราะห์ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลเชิงปริมาณ

2.�������¢ͧ������

2.1. ����ͨ�ṡ����ѡɳТͧ������ ����ö���͡���� 2 ��Դ���
      2.1.1 �������ԧ�س�Ҿ (Qualitative Data) ���¶֧ �����ŷ���������ö�͡����� �դ���ҡ���͹��� �������ö�͡����Ҵ��������� ���ͺ͡�ѡɳФ����繡�����ͧ ������ �� �� ��ʹ� �ռ� �س�Ҿ�Թ��� �����֧������
     2.1.2�������ԧ����ҳ (Quantitative Data) ���¶֧ �����ŷ������ö�Ѵ����� ����դ���ҡ���͹��«������ö�Ѵ����͡���繵���Ţ�� �� ��ṹ�ͺ �س����� ��ǹ�٧ ���˹ѡ ����ҳ��ҧ� ���

�͡�ҡ���������ԧ����ҳ�ѧ����ö���͡�����ա 2 �ѡɳФ��
       2.1.2.1 �������ԧ����ҳẺ������ͧ (Continues Data) ���¶֧ �����ŷ���繨ӹǹ��ԧ�������ö�͡�����к���ء��ҷ���˹��� �ӹǹ 0 � 1 ����դ���ҡ��¹Ѻ����ǹ �������鹨ӹǹẺ���Ҵ�͹
       2.1.2.2 �������ԧ����ҳẺ��������ͧ (Discrete Data) ���¶֧�����ŷ���繨ӹǹ��� ���ͨӹǹ�Ѻ �� 0 , 1 , 2 , � ,�, 100 ��� ���� 0.1 , 0.2 , 0.3 , � , � ���㹪�ͧ��ҧ�ͧ���Ф�Ңͧ�����Ũ�����դ���������á

2.2 ����ͨ�ṡ������觷���Ңͧ������ ����ö���͡���� 2 ��Դ���
     2.2.1�����Ż������ (Primary Data) ���¶֧ �����ŷ�������繼�����Ǻ��������� ����ͧ �� �����Ẻ�ͺ��� ��÷��ͧ���ͧ���ͧ
     2.2.2�����ŷص������ (Second Data) ���¶֧ �����ŷ��������Ҩҡ˹��§ҹ��� ���ͼ����� �����ӡ�����Ǻ����������ʹյ �� ��§ҹ��Шӻբͧ˹��§ҹ��ҧ� �����ŷ�ͧ��蹫������ͺ�. �繼���Ǻ������ ���

2.3 ����ͨ�ṡ����дѺ����Ѵ ����ö���͡���� 4 ��Դ���
     2.3.1�������дѺ����ѭ�ѵ� (Nominal Scale) ���¶֧ �����ŷ�����繡�����繾ǡ �� �� �Ҫվ ��ʹ� ����� ��� �������ö���ҨѴ�ӴѺ ���͹��Ҥӹdz��
     2.3.2�������дѺ�ѹ�Ѻ (Ordinal Scale) ���¶֧ �����ŷ������ö���繡������ �����ѧ����ö�͡�ѹ�Ѻ���ͧ����ᵡ��ҧ�� ���������ö�͡������ҧ�ͧ�ѹ�Ѻ����蹹͹�� �����������ö���º��º������ѹ�Ѻ���Ѵ����դ���ᵡ��ҧ�ѹ�ͧ������ҧ���� �� �ѹ�Ѻ���ͧ����ͺ�ͧ�ѡ�֡�� �ѹ�Ѻ���ͧ�����һ�СǴ�ҧ����� ���
     2.3.3 �������дѺ��ǧ���,�ѹ���Ҥ (Interval Scale) ���¶֧ �����ŷ���ժ�ǧ��ҧ ����������ҧ���� �ѹ ����ö�Ѵ��������繢����ŷ��������ٹ���� �� �س����� ��ṹ�ͺ GPA ��ṹ I.Q. ���
     2.3.4�������дѺ�ѵ����ǹ (Ratio Scale) ���¶֧ �����ŷ�����ҵ���Ѵ�����дѺ����Ѵ����٧����ش ��͹͡�ҡ����ö�觡������ �Ѵ�ѹ�Ѻ�� �ժ�ǧ��ҧ�ͧ����������ѹ���� �ѧ�繢����ŷ�����ٹ������ ���˹ѡ ��ǹ�٧ ���зҧ ����� �ӹǹ��ҧ� ���

next       previous

ทำความรู้จักกับรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในส่วนของ Data ประเภท Quantitative Data ว่าข้อมูลเชิงปริมาณคืออะไร ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละประเภทย่อยคืออะไร และวิธีการจำแนกข้อมูลเหล่านั้น รวมไปถึงตัวอย่างของข้อมูลในแต่ละประเภท

พื้นฐานของการเป็น ”นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล” หรือ “Data Scientist” นั้นนอกจากจะต้องมีความรู้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้ในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์แก้ปัญหาต่าง ๆ แล้วจำเป็นจะต้องมีความรู้ทางด้านสถิติร่วมด้วยเนื่องจากการจะจัดการข้อมูลจำนวนมหาศาลได้นั้นจำเป็นต้องใช้เทคนิคทางสถิติเพื่อเป็นตัวช่วยนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลในการแปรผลข้อมูล ซึ่งความรู้พื้นฐานที่ทุกคนควรเริ่มเรียนรู้คือเริ่มจากการทำความรู้จักกับ “ข้อมูล” หรือ “Data” โดย Data สามารถแบ่งออกเป็น “ข้อมูลเชิงคุณภาพ” หรือ “Qualitative data” และ “ข้อมูลเชิงปริมาณ” หรือ “Quantitative Data” โดยข้อมูลเชิงปริมาณจะสามารถแยกออกได้เป็นอีก 2 ประเภทย่อยได้แก่ “Discrete Data” และ “Continuous Data”

วันนี้ DIGI จะพาทุกคนไปทำความรู้จักกับรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในส่วนของ Data ประเภท Quantitative Data ว่าข้อมูลเชิงปริมาณคืออะไร ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละประเภทย่อยคืออะไร และวิธีการจำแนกข้อมูลเหล่านั้น รวมไปถึงตัวอย่างของข้อมูลในแต่ละประเภทครับ

“Quantitative Data” หรือ “ข้อมูลเชิงปริมาณ” คืออะไร? 

Quantitative Data หรือ ข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลในรูปแบบหนึ่งที่สามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขได้อย่างชัดเจน ซึ่งชนิดข้อมูลเหล่านี้จะเป็นตัวเลขโดยสามารถวัดออกมาเป็นปริมาณว่ามีจำนวนมากหรือน้อย ตัวอย่างข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ น้ำหนัก, ส่วนสูง, จำนวนประชากร, อุณหภูมิ โดยข้อมูลประเภทนี้สามารถนำเอาไปประยุกต์ใช้กับวิชาทางสถิติได้ง่าย เช่นการหาค่าเฉลี่ย (Mean), ค่ากลาง (Median) หรือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รวมไปถึงการทำ Data Visualization เพื่อแสดงผลของข้อมูลออกมาเป็นการ Plot graph หรือ Line Chart โดยข้อมูลเชิงปริมาณสามารถแยกออกเป็นอีก 2 ประเภทย่อยได้แก่ 

Discrete Data

ข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพ

Discrete Data คือข้อมูลเชิงปริมาณที่ไม่มีความต่อเนื่อง โดยเป็นชุดของตัวเลขที่วัดได้ด้วยการนับ (Count) ซึ่งค่าที่วัดได้นั้นเป็นค่าที่มีความจำเพาะไม่สามารถแยกย่อยออกมาเป็นจุดทศนิยมได้ส่งผลให้เวลา Plot graph ออกมาในรูปแบบของ Scatter graph ค่าที่ได้จะเป็นลักษณะจุดที่ไม่มีความต่อเนื่องกันของเส้นกราฟตัวอย่างเช่น จำนวนกาแฟที่ขายได้ต่อวัน จะพบว่าการวัดจำนวนแก้วกาแฟที่ขายได้นั้นใช้วิธีการนับ ซึ่งจำนวนแก้วกาแฟที่ขายได้นั้นจะเป็นจำนวนเต็ม จะไม่สามารถนับได้เป็นจำนวน 7.2 แก้ว หรือจำนวนนักเรียนในห้องเรียนมีลักษณะคล้ายกันคือใช้การนับจำนวนโดยจำนวนนักเรียนที่นับได้จะไม่สามารถนับได้เป็นจำนวน 20.5 คน

ข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพ

Continuous Data คือข้อมูลเชิงปริมาณที่มีความต่อเนื่องของข้อมูล โดยเป็นชุดข้อมูลที่วัดได้ด้วยการใช้วิธีการวัดค่าในเชิงปริมาณ (Measure) ซึ่งค่าที่วัดได้นั้นจะไม่มีความจำเพาะของค่าที่วัด ค่าที่ได้ทำให้สามารถแยกย่อยออกมาเป็นจุดทศนิยมส่งผลให้เวลา Plot graph ออกมาในรูปแบบของ Scatter graph ค่าที่ได้จะเป็นลักษณะของจุดที่มีความต่อเนื่องกันของเส้นกราฟ ทำให้กราที่ได้เป็นเส้นโค้ง ตัวอย่างเช่น การวัดส่วนสูง พบว่าวิธีการวัดส่วนสูงจะไม่ใช่การนับแต่จะเป็นการใช้ไม้วัดส่วนสูงโดยวัดได้เป็น 171.4 ซึ่งค่าที่วัดได้จะมีจุดทศนิยม

ตัวอย่างการจำแนกข้อมูลเชิงปริมาณ 

1. ความเร็วของรถยนต์

อันดับแรกต้องแยกก่อนว่าข้อมูลความเร็วของรถยนต์นั้นเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือคุณภาพ ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้วพบว่าข้อมูลสามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้เป็นหน่วยความเร็วเช่น กิโลเมตรต่อชั่วโมง รวมไปถึงตัวเลขที่วัดออกมาสามารถทำเป็นจุดทศนิยมได้ดังนั้นจึงบอกได้ว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณแบบ Continuous Data

2.ปริมาณรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

เมื่อวิเคราะห์จากข้อมูลจะพบว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณเนื่องจากจำนวนรถยนต์สามารถคำนวณออกมาเป็นตัวเลขว่าจำนวนรถกี่คัน โดยจำนวนรถยนต์ต้องใช้วิธีการนับและค่าที่ได้ไม่สามารถทำเป็นจุดทศนิยมได้จึงบอกได้ว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณแบบ Discrete Data

3.อายุ

ข้อมูลอายุนั้นเป็นข้อมูลเชิงปริมาณเนื่องจากเราสามารถคำนวณอายุคนออกมาเป็นตัวเลขได้ แต่ประเด็นที่มีความน่าสนใจคือข้อมูลอายุคนที่นำมาวิเคราะห์นั้นเป็นแบบไหน ถ้าข้อมูลอายุที่เป็นตัวเลขแน่นอนทั่วไปไม่ได้คิดรายละเอียดเรื่องเดือนเข้าไป เช่น อายุ 25 ปี 30 ปี ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นแบบ Discrete Data เพราะข้อมูลเป็นตัวเลขที่มีค่าที่แน่นอน แต่ถ้าข้อมูลอายุที่เป็นในลักษณะของการนำเอาเดือนเข้ามาคิดด้วย เช่น อายุ 40.5 ปี หรือ 60.7 ปี ก็จะเป็นข้อมูลแบบ Continuous Data เพราะข้อมูลเป็นตัวเลขที่มีจุดทศนิยม

สรุป

ความรู้เรื่องข้อมูลหรือ Data นั้นมีความสำคัญมากเนื่องจากเป็นความรู้พื้นฐานของวิชาสถิติซึ่งเป็นหนึ่งในความรู้หลักที่นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลจำเป็นต้องมีเพื่อใช้ในกระบวนการตั้งแต่การคัดแยกข้อมูลว่าข้อมูลไหนเหมาะสมที่จะนำเอามาใช้วิเคราะห์ การดูภาพรวมข้อมูลด้วยการใช้วิชาทางสถิติ รวมไปถึงการสรุปผลและการนำเสนอข้อมูลเพื่อที่เราจะได้เลือกวิธีการจัดการและนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสมกับชุดข้อมูล

ข้อมูลเชิงคุณภาพมีอะไรบ้าง

ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่ไม่มีขนาด ไม่สามารถวัดออกมาได้ เป็นสิ่งที่ได้จากการสังเกตของการรับรู้ทางความรู้สึก และสัมผัสเท่านั้น เช่น สี กลิ่น รส

ตัวอย่างข้อมูลเชิงปริมาณ มีอะไรบ้าง

Quantitative Data หรือ ข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลในรูปแบบหนึ่งที่สามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขได้อย่างชัดเจน ซึ่งชนิดข้อมูลเหล่านี้จะเป็นตัวเลขโดยสามารถวัดออกมาเป็นปริมาณว่ามีจำนวนมากหรือน้อย ตัวอย่างข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ น้ำหนัก, ส่วนสูง, จำนวนประชากร, อุณหภูมิ โดยข้อมูลประเภทนี้สามารถนำเอาไปประยุกต์ใช้กับวิชาทางสถิติ ...

การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพแตกต่างกันอย่างไร

การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพมีที่มาแตกต่างกัน กล่าวคือ การวิจัย เชิงคุณภาพมีพื้นฐานปรัชญาแบบธรรมชาตินิยม (Naturalism) ในขณะที่การวิจัยเชิง ปริมาณมีพื้นฐานแบบปรัชญาแบบปฏิฐานนิยม (Positivism) ดังนั้น การค้นหาความ จริงด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจะเน้นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งบางครั้ง ...

เชิงคุณภาพหมายถึงอะไร

2.1.1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถบอกได้ว่า มีค่ามากหรือน้อย แต่จะสามารถบอกได้ว่าดีหรือไม่ดี หรือบอกลักษณะความเป็นกลุ่มของ ข้อมูล เช่น เพศ ศาสนา สีผม คุณภาพสินค้า ความพึงพอใจฯลฯ