รายงาน เรื่อง ศัพท์ทาง ทัศน ศิลป์

เรื่อง คำ ศัพท์ทางทัศนศิลป์ที่ใช้ในการ บรรยายผลงาน จัดทำ โดย น.ส.ศุภรัตน์ แสงศรี ม.4 เลขที่14 คุณครูศศินา กองสิน เสนอ

การแกะสลัก (Carving) การแกะสลัก เป็นป็วิธีกธีารสร้าร้งงานประติมากรรมโดย วัสดุเช่นช่ ไม้ หิน งาช้าช้ง ฯลฯ มาตัด ขุด แกะ หรือรื สกัดให้เป็นป็รูปรูที่ต้องการ เช่นช่พระพุทธรูปรูหน้าบัน ประตู โขน ฯลฯ กลวิธีพิธี พิมพ์ผ้าไหม (Silk Screen) กลวิธีพิธี พิมพ์ผ้าไหม เป็นป็กรรมวิธีพิธี พิมพ์ภาพอย่างหนึ่ง ที่พัฒนาจากการพิมพ์ลายฉลุ โดยใช้ผ้ช้ ผ้าไหมเป็นป็แม่ พิมพ์

การหล่อ (Casting) การหล่อ เป็นป็การถ่ายแบบจากงาน ประติมากรรมต้นแบบ ด้วยการทำ แบบพิมพ์ขึ้น มาก่อน แล้วใช้กช้ลวิธีกธีารหล่อ เพื่อให้วัสดุใหม่ไหล ลงไปในแม่พิมพ์ ก่อให้เกิดรูปรูทรงและราย ละเอียดตามต้องการ เครื่อรื่งปั้นปั้ดินเผา (Ceramic) เครื่อรื่งปั้นปั้ดินเผา เป็นป็วัตถุประดิษฐ์เพื่อ ประโยชน์ใช้สช้อย หรือรืเป็นป็ผลงานศิลปะที่ สร้าร้งขึ้นมาจากดิน หิน แร่ธร่าตุต่างๆ ให้ เป็นป็รูปรูทรงตามต้องการ แล้วผ่านกรมม วิธีกธีารเผาเพื่อให้เกิดความแข็งแกร่งร่ อาจใช้น้ำช้ น้ำยาเคลือบ ก่อนที่จะนำ เข้าเตา เผาเคลือบอีกครั้งรั้หนึ่ง

ค่าของแสงและเงา (Chairoscuro : คีอาร์รร์ะสคิว โร) ค่าของแสงและเงา เป็นป็ส่วนสำ คัญที่จะทำ ให้ผล งานวาดเส้น จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตปัยกรรมประสบผลสำ เร็จร็งดงามด้วยการลง ค่าน้ำ หนักความอ่อน-แก่ ของแสง-เงาถูกต้อง ตามธรรมชาติ จิตรกรรม (Painting) จิตรกรรม คือ ภาพเขียนสีที่ศิลปินปิสร้าร้งสรรค์ขึ้น ด้วยประสบการณ์ทางสุนทรียรีภาพ และทักษะ ความชำ นาญ ด้วยสีชนิดต่างๆ เช่นช่สีน้ำ สีอะคริ ลิก สีน้ำ มัน ฯลฯ ซึ่งซึ่ศิลปินปิอาจเลือกเขียนภาพ ตามใจชอบ เช่นช่ภาพทิวทัศน์ ภาพหุ่นนิ่ง ภาพ สัตว์ เหตุการณ์ต่างๆ ในรูปรูแบบของงาน จิตรกรรม เช่นช่แบบสัจนิยม (realism) แบบอุดม คคติ (idealism) หรือรืแบบนามธรรม (abstract) ฯลฯ

จังหวะ (Rhythm) จังหวะ คือ การจัดวางองค์ประกอบให้ มีความสัมพันธ์ และเชื่อชื่มโยงต่อเนื่อง กัน ฉากหลัง (Background) ฉากหลังเป็นป็ส่วนประกอบของภาพที่ปรากฏ ให้เห็นว่าอยู่ไกลสุด ซึ่งซึ่เป็นป็ส่วนเสริมริจุด สนใจให้เด่นชัดชัและสวยงามขึ้น งาน จิตรกรรมประกอบด้วยส่วนสำ คัญ3 ส่วน คือ ฉากหน้า(foreground) ฉากกลาง (middleground) และฉากหลัง (background)

ดุลยภาพ (Balance) ดุลยภาพ หรือรืความสมดุล คือหลักการจัดองค์ ประกอบของภาพไม่ให้มีน้ำ หนักเอียงไปข้าง หนึ่งข้างใด ให้รู้สึรู้สึกมีน้ำ หนักเท่าๆกัน ทั้งสอง ข้าง โดยใช้เช้ส้น สี องค์ประกอบ แสง-เงา และ ความใกล้-ไกล ในการสร้าร้งดุลยภาพ ตราสัญลักษณ์ (Logo) ตราสัญลักษณ์ หรือรื Logo ตัดมาจากคำ ว่า Logotype หมายถึง เครื่อรื่งหมายตรา สัญลักษณ์ ซึ่งซึ่ ใช้สื่ช้ สื่อความหมายเฉพาะส่วน ราชการ มูลนิธิ สมาคม บริษัริ ษัท ห้างร้าร้น ฯลฯ อาจเป็นป็ตัวอักษรหรือรืรูปรูภาพ หรือรืทั้ง2 แย่าง ประกอบกัน

ทัศนศิลป์ (Visual Art) ทัศนศิลป์ คือ งานศิลปะที่รับรัรู้จรู้าการ มองเห็นได้ด้วยสายตา ภาพทิวทัศน์ทางทะเล (Seascape) ภาพทิวทัศน์ทางทะเล เป็นป็ผลงานศิลปะ ด้านจิตรกรรมวาดเส้น ภาพพิมพ์ ที่ สร้าร้งสรรค์ขึ้นจากเรื่อรื่งราวและ บรรยากาศของทะเลในมิติของกาลเวลา ต่างๆกัน

น้ำ หนัก (Value) น้ำ หนัก คือ ระดับความอ่อน-แก่ของสีดำ หรือรืสีอื่นๆ หรือรืแสง-เงา ที่ก่อให้เกิดความ งามตามอารมณ์ความรู้สึรู้สึกในผลงาน ศิลปกรรม ทัศนียภาพ (Perspective) ทัศนียภาพ คือ วิชาหรือรืศิลปะที่เกี่ยวกับการ เขียนภาพบนพื้นระนาบ (2 มิติ)ให้ดูเป็นป็ภาพ 3 มิติ หรือรืแสดงให้เห็นระยะใกล้-ไกลได้

ประติมากรรม (Sculptur) ประติมากรรม หมายถึง งานศิลปกรรมที่ สร้าร้งเป็นป็รูปรู3 มิติ ด้วยวิธีกธีารปั้นปั้การแกะ สลัก สามารถมองได้รอบตัว สำ หรับรั ประติมากรรมประเภทรูปรูลอยตัว (roundrelief) รูปรูนูนต่ำ (bas-relief) และรูปรูนูนสูง (high-relief)

ศัพท์ทางทัศนศิลป์ส่วนใหญ่จะเป็นคำ ศัพท์ที่มีีราก ศัพท์มาจากภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ โดยมีการบัญญัติ คำ ศัพท์ให้เป็นภาษาไทยโดยทางราชบัณฑิตยสถาน และบางคำ ก็ถูกกำ หนดขึ้นโดยศิลปินไทยเป็นผู้กำ หนด โดยการเขียนตำ ราทางศิลปะ ดังนั้นศัพท์เฉพาะทางทัศนศิลป์จึงไม่เป็นที่แพร่หลาย นักและคำ บางคำ เป็นศัพท์เฉพาะทางซึ่งไม่ใช่คำ ที่ใช้ สนทนากันในชีวิตประจำ วัน

1.ประติมากรรม (Sculpture) งานศิลปะที่สร้างสรรค์ให้เป็นรูปทรง 3 มิติ โดยการแกะสลัก การปั้น หรือ การนำ ส่วนประกอบย่อยมาประกอบเข้า ด้วยกันเป็นผลงานชิ้นเดียวกัน

2.การแกะสลัก (Carving) วิธีการสร้างสรรค์งานประติมากรรมวิธี หนึ่ง โดยการนำ วัตถุแข็งทรงรูป เช่น ไม้ หิน มาตัด ขูด ขัด หรือสกัดให้เป็น รูปทรงที่ต้องการ

3.การปั้น (Modelling) วิธีการสร้างงานประติมากรรมวิธีหนึ่งซึ่ง จัดเป็นวิธีบวกหรือพอกพูน โดยใช้วัสดุ ที่ค่อนข้างนิ่ม เช่น ดินเหนียว ดิน น้ำ มัน หรือขี้ผึ้งในการสร้าง ถ้าเป็นรูป ขนาดใหญ่มักจะเสริมภายในด้วยโครง โลหะก่อน

เป็นการวาดภาพด้วยเส้นดินสอ ปากกา แท่งถ่านให้เสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง หรือ เป็นภาพร่างเพื่อการเขียนภาพระบายสี 4.ภาพวาดเส้น (Drawing)

5.การ์ตูน (Cartoon) ภาพวาดเส้นที่มักจะเป็นไปในเชิงตลก ขบขันหรือเปรียบเปรยเสียดสี หรือภาพ วาดที่มีเรื่องราวติดต่อกันเป็นชุด โดย ทั่วไปแล้วมักวาดเป็นลายเส้นที่เรียบ ง่าย มากกว่าภาพวาดเส้นปกติ

แท่งหินหรือท่อนไม้ที่สดหรือวางผ้าตาม แนวนอนเหนือช่องว่างในอาคาร เช่น ที่ ประตูหรือหน้าต่างเพื่อรับน้ำ หนักของ ผนังหรือกำ แพงส่วนที่อยู่ข้างบนช่องว่าง นั้น 6.ทับหลัง (Lintel)

7.ศิลปวิจารณ์ (Art criticism) การวิพากษ์วิจารณ์ผลงานทางศิลปะ โดยผู้ วิจารณ์ให้ความเห็นตามกฎเกณฑ์ และ หลักการของศิลปะ

8.สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) วิชาที่ว่าด้วยความซาบซึ้งในคุณค่าของ สิ่งงดงามไพเราะ หรือรื่นรมย์

9.หินตุ๊กตาจีน (Agalmatolite) หินอ่อนสีขาวอมเทา (ภาษาจีนแต้จิ๋ว เรียกว่า หินฮ่วยเส่งง้ำ ) หินชนิดนี้เมื่อขุดขึ้นมาใหม่ๆ จะมีเนื้ออ่อน มีความร้อน เมื่อทิ้งไว้ประมาณ 2 สัปดาห์จะแข็งตัว เหมาะสำ หรับแกะสลัก

10.หน้าจั่ว (Gable) องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม มีลักษณะ เป็นแผงรูปสามเหลี่ยม ใช้ปิดช่องว่างหลังคา ทางด้านสกัดของเรือนอาจทำ ด้วยไม้ หรืออิฐ ทางพระพุทธศาสนาและปราสาทราช มณเฑียรของไทย เรียกว่า “ หน้าบัน ”

11.ระดับสี (Key) ในทางจิตรกรรม หมายถึง ค่าของสีโดย รวมของแต่ละภาพถ้าค่าของสีที่คล้ำ มืด เรียกว่า “ระดับสีต่ำ ” ถ้าค่าของสีที่อ่อน สว่าง หรือสด เรียกว่า “ระดับสีสูง ”

12.ผัง (Plan) รูป 2 มิติิ ที่แสดงขอบเขตในแนวราบของ สิ่งต่างๆ ในลักษณะที่มองจากด้านบนลง มา แสดงแต่ความกว้างและความยาว โดย ย่อส่วนลงมาอย่างถูกต้องตามมาตราส่วน