วิจัย Google Site 5 บท doc

รายงานวิจยั ในชน้ั เรียน

เรือ่ ง การสรา้ ง Google site เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวชิ า
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ในการจัดการเรยี นรู้รูปแบบออนไลน์

ในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคตดิ ต่อเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

นายวีรภัฏศาสตรา ชมภู
ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรยี นประชามงคล
โครงการหว้ ยองคตอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากาญจนบรุ ี
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

สารบัญ ก

สารบญั หน้า
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ ก
บทคัดย่อ ข
บทที่ 1 บทนำ ค

1.1 ท่มี าและความสำคัญ
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1
1.3 สมมติฐานการศึกษา 2
1.4 ขอบเขตการศึกษา 2
1.5 ระยะเวลาในการศึกษา 2
1.6 นิยามศพั ท์เฉพาะ 3
1.6 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 3
2.1 การจดั การเรียนรู้รปู แบบออนไลน์
2.2 ความรเู้ กีย่ วกบั โปรแกรม Google Site 4
2.3 ข้นั ตอนการสร้าง Google site 6
2.4 ข้อดแี ละขอ้ เสียของโปรแกรม Google site 6
2.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 13
2.6 ความพึงพอใจ 13
2.7 งานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 15
2.8 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั 17
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินการศกึ ษา 18
3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง/กลุ่มเป้าหมาย
3.2 เครอื่ งมือที่ใช้ในการศกึ ษา 19
3.3 ขนั้ ตอนการสร้างเครื่องมือ 19
3.4 วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู 19
3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล 20
3.6 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 20
21

สารบญั ข

เร่อื ง หน้า

บทท่ี 4 สรปุ ผลการศึกษา 22
4.1 ผลการศกึ ษา
26
บทท่ี 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 26
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษาค้นคว้า 27
5.2 อภิปรายผลการศกึ ษา 28
5.3 ข้อเสนอแนะ 30

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง หน้า
13
เร่ือง 21
ตาราง 1 ข้อดแี ละข้อเสยี ของโปรแกรม Google site 23
ตาราง 2 เกณฑก์ ารประเมนิ ความพึงพอใจ
ตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวชิ า วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 24
เรือ่ ง การดำรงชวี ิตของพชื ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนประชามงคล
กอ่ นและหลงั การจัดการเรยี นรู้ 32
ตาราง 4 ความพงึ พอใจต่อการจัดการเรียนร้โู ดยใช้ Google site เปน็ เครื่องมือช่วยอำนวย
ความสะดวกในการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เร่อื ง การดำรงชวี ิตของพืช
ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4/3
ตาราง 5 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

สารบัญภาพ ง

เรื่อง หน้า
ภาพ 1 การออกแบบหนา้ เวบ็ เพ็จ 6
ภาพ 2 การสมคั รเข้าใชง้ านเว็บไซตใ์ หม่ 7
ภาพ 3 การเลือก site 7
ภาพ 4 การเลือกรปู แบบ site 8
ภาพ 5 สรางเวบ็ ไซตใหม์ 8
ภาพ 6 การต้งั ช่อื เวบ็ ไซตใ์ หม่ 8
ภาพ 7 การเพ่ิมหนา้ เพจ็ เว็บใหม่ 9
ภาพ 8 การสร้างเมนูในเพจ็ 9
ภาพ 9 การใชงานธมี Theme Google Sites 10
ภาพ 10 การสรางเนื้อหาในเว็บไซต์ 10
ภาพ 11 การใสร่ ปู ภาพ 11
ภาพ 12 การเพิ่มลงิ ค์ในเพจ 11
ภาพ 13 การเชื่อมขอมลู จากไดรฟ์ 11
ภาพ 14 การสร้างวดี โี อ 14
ภาพ 15 การเผยแพรเ่ วบ็ ไซต์ 15

งานวจิ ัยในช้นั เรียน : การสรา้ ง Google site เพ่ือเป็นเครื่องมือชว่ ยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ผูว้ จิ ัย : นายวีรภัฏศาสตรา ชมภู
ปีท่ศี กึ ษา : ปกี ารศกึ ษา 2564

บทคดั ยอ่

งานวิจัยในชั้นเรียนนี้มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ 1) เพื่อสร้างเว็บไซต์ Google site เพื่ออำนวย
ความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ท่ีมีต่อการใช้เว็บไซต์ Google site เป็นเคร่ืองมือสำหรับการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ใน
รปู แบบออนไลน์

คร้ังน้ีได้กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนประชามงคล อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน
35 คน โดยการเลือกแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. สื่อการเรียนรู้ออนไลน์
Google site และ 2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใชส้ ือ่ การเรียนรู้ออนไลน์ Google site ซ่ึงวิเคราะหข์ ้อมูล
โดยการคำนวณหาค่าเฉลย่ี คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน และพสิ ูจนส์ มมติฐานโดยการหาคา่ T-test อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถติ ทิ ร่ี ะดับ .05

ผลการศกึ ษา พบวา่
1. ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน พบว่า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวิชาวิทยาศาสตร์

ชีวภาพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ก่อนการจัดการ

เรียนรู้ ( =5.23) และหลังการจัดการเรียนรู้ ( =15.03) ซ่งึ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้
สูงกว่าก่อนได้รับการจดั การเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานที่ตัง้ ไว้

2. ผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ Google site เพ่ือเป็น
เคร่ืองมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/4
ในการจัดการเรียนร้รู ปู แบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน

ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก ( = 4.40,

S.D.= 0.76) รองลงมาคือ เน้ือหามีความเหมาะสมกับนักเรียน อยู่ในระดับมาก ( = 4.10, S.D.= 0.72) และ

บทเรียนมีใบกิจกรรมทม่ี ีชวี ิต มคี วามนา่ ต่นื เต้น อย่ใู นระดบั มาก ( = 3.98, S.D.= 0.90)
เม่ือสอบสมมติฐานการวิจัยโดยการคำนวณหาค่า t-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พบว่า

นวตั กรรมทส่ี รา้ งขนึ้ ชว่ ยทำใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนเพิ่มสงู ข้ึน อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05
เมื่อเทียบกับก่อนการเรียนและหลังเรียนจากค่า t-test ที่คำนวณได้และจากค่า t-test ตามตาราง t-score

1

บทท่ี 1
บทนำ

ทมี่ าและความสำคญั
ปัจจุบันโลกมีการใช้เทคโนโลยีเพ่ือเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน ส่งผล

ต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมในทุกมิติรอบด้าน ในขณะท่ีการเรียนรู้ได้เปลี่ยนจากการเรียนรู้อะไร (Know
What) เป็นการเรียนรู้อย่างไร (Know How) การรู้ว่าจะเรียนอย่างไร จะค้นหาสารสนเทศอย่างไร จะใช้
สารสนเทศอย่างไร การใช้และการเข้าถงึ เป็นจุดเน้นใหม่ของการเรียนรู้ในโลกปัจจุบนั ดงั น้ัน การจัดการเรียนรู้
ผ่านเว็บไซต์ หรือ Online Learning จึงเป็นกระแสสำคัญของการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้ยุคใหม่ใน
ศตวรรษที่ 21 ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการจัดระบบการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
โปรแกรม Google Site เป็นหน่ึงใน Google Apps for Education ท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาเพื่อสนับสนับสนุนการ
เรียนการสอน โดยอาศัยคุณสมบัติและ ทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บมาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดในลักษณะ
ของบทเรียนออนไลน์สามารถเชื่อมโยงเนื้อหา และแหล่งความรู้ต่างๆ ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้
ง่ายย่ิงข้ึน มีบริการรูปแบบต่างๆ มากมายที่สามารถ เอ้ือประโยชน์ในการนำมาใช้ในการจัดการเรียนการเป็น
ส่ือการสอนออนไลน์หน่ึงที่ช่วยในการเรียนการสอนของครู โดยสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาแหล่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นรูปแบบไฟล์ เสียง วีดิโอ ที่นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล ได้ง่าย และไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เวลาใด ก็
สามารถเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองได้อีกท้ังใช้บริการได้ฟรีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย การจัดการเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์เป็น
วิธีการหนึ่งที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา สามารถใช้เวลาใดก็ ได้ สถานที่ใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
ความพร้อมของ โดยไม่จำกดั การปฏิสมั พันธ์ไวแ้ ต่เพียงในห้องเรียน ผู้สอนสามารถ ให้ผลยอ้ นกลบั ได้ทันที โดย
ไมต่ ้องรอใหถ้ งึ เวลาเรียน

จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ที่กำลังแพร่ระบาดและส่งผลทำ
ให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนถูกปรับเปล่ียนไปจากเดมิ มาก น้ันก็คอื การปรับเปล่ียนมาเรยี นในรูปแบบ
ออนไลน์เกือบท้ังหมด และรูปแบบอ่ืนๆ อีกประปราย เช่น On-hand และ On-demand ซึ่งมีการจัดการ
เรียน การสอนเพ่ือสนองกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ จึงทำให้นักเรียนและครูต้องเกิด
การปรับตัวเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ เม่ือโลกกำลังเปล่ียนทิศทางการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ทางออนไลน์
ประเทศไทยกำลังก้าวเผชิญกับการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์ท่ีครูไม่สามารถดูแลการเข้าเรียนของนักเรียนได้
อย่างท่ัวถึง เน่ืองจากนักเรียนเรียนรู้อยู่ท่ีบ้าน และมีสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ อาจจะส่งผล
ทำให้ประสิทธิภาพการเรียนรู้ขณะท่ีครูสอนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ หรือโปรแกรมต่างๆ ลดน้อยลงตามลำดับ
ดงั นั้นข้าพเจ้าจึงเกิดแนวคิดท่ีจะใช้เทคโนโลยที ี่มีอยู่เดิม และแพร่หลาย นำมาปรับใช้และสร้างเป็นเคร่ืองมือที่
ช่วยอำนวยความสะดวกแก่การเรียนรู้ของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ น้ันกคือ Google
site ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทุกท่ีทุกเวลา นอกจากนั้นภายใน Google site ยังจะ
ประกอบไปด้วย วดี ีทัศน์ส่ือออนไลน์จากเวบ็ ไซต์ YouTube และคลิปการสอนของครูและยงั มใี บกิจกรรมท่ี
มีชีวิตท่ีจะช่วยเปิดประสบการณ์การทำใบกิจกรรมในรูปแบบใหม่แก่นักเรียนซ่ึงจะเป็นเคร่ืองมือที่สำคัญของ
การเปลีย่ นแปลงทางการเรยี นรู้ยคุ ใหม่ในศตวรรษที่ 21 ทีช่ ว่ ยส่งเสรมิ การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นใหด้ ียิง่ ขนึ้ ไป

2

วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั
1. เพ่ือศกึ ษาและสรา้ ง Google site เครื่องมอื อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 รายวิชา

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ จำนวน 35 คน กอ่ นและหลงั การจดั การเรียนรู้
3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ Google site เป็นเคร่ืองมืออำนวยความสะดวกในการเรียนรู้

รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 จำนวน 35 คน โรงเรียนประชามงคล
จวั หวัดกาญจนบรุ ี

สมมติฐานการวจิ ัย

1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่ือการสอนออนไลน์ Google site เคร่ืองมืออำนวยความสะดวก
ในการเรียนรู้ของผู้เรียน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 จำนวน 35 คน โรงเรียนประชามงคล
จงั หวัดกาญจนบรุ ี

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 รายวิชา
วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ จำนวน 35 คน กอ่ นและหลังการจดั การเรยี นรู้

3. ความพึงพอใจต่อการใช้ Google site เป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเรียนรู้รายวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 จำนวน 35 คน โรงเรียนประชามงคล
จงั หวัดกาญจนบุรี อย่ใู นระดับมาก

ขอบเขตของการวจิ ยั
ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
1. ประชาการ คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน

ประชามงคล จำนวน 186 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน

ประชามงคล จำนวน 35 คน โดยการสมุ่ แบบง่าย (Simple random sampling)

ระยะเวลาในการศึกษา
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1. Google site หมายถึง โปรแกรมท่นี ำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรปู แบบของบทเรียนออนไลน์
2. เครืองมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ หมายถึง โปรแกรมที่คอยสนบั สนุนการเรียนรู้

ของผู้เรียนที่สามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และทำให้ผู้เรียนรู้สึกสะดวกสบายในการ
เรียนรู้

3. การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ หมายถึง การเรียนรู้และทำกิจกรรมบนระบบเครือข่าย
อินเทอร์เนต็ ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผเู้ รียน และผู้เรียนกับผ้สู อน โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่

3

4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ หมายถึง คะแนน เฉลีย่ จากการทำใบงาน/ช้ินงาน การทำแบบทดสอบ
ระหว่างเรยี น และทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

5. ความพึง พอใจ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน
ออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Google Site

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการวิจยั

ประโยชน์ในเชงิ วชิ าการ
1. ไดส้ รา้ งเครอื่ งมอื Google site ท่ชี ่วยอำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ของผเู้ รียน
2. นักเรียนมผี ลสัมฤทธใิ์ นรายวชิ าวทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพสูงขน้ึ

ประโยชน์ในการนำไปใช้
1. นกั เรยี นมีความพงึ พอใจในการใช้ Google site
2. นักเรยี นเกดิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเองและเสริมสร้างทกั ษะการใช้เทคโนโลยีมากข้ึน
3. นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะการแสวงหาความร้เู พมิ่ เติมมากขน้ึ
4. นักเรยี นเกดิ ความสนกุ ในการเรียนรู้

4

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยในชั้นเรียน เร่ือง การสร้าง Google site เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความ
สะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การดำรงชีวติ ของพืช ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในช่วงการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ซ่ึงมเี อกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ งดังหัวขอ้ ต่อไปนี้

1. การจดั การเรียนรู้รูปแบบออนไลน์
2. ความรู้เกยี่ วกับโปรแกรม Google Site
3. ขน้ั ตอนการสรา้ ง Google site
4. การนำ Google site ไปใช้ประโยชน์
5. ข้อดีและข้อเสียของโปรแกรม Google site
6. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
7. ความพงึ พอใจ
8. งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง
9. กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

การจดั การเรียนรู้รปู แบบออนไลน์ (สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3, ออนไลน)์

1. ความหมายของการสอนออนไลน์
การเรียนการสอนออนไลน์ (Online learning) จัดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึ่ง

ซึ่งสามารถเปล่ียนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิม ๆ ให้เป็นการเรียนใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทำการสอน
นอกจากนคี้ วามหมายอกี นัยหน่งึ ยงั หมายถึง การเรยี นทางไกล , การเรยี นผ่านเว็บไซต์ อกี ด้วย

การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online learning) จะเป็นเรียนทางผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ใน
รูปแบบของคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สร้างการศึกษาท่ีมี
ปฏสิ ัมพันธค์ ุณภาพสูง โดยไม่จำเปน็ ต้องเดินทาง เกิดความสะดวกและเข้าถงึ ไดอ้ ย่างรวดเรว็

การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เป็นการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถ
เลือกเรียนตามความชอบของตนเอง ในส่วนของเน้ือหาของเรียน ประกอบด้วย ข้อความ , รูปภาพ , เสียง ,
VDO และMultimedia อ่ืนๆ สิ่งเหล่าน้ีจะถูกส่งตรงไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser ท้ังผู้เรียน , ผู้สอน และ
เพ่ือนร่วมช้ันทุกคน สามารถติดต่อ ส่ือสาร ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบเดียวกับการเรียนในชั้นเรียน
ท่ัวไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network เป็นต้น ด้วยเหตุนี้การเรียนรู้แบบออนไลน์ จึงเป็นเหมาะ
สำหรบั ทุกคนเรยี นได้ทุกเวลา

5

1. ลักษณะสำคัญของการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
1. ผู้เรียนเป็นใครก็ได้ อยู่ที่ใดก็ได้ เรียนเวลาก็ใด เอาตามความสะดวกของผู้เรียนเป็นสำคัญ

เนือ่ งจากโรงเรียนออนไลนไ์ ดเ้ ปดิ เวบ็ ไซต์ให้บรกิ ารตลอด 24 ชั่วโมง
2. มีส่ือทุกประเภทท่ีนำเสนอในเว็บไซต์ ไม่ว่าจะท้ัง ข้อความ , ภาพนิ่ง , ภาพเคล่ือนไหว , เสียง ,

VDO ซึ่งจะช่วยกระตุ้นความสนใจ ในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังทำให้เหตุภาพของเนื้อหา
ต่างๆง่ายดายมากข้นึ

3. ผู้เรียนสามารถเลอื กวชิ าเรยี นได้ตามความตอ้ งการ
4. เอกสารบนเว็บไซต์ท่ีมี Links ต่อไปยังแหล่งความรู้อื่นๆ ทำให้ขอบเขตการเรียนรู้กว้างออกไป
และเรียนอย่างรลู้ กึ มากขน้ึ

2. ประโยชน์ของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
1. ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรยี นการสอน เน่ืองจากไมไ่ ดจ้ ำกัดอยใู่ นสถานทีเ่ ดียวเท่าน้นั
2. เกิดเครือขา่ ยความรู้ โยงใยออกไปไกล
3. เนน้ การเรียนแบบผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลาง
4. ชว่ ยลดชอ่ งวา่ งระหว่างการเรียนรู้ในเมอื งกบั ทอ้ งถ่ิน

สรุปแล้ว การเรยี นรู้แบบการเรยี นรู้แบบออนไลน์ เป็นการเรียนทม่ี คี วามมีความยึดหยุ่นสูง เพราะฉะน้ัน
ผูเ้ รียนจำต้องมีความรับผิดชอบในการเรยี นมากกว่าปกติ เพราะไม่มีใครมานั่งจ้ำจ้ีจ้ำไช ยิ่งเรียนย่ิงได้กับตัวเอง
อีกท้ังยังทราบผลย้อนกลับของการเรียน ทั้งจาก E-Mail , การประเมินย่อย , การประเมินผลหลัก โดยใช้
เว็บไซต์เป็นท่ีสอบ รวมทั้งการประเมินผลรวมตามการสอบ เพื่อเป็นการเช็คว่าผู้เรียนได้เข้ามาเรียนจริง
สามารถทำขอ้ สอบได้ มีความเขา้ ใจในเน้ือหา

3. ขอ้ จำกัดของกำรจดั กำรสอน online
เชดิ ศักด์ิ ไอรมณีรัตน์ กล่าววา่ แมร้ ะบบการสอน online มกี ารพัฒนาให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ดี
พอสมควร แต่ระบบการจัด สอนท่ีใช้กันอยูใ่ นปัจจุบนั ยังมขี อ้ จ ากัดในหลายประเดน็ เชน่
1. การดึงผู้เรียนเข้าสู่บทเรียน (student engagement) ในบริบทที่อาจารย์อยู่คนละที่กับนักเรียน
การดึง ความสนใจของผู้เรียนทำได้ยากมาก ขณะที่อาจารย์ตั้งใจสอนอยู่น้ัน ผู้เรียนอาจทำกิจกรรมอ่ืนและ
ไมไ่ ดต้ ดิ ตามบทเรียน
2. การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการทำงานร่วมกนั (Collaborative learning) เนื่องจากผู้เรียนแตล่ ะคนอย่กู ัน
คน ละที่ในบทเรียนแบบ asynchronous ผู้เรยี นเข้ามาศกึ ษาคนละเวลา จึงทำให้การทำงานร่วมกันทำได้ยาก
ขนึ้ มากตา่ งจากการทำงานเปน็ ทีมในหอ้ งเรียนปกตทิ ีส่ ามารถส่ือสารกนั ได้สะดวกและไดค้ ำตอบทันที
3. การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน (interaction) ทำได้ยากมาก ซ่ึงทำให้การทำแบบฝึกหัด
หรือ การใหข้ อ้ มลู ป้อนกลับแก่ผ้เู รยี นทำได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพน้อย

6

ความร้เู กยี่ วกบั โปรแกรม Google Site
Google Sites คือโปรแกรมของ Google ท่ีให้บริการสร้างเว็บไซต์ฟรี สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ง่าย

และสามารถ รวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไว้ในท่ีเดียว (สุกิจ สุวิริยะชัยกุล. 2558) และ กนกพร
ฉนั ทนารุ่งภักดิ์ (2557) ได้กล่าว ว่า Google Site เป็นหนึ่งใน Google Apps for Educationของ Google ที่
ไดพ้ ฒั นาขึน้ มา เพ่ือสนับสนับสนุนการเรยี นการสอน

Google Sites คือ โปรแกรมออนไลน์ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ให้ง่ายขึ้นเหมือนกับการแก้ไขเอกสาร
ธรรมดา ๆด้วย Google Sites โดยท่ีผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องเก่ียวกับภาษาที่ใช่ในการสร้างเว็บไซต์ สามารถ
รวบรวมความหลากหลายของข้อมูลในที่เดียว เช่น รวมวิดีโอ ปฏิทินการนำเสนอ เอกสารหรือส่ิงท่ีแนบ และ
ข้อความ อำนวยความสะดวกในการทำงาน ซึ่งมีให้เลือก 2 รูปแบบคือ Google Sites แบบที่ 1 คือ classic
(แบบเก่า) ไม่ยืดหยุ่นตามอุปกรณ์ แบบที่ 2 คือ แบบใหม่ (ยืดหยุ่นตามอุปกรณ์) ใช้งานง่ายมากและดูทันสมัย
(วฒุ ิชยั แมน้ รัมย์, ออนไลน)์
ข้นั ตอนการสร้าง Google site

ธรี พันธ คําขันธ์ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ได้จัดทำคูมือการสรางเว็บไซตดวย
Google Sites และอธบิ ายถงึ ข้ันตอนไว้ดังน้ี

1. ออกแบบหนาเว็บเพจ
การออกแบบหนาจอ คือการออกแบบหนาจอ ตามแนวคิดท่ีไดเขียนไวในโครงสรางเว็บไซต เพ่ือแสดง
เปนผลลัพธตามทไี่ ดวางแผนไว

ภาพท่ี 1 การออกแบบหน้าเว็บเพ็จ

7

ขัน้ ตอนการสรางเวบ็ ไซตใหม
• สมัครเขาใชงาน โดยเขาไปท่ี URL พิมพhttps://sites.google.com/ • แลวลงช่ือเขาใช Gmail

โดยกรอก Email และ Password คลิกปมุ “ลงชื่อเขาใชงาน”

ภาพท่ี 2 การสมัครเข้าใช้งานเว็บไซตใ์ หม่
• มาใชงานครั้งแรก โดยเขาไปที่ URL พิมพhttps://sites.google.com/ ก็จะมีไอคอล Sites

แสดงขึ้นมาพรอมใชงาน
• ใหเราเลอื กคล๊กิ ทีไ่ อคอล Sites เพ่อื ไปหนาที่สรางเว็บไซต์

ภาพที่ 3 การเลือก site
• การเลอื กสรางเว็บไซตมดี วยกนั 2 แบบ

1. สรางไซตแบบใหม
2. สรางไซตแบบคลาสสิค แบบเกา
• เลอื กไซตแบบใหม เขาไปคลิก๊ ท่ีปมุ Sites

8

ภาพท่ี 4 การเลือกรปู แบบ site
• คลิ๊กตามลกู ศรช้ี สรางเวบ็ ไซตใหมj

ภาพท่ี 5 สรางเว็บไซตใหมj
2. ขนั้ ตอนการต้งั ชื่อเว็บไซต

• การต้ังชื่อเว็บไซต (title) เราสรางหนาเพจข้ึนมา สาหรับสวนของตาแหนงไซต google sites
จะทาํ การตงั้ ใหโดยอตั โนมัติ

• การสรางหนาแรกเพจของเว็บไซต
1. ใสชอื่ ไซตของเรา ชื่อเวบ็ ใหสื่อถงึ ขอมลู เวบ็ ไซต เราอาจจะมีการสรางหลายเวบ็ ในพื้นทเ่ี กบ็
2. ใสชือ่ ขอมลู หนาเพจของเรา

ภาพที่ 6 การตัง้ ชื่อเว็บไซต

9

3. ขนั้ ตอนการเพม่ิ หนาเพจเวบ็ ไซต
• แถบเมนูและฟงกช่ันที่ใชเพ่ิมลูกเลนใหกับเว็บไซต รวมไปถึง Gadget ตาง ๆ และเครื่องมือใน
การจัดการหนาเว็บ
• เมนูแทรก เปนเมนูท่ีควบคุมเก่ียวกับการใชมีเดีย เชน การใสรูปภาพ ลิงก วิดิโอ แผนท่ี ปฏิทิน
และ gadget ตางๆ จงึ ทาํ ใหเมนูนี้ถกู ใชงานบอยที่สดุ

ภาพท่ี 7 การเพมิ่ หนาเพจเวบ็ ไซต
4. สรางเมนูหนาเพจ

1. เร่มิ ตนสรางเมนูหนาเพจ หนาเว็บ โดยคลกิ ทีป่ ุม ดานบนของหนาจอเมนูมุมดานขวาหนาเว็บ
2. เลือกดานลางคําวา สรางหนาเว็บใหมและเมนูหนาเพจ เมื่อเปดหนาสรางเพจใหมขึ้นมาแลว

กรอกช่ือ ตั้งชื่อหนาเว็บเพจ เมนู เลอื กตําแหนงเมนทู ตี่ องการ

ภาพท่ี 8 การสรางเมนหู นาเพจ

10

5. การใชงานธมี Theme Google Sites
• ใหเราเลอื กใชตามที่มีใหเทานั้น ไมสามารถเพิม่ หรือเองได

ภาพท่ี 9 การใชงานธีม Theme Google Sites
6. ขน้ั ตอนการสรางเน้อื หาในเวบ็ ไซต์

• การออกแบบเอกสาร จะใสรูปหรือขอความเน้ือหา ทําไดตามรูปแบบท่ี Google Sites กําหนด
มาใหเราเลอื กและวางตามจดุ ทเี่ ราตองการ ใสเน้อื ขอมูลและรูปภาพ

ภาพที่ 10 การสรางเนอ้ื หาในเว็บไซต์
• การใสรูปภาพ สามารถเลือกอัพโหลดที่รูปภาพท่ีตองการจะใสรูป หรือภาพที่ Google Sites

มีใหและปรบั ขนาดของภาพไดตามทเี่ ราตองการ

11

ภาพที่ 11 การใสรปู ภาพ
• การสรางลิงคในเว็บไซตเลือกขอความลากมาวางไวตามตําแหนงท่ีตองการ ใสขอมูลเนื้อหาที่ต

องการลิงค แลวเลอื ก URL เวบ็ ที่ตองการลิงคไปหา

ภาพท่ี 12 การสรางลิงคในเว็บไซต์
• การเชื่อมขอมูลจากไดรฟเลือกแบบฟอรมการประเมิน หรือแบบฟอรมท่ีเรามีในไดรฟเอามา

แทรกลงในหนาเพจของเราไดเลย

ภาพท่ี 13 การเช่ือมขอมูลจากไดรฟ์
• การสรางวีดีโอ เลือกวิดีโอจากท่ีเอาอัพโหลดเองหรอื เลอื ก Youtube เอามาแทรกลงในหนาเพจ

เราไดเลย

12

ภาพที่ 14 การสรางวีดโี อ
7. ขั้นตอนการเผยแพรเวบ็ ไซต์

• คลิกปมุ่ เผยแพร่ หรือ Pubphisher จะขน้ึ หนา้ เว็บไซตท์ ี่เราต้องการเผยแพร่
• กรอกข้อมูลลงไปแนะนำให้ใช้ตวั หนงั สอื ภาษาองั กฤษ และจะไดต้ ่อท้าย URL ของ Google site

ภาพท่ี 15 การเผยแพรเวบ็ ไซต์

13

ขอ้ ดีและข้อเสยี ของโปรแกรม Google site

ข้อดี ขอ้ เสีย

1. สามารถทำหน้าเว็บเพจของตัวเองอะไรก็ได้ 1. ไม่สามารถนำเอาตัวอกั ษรเลอ่ื นตา่ งๆมาใช้ได้

ขึ้นมา โดยเน้นท่ีความง่าย มี app. ให้ใช้อย่าง 2. ไม่มีท่ีแสดงความคิดเห็น ให้ผู้ที่เข้ามาชมได้

สะดวกโดยไมจ่ ำเป็นตอ้ งรเู้ ร่ือง html แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นซ่งึ กนั และกนั

2. สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และเป็น 3. ละเมิดกฎของ Google site ไซตจ์ ะถกู ปดิ ทันที

ความรู้ หรือบทเรียน อะไรอีกหลายๆอย่างได้ใน 4. ขาดความน่าเช่ือถือ เพราะดูเหมือน เราอาศัย

SITE ได้ เว็บคนอื่น

3. มีพื้นที่ให้บริการเยอะประมาณ 100 เมกะไบต์ 5. Google site จำกัดปริมาณการโหลดไฟล์ต่อวัน

ตอ่ site หรือตอ่ ชั่วโมง

4. มี Gadget เยอะแยะมากมาย และสามารถทำใน

รปู แบบที่เราต้องการได้

5. รูปแบบไซต์ ดูเป็นแบบมาตรฐานของเว็บไซต์

ท่วั ไป

6. พัฒนาได้ง่าย ปรับปรุงรูปแบบ ปรับแต่งข้อมูล

แบบออนไลน์

7. สามารถท่ีจะเก็บไฟล์ภาพ หรือไฟล์ชนิดต่างๆ

ไวใ้ นไซต์ของเราได้

8. ทำ link ภายในและภายนอกของไซตไ์ ด้

9. การตั้งคา่ สำหรับการเข้าถงึ และใชข้ อ้ มลู ร่วมกัน

10. เป็นที่รวมเข้ากับเคร่ืองมืออื่น ๆ ของ Google

เพื่อให้คุณ สามารถแบ่งปันวิดีโอภาพถ่าย งาน

นำเสนอและปฏทิ ิน

ตารางที่ 1 ข้อดแี ละข้อเสียของโปรแกรม Google site

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

1. ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น

พิมพันธ์ เตชะคุปต์ (2544 : 20) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์

(Learning Achievement In Science) หมายถึง ความรู้ความสามารถที่ผู้เรียนได้รับหลังการเรียนวิชา

วิทยาศาสตร์ ซ่ึงจะทราบว่ามีปริมาณมากน้อยเพียงใด ก็อาจจะกระทำได้โดยวัดได้จากการสอบแบบทดสอบ

วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์

14

กระทรวงศึกษาธิการ (2542 : 4) ได้ระบุผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว้ในหนังสือประมวลศัพท์
ทางการศึกษาว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสำเร็จหรือความสามารถในการกระทำใด ๆ ที่ต้อง
อาศัยทักษะหรอื มฉิ ะนน้ั ก็ต้องอาศยั ความรอบรู้ในวชิ าใดวิชาหนึง่ โดยเฉพาะ

พรรณี ชูทยั เจนจติ (2545 : 58) ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเปน็ คุณลกั ษณะ
และความสามารถของบุคคลท่ีพัฒนาการดีข้ึน อันเกิดจากการเรียนการสอน การฝึกอบรม ซึ่งประกอบด้วย
ความสามารถทางสมอง ความรู้ ทกั ษะ ความรสู้ กึ และคา่ นิยมต่าง ๆ

ผลสัมฤท ธิ์ท างการเรียน (Academic Achievement) ห มายถึง คุณ ลักษ ณ ะและ
ความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การ
เรียนรู้ท่ีเกิดจากการศึกษาอบรม หรือจากการสอบ การวัดผลสัมฤทธิ์จึงเป็นการตรวจสอบความสามารถหรือ
ระดับความสัมฤทธิ์ผล (Level of Accomplishment) ของบุคคลว่าเรียนรู้แล้วเท่าไร มีความสามารถแค่ไหน
ซง่ึ สามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุดมงุ่ หมายและลกั ษณะวิชาท่สี อน คอื

1. การวัดด้านปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติหรือทักษะของผู้เรียน
โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนแสดงความสามารถดังกล่าวในรูปการกระทำจริงให้ออกเป็นผลงาน เช่น วิชาศิลปศึกษา
พลศึกษา การชา่ ง เปน็ ตน้ ซึง่ การวดั ตอ้ งใช้ “ข้อสอบภาคปฏิบัต”ิ (Performance Test)

2. การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเน้ือหาความรู้ (Content) อันเป็น
ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรยี นรวมถึงพฤตกิ รรมความสามารถในด้านตา่ ง ๆ สามารถวัดไดโ้ ดยใช้ “ข้อสอบ
วดั ผลสมั ฤทธิ์” (ไพศาล หวังพานิช. 2523 : 137)

จากท่ีกล่าวมาแล้วเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
ผลของความสามารถของบุคคลท่ีต้องอาศัยทักษะ ความรอบรู้ ทัศนคติท่ีได้จากการเรียนการสอน การฝึกฝน
อบรมส่ังสอน ทำให้เกดิ ความสำเรจ็ หรอื ความสามารถในด้านต่าง ๆ

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
นกั การศึกษาไดใ้ หค้ วามหมายของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนพอสรุปได้ดังนี้
ศกึ ษาธกิ าร,กระทรวง (2542 : 9) ได้ใหค้ วามหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนไว้ว่า “เป็นแบบทดสอบท่ีมุ่งวัดว่านักเรียนมีความรู้ หรือความสามารถท่ีเกิดจากการเรียน
การสอนมากน้อยปานใด”

วรพจน์ นวลสกุล (2540 : 25) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน หมายถึง
แบบทดสอบท่ีใช้วัดความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่เกิดข้ึนในตัวผู้เรียน หลังจากท่ี
ผเู้ รียนศกึ ษาบทเรียนนน้ั จบแล้ว แบบทดสอบที่ใช้วัดจะสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ ของวิชาวิทยาศาสตร์

สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2542 : 34) ได้ให้ความหมายแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่าเป็นแบบทดสอบท่ี
วัดความรู้ความสามารถด้านต่าง ๆ เม่ือได้รับประสบการณ์เฉพาะอย่างไปแล้ว ซึ่งจะเป็นการวัดความสามารถ
ทางวิชาการต่าง ๆ โดยมงุ่ วัดวา่ นักเรยี นมีความรู้หรือมที ักษะใน วิชาน้ันมากนอ้ ยเพียงใด

ชาตรี เกิดธรรม (2542 : 16) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิว่า หมายถึง
แบบทดสอบที่ใช้วัดปรมิ าณความรู้ ความสามารถ ทักษะเก่ียวกับด้านวิชาการ ท่ไี ด้เรยี นรู้มาในอดีตว่ารบั รู้ไวไ้ ด้

15

มากน้อยเพียงไร โดยท่ัวไปแล้วมักใช้วัดหลังจากทำกิจกรรมเรียบร้อยแล้วเพื่อประเมินการเรียนการสอนว่า
ไดผ้ ลอย่างไร

จากที่กล่าวมาแล้วเก่ียวกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สรุปได้ว่าแบบทดสอบวัดผล
สมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง แบบทดสอบที่ใชว้ ัดความรคู้ วามเข้าใจจาก การเรียนรู้ ซ่ึงเป็นการวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางวิชาการของผูเ้ รยี นทีไ่ ด้รับจากการเรยี นรู้ในเนื้อหาวชิ าน้นั ๆ

ความพึงพอใจ
1. ความหมายของความพึงพอใจ
เดวสิ (Devis. 1981 : 83) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวัง

กบั ผลประโยชน์ทไี่ ด้รบั
ศโิ รรัตน์ พลไชย (2546 : 54) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรู้สกึ นึกคิดหรอื เจตคติของ

บุคคลท่ีมีต่อการทำงานหรือการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน และต้องการดำเนินกิจกรรมน้ัน ๆ
จนบรรลุผลสำเร็จ

วิวัฒน์ กุศล (2547 : 33) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีหรือทัศนคติท่ีดีของ
บคุ คล ซ่ึงมักเกิดจากการไดร้ ับการตอบสนองตามท่ตี นเองต้องการกจ็ ะเกิดความรสู้ ึกดีใน สง่ิ นัน้

จากความหมายท่ีกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลที่มี
ต่อการทำงาน การปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรยี นการสอนหรือบทเรียน โดยวดั จากแบบสอบถาม

2. ทฤษฎีเก่ียวกับความพงึ พอใจ
ในการปฏิบัติงานใด ๆ ก็ตาม การท่ีผู้ปฏิบัติงานจะเกิดความพึงพอใจต่อการทำงาน น้ันมากหรือ

น้อย ขึ้นอยู่กับส่ิงจูงใจในการทำงานท่ีมีอยู่ การสร้างสิ่งจูงใจหรือแรงกระตุ้นให้เกิดกับผู้ปฏิบัติงานจึงเป็น
สิง่ จำเป็น เพ่ือให้การปฏบิ ตั งิ านน้นั ๆ เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้

สก็อตต์ (Scott. 1970 : 124) ได้เสนอแนวคิดในเร่ืองการจูงใจให้เกิดความพึงพอใจ ต่อการทำงานท่ี
จะให้ผลเชงิ ปฏบิ ัติ มลี กั ษณะดงั น้ี

1. งานควรมีสว่ นสัมพันธ์กบั ความปรารถนาสว่ นตัว งานนั้นจะมคี วามหมายสำหรับผ้ทู ำ
2. งานน้ันต้องมีการวางแผนและวัดความสำเร็จ โดยใชร้ ะบบการทำงานและการควบคุมที่มี
ประสทิ ธิภาพ
3. เพ่ือให้ได้ผลในการจูงใจภายในเป้าหมายของงาน จะต้องมีลักษณะดังน้ี คือคนทำงานมี
สว่ นในการตัง้ เป้าหมาย ผู้ปฏบิ ตั ไิ ด้รบั ทราบผลสำเรจ็ ในการทำงานโดยตรง งานน้นั สามารถทำให้สำเร็จได้

3. การประเมินผลความพงึ พอใจ
การหาความพึงพอใจหรือความพอใจ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใช้ในการประเมินผลด้านคุณภาพใน

ลักษณะภาพรวมของบทเรียนที่ไม่ซับซ้อน ซ่ึงเป็นการสอบถามความรู้สึก หรือความชอบเก่ียวกับบทเรียนที่

16

พัฒนาข้ึน ซึ่งไม่มีเกณฑ์พิจารณาว่าควรสอบถามในประเด็นใดหรือ มีกรอบของประเด็นคำถามอย่างไร
เนื่องจากเป็นการสอบถามในภาพรวม อย่างไรก็ตามแนวทาง ท่ีใช้ในการกำหนดประเด็นคำถามท่ีนิยมใช้ มี
อยู่ 2 แนวทาง (มนตช์ ัย เทียนทอง. 2548 : 318) ดังน้ี

1. แนวทางการประเมนิ ภาพรวมทัว่ ๆ ไป เช่น สอบถามเกีย่ วกับสว่ นนำเข้าส่วนประมวลผล
และส่วนทแ่ี สดงผล โดยพิจารณารายละเอยี ดแตล่ ะส่วน ๆ ว่ามขี อ้ คำถามใดบ้าง ทจ่ี ะสอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับ
ความพงึ พอใจในการใช้บทเรยี น กลา่ วได้ว่าแนวทางนเ้ี ป็นแนวทางทม่ี ีการใชป้ ระเมินความพึงพอใจมากท่ีสุด

2. แนวทางการใช้ทฤษฎีประเมินผล เช่น อาจประยุกต์ใช้ CIPP Model หรือ Alkin
Model เป็นต้น โดยสามารถนำทฤษฎีประเมินผลที่มีอยู่มากำหนดกรอบในการประเมินความพึงพอใจของ
ผเู้ รยี นเกี่ยวกบั สาระ (Context) สว่ นนำเขา้ (Input) สว่ นประมวลผล (Process) และผลผลิต (Product)

การเก็บรวบรวมข้อมูลจะนิยมใช้แบบสอบถามมากกว่าการสัมภาษณ์ โดยการกระทำกับกลุ่ม

ตัวอย่างท่ีเป็นผู้ท่ีใช้บทเรียนโดยตรง เพื่อประเมินความพึงพอใจหลังจากที่ทดลองใช้บทเรยี นแล้ว ผลที่ได้จาก

การประเมินจะเป็นดัชนีบ่งชี้ความพึงพอใจของผู้เรียน สำหรับสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจท่ีได้จาก

แบบสอบถาม จะใช้ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยมและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน หรือใช้สถิติเปรียบเทียบความพึง

พอใจของผูเ้ รียนแตล่ ะกลุ่มกไ็ ด้

แบบประเมินความพึงพอใจในการเรียนรูข้ องผู้เรียนมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งมี

5 ระดบั คอื พงึ พอใจมากทสี่ ุด พงึ พอใจมาก พงึ พอใจปานกลาง พึงพอใจน้อย พึงพอใจน้อยทสี่ ดุ โดยกำหนด

เกณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี

พงึ พอใจมากท่สี ดุ ใหค้ ะแนน 5 คะแนน

พึงพอใจมาก ใหค้ ะแนน 4 คะแนน

พึงพอใจปานกลาง ให้คะแนน 3 คะแนน

พงึ พอใจน้อย ให้คะแนน 2 คะแนน

พึงพอใจน้อยท่สี ุด ใหค้ ะแนน 1 คะแนน

ค่าเฉลี่ยท่ีผู้เช่ียวชาญประเมินแต่ละข้อแล้วเทียบเกณฑ์การประเมิน โดยใช้เกณฑ์ การแ ปล

ความหมายคะแนนของ Likert ดังน้ี

4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ

3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก

2.50 – 3.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อย

ตำ่ กวา่ 1.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยทีส่ ุด

จากหลักการทฤษฎีที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าความพึงพ อใจในการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญ
ความพึงพอใจในการเรียนและผลการเรียนรู้จะมีความสัมพันธ์กันในทางบวก ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรขู้ องผู้เรียน จึงต้องคำนึงถึงผลด้านความรู้สึกของผู้เรยี นทีเ่ กดิ แก่ตัวผู้เรียน

17

เช่น ความรู้สึกต่อความสำเร็จที่เกิดข้ึน เพ่ือเอาชนะความยุ่งยากต่าง ๆ ทำให้เกิดความภาคภูมิใจความม่ันใจ
ตลอดจนไดร้ บั การยกยอ่ งจากบคุ คลอ่ืน

งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
โอภาส เกาไศยาภรณ์ (2548 : 75) ได้พฒั นาบทเรียนการแสวงรู้บนเว็บ เรื่อง การจัดพิพธิ ภัณฑ์

ในสถานศึกษา พบวา่ รูปแบบการเรียนด้วยบทเรียนการแสวงรบู้ นเวบ็ น้ีชว่ ยเพ่มิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ให้แก่
ผู้เรียน ท้ังด้านการเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักและการเรียนแบบสืบสวนสอบสวน ซึ่ง
ผ้เู รยี นจะต้องนำความรู้ที่ได้จากการสบื คน้ มาวเิ คราะหซ์ ึ่งเปน็ จุดหลกั ท่ีสำคญั ของการศึกษาในปัจจบุ นั ทไ่ี ม่เน้น
ให้ผู้เรยี นท่องจำ แต่เน้นความสามารถนำความร้ทู ี่ได้มาบูรณาการ และวิเคราะห์ออกมาเป็นความรู้ของตนเอง
หรือที่เรียกว่าการสร้างองค์ความรู้โดยผู้เรียนเอง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนท่ี
เรียนด้วยบทเรียนการแสวงรู้บนเว็บ เร่ือง การจัดพิพิธภัณฑ์ในสถานศึกษาหลังเรียนสูงถึงร้อยละ 82.3 ซ่ึงสูง
กว่ากอ่ นเรียน และผู้เรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ บทเรียนการแสวงรู้บนเว็บในระดับมาก

ปาณิสรา สิงหพงษ์ (2560) ได้ทำการศึกษาวิจัยในช้ันเรียน เร่ือง การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียน
ออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Siteเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์(ง
31231)ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสายปัญญารังสิต t ผลการศึกษาพบว่า 1)บทเรยี นออนไลน์
ด้วยโปรแกรม Google Site มีประสิทธิภาพเท่ากับ 91.69/88.65 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนหลังการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site สูงกว่าเกณฑ์ร้อย
ละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ผ่าน
บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรมGoogle Site โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( = 4.29,
S.D.=0.52)

กณิการ์ ปัญญาอ่ินแก้ว(2559) ได้ทำการศึกษาทำวิจัยในช้ันเรียน เรื่อง การพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บด้วย Google Site รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
โดยมีวัตถุประสงค1์ ) เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ก่อนและหลัง
ได้รับการจัดการเรียนรู้และ 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
ผ่านเว็บ ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 2) ความพึง
พอใจของผู้เรียนที่มีต่อการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บด้วย Google Site รายวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ 3 ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ ่าน
เว็บด้วย Google Site รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 เว็บไซต์มีความน่าสนใจและน่าเรียนรู้อยู่ในระดับมาก
ทีส่ ดุ ( = 4.60) รองลงมา คือ สื่อเสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียนอยใู่ นระดับมาก ( = 4.40) และมคี วาม
สนุกสนานระหว่างในการชมเวบ็ ไซต์อยใู่ นระดบั มาก ( = 4.30)

18

ปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล (2562) ได้ทำการศึกษาวิจัยในช้ันเรียน เร่ือง การพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google Site รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 เรื่อง คล่ืนเสียง รหัสวิชา ว
30203 สำหรับนกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 การวจิ ยั ครง้ั นี้มวี ตั ถุประสงค์ 1) เพ่อื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนในรายวิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 เรื่อง คล่ืนเสียง รหัสวิชา ว30203 สำหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตรโ์ รงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย ก่อนและหลังการได้รับ
การจัดการเรียนรู้ และ 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google Site รายวิชา ฟิสิกส์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในรายวิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 เรื่อง คลื่นเสียง หลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการ
เรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 2) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Google Site รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 เรื่อง คล่ืนเสียง ในภาพรวม
อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง อยู่ในระดับมาก (X = 4.40,
S.D.= 0.76) รองลงมาคือ เน้ือหามคี วามเหมาะสมกบั นักเรียน อยู่ในระดับมาก ( X= 4.10, S.D.= 0.72) และ
การเรียนการสอนมีกิจกรรมที่มุ่งเน้นใหน้ ักเรียนมสี ว่ นร่วม อย่ใู นระดบั มาก ( X= 3.98, S.D.= 0.90)

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอสิ ระ การจัดการเรียนร้ดู ว้ ยเน้ือหา ตัวแปรตาม
Google Site เครือ่ งมือชว่ ย และบทเรยี นใน Google site ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นในรายวิชา

อำนวยความสะดวกใน วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ สูงขึน้
การเรยี นรู้

ความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ผ่านเวบ็ ไซตด์ ้วย
โปรแกรม Google Site

ภาพท่ี 16 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

19

บทที่ 3
วธิ ีการดำเนินการวจิ ัย

การวิจัยน้ีผู้วิจัยมุ่งท่ีจะศึกษาเก่ียวกับการสร้าง Google site เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความ
สะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ในการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ซึ่งในบทน้ีจะได้
กลา่ วถึงสาระสำคญั เกยี่ วกบั วิธีดำเนินการวิจยั ดังนี้

1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง/กลุม่ เป้าหมาย
2. เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
3. ขน้ั ตอนการสร้างเคร่ืองมือ
4. วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
6. สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/กล่มุ เปา้ หมาย
• ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
ครง้ั น้ีได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนประชา

มงคล อำเภอหนองปรอื จงั หวดั กาญจนบุรี จำนวน 6 ห้องเรียน นักเรยี นจำนวน 186 คน

• กลุม่ ตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการศึกษา
ครั้งน้ีได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนประชา
มงคล อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 35 คน ได้จากการสุ่มอย่าง
ง่ายโดยการเลอื กแบบแบ่งกลมุ่ (Cluster Sampling)

2. เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษา
1. ส่อื การเรยี นรู้ออนไลน์ Google site
2. แบบประเมินความพงึ พอใจในการใช้ Google site เคร่ืองมอื ช่วยอำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้

3. ขน้ั ตอนการสรา้ งเครอ่ื งมือ
1) บทเรยี นออนไลน์ด้วยแอพพลิเคช่นั Google Site
1. วิเคราะห์ผูเ้ รยี น/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ หลักสูตร/แนวคิดทฤษฎีทีเ่ กีย่ วข้อง/การสร้างเครอื่ งมือ
2. ออกแบบบทเรียนออนไลน์/ เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
3. สร้างบทเรยี นออนไลน์ (ประเมิน ปรบั ปรงุ แก้ไข)
4. ทดลองใชก้ บั นักเรียนแบบกลุม่ 5 คน (ประเมินผลแลว้ นำไปปรับปรงุ )
5. ทดลองใชก้ บั นักเรยี นแบบกลมุ่ 30 คน (ประเมนิ ผลแล้วนำไปใช)้

20

2) แผนการจัดการเรียนรู้ ได้ศึกษาโครงสร้างหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา
ตัวช้ีวัด จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ช้ินงาน/ ภาระงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล ตามแนวทฤษฎสี ร้างสรรคค์ วามรูข้ องยาเกอร์ (Yager)

3) แบบประเมินความพึงพอใจ ได้ศึกษาทฤษฎีวิธีการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจ สร้างแบบ
ประเมินความพึงพอใจ กำหนดมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับของลิเคอร์ท Likert, Rensis
A. (1961). โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. ตอนที่ 1 ขอมลู สภาพท่ัวไปของผูตอบ ซึง่ ประกอบดวย เพศ สถานภาพ ชัน้ ห้อง
2. ตอนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกับการสำรวจความพึงพอใจ โดยการตอบ แบบสํารวจใหเลือกตอบ 5 ระดับความ
พงึ พอใจ ดงั นี้

5 หมายถึง ความพงึ พอใจมากท่สี ดุ
4 หมายถงึ ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง ความพงึ พอใจนอ้ ย
1 หมายถึง ความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ดุ

4. วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1) ทำการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site จำนวน 20 ช่ัวโมง
ตามแผนการจัดการเรยี นรู้
2) ฝึกให้นักเรียนได้ใช้บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เช่น การเข้าไปทำใบกิจกรรม
การเข้าไปสง่ งาน และการตรวจสอบความกา้ วหน้าของการทำงาน

5. การวเิ คราะห์ข้อมลู

ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผู้ศึกษาได้ดำเนินการดงั น้ี

1. ศึกษาผลของความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการใช้ Google site โดยการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบ

สำรวจความพึงพอใจแบบประเมินคา่ 5 ระดับ (Rating scale) ของลิเคิร์ท

2. ทดสอบหาคา่ T-Test โดยเปรยี บเทียบเทยี บกบั ค่า T-score เพอ่ื ทดสอบสมมตฐิ าน

3. คำนวณหาค่า เฉล่ีย และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน โดยเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ ดงั นี้

ตารางท่ี 2 เกณฑก์ ารประเมินผลความพึงพอใจ

ชว่ งค่าเฉลย่ี (ค่าเฉลีย่ ) ความหมาย

4.51 – 5.00 มีความพงึ พอใจมากท่ีสุด

3.51 – 4.50 มคี วามพงึ พอใจมาก
2.51 – 3.50 มีความพงึ พอใจปานกลาง
1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจนอ้ ย

1.00 – 1.50 มีความพงึ พอใจน้อยทส่ี ุด

ที่มา : บุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 166 ) อ้างถึงใน (วันเพญ็ ศรีมะโรง และสมุ ัทนา รตั นกลุ ,2557)

21

6. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล
6.1. คา่ เฉล่ีย (บุญชม ศรีสะอาด, 2535, หนา้ 102)

เมอื่ X หมายถึง คา่ เฉลี่ย
∑X หมายถึง ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
N หมายถงึ จำนวนข้อมูลทง้ั หมด

6.2 .ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2535, หน้า 103)

เมอื่ S.D. หมายถึง สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
∑X2 หมายถงึ ผลรวมของคะแนนยกกำลงั สอง
(∑X)2 หมายถึง กำลงั สองของคะแนนผลรวม
N หมายถงึ จำนวนขอ้ มูลทั้งหมด

6.3 การคำนวณ t-test dependent (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554)
สูตรการหา t-test dependent โดยคำนวณจากสูตร

โดย t แทน คา่ t - distribution
แทน ผลรวมของความตา่ งของคะแนนสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน

2 แทน ผลรวมของความต่างกำลังสองของคะแนนสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น
N แทน จำนวนนักเรยี น

22

บทที่ 4
ผลการศึกษา

การวิจัยนี้ผู้วิจัยมุ่งที่จะศึกษาเกี่ยวกับการสร้าง Google site เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยอำนวยความ
สะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ในการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงในบทน้ีจะได้
กลา่ วถงึ สาระสำคัญเกย่ี วกบั ผลการศึกษาดงั น้ี
ผวู้ จิ ัยไดน้ ำเสนอผลการวจิ ัยเป็น 2 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 โรงเรียนประชามงคล ก่อนและหลังการจัด
การเรียนรู้

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google site เป็นเครื่องมือช่วย
อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรือ่ ง การดำรงชีวติ ของพืช ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปที ่ี 4/3 โรงเรยี นประชามงคล

ผลการวิจยั
ตอน ท่ี 1 ผลการเป รียบ เทียบ ผลสัมฤทธ์ิท างการเรียนในรายวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภ าพ

เร่ือง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนประชามงคล ก่อนและหลังการจัด
การเรยี นรู้ ปรากฏดังตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนประชามงคล ก่อนและหลังการจัด
การเรยี นรู้

คะแนน จำนวน (n) คะแนนเตม็ คา่ เฉลีย่ ( X ) ค่ า เบี่ ย ง เบ น
ม า ต ร ฐ า น t-test
ก่อนเรียน 35 20 5.23 (S.D.)
15.03 1.56 23.06*
หลงั เรยี น 35 20 2.25

* มีนัยสำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลังไดร้ บั การจดั การเรียนรูส้ งู กว่า
กอ่ นได้รบั การจัดการเรยี นรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05 ซงึ่ สอดคลอ้ งกับสมมติฐานทต่ี ง้ั ไว้

23

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google site เป็นเคร่ืองมอื ช่วยอำนวยความ
สะดวกในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3
โรงเรียนประชามงคล ปรากฏผลดังตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google site เป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความ

สะดวกในการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรอ่ื ง การดำรงชีวติ ของพืช ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/3

ข้อท่ี รายการประเมนิ ค่าเฉลี่ย S.D. ระดับความ

ด้าน 1 คำแนะนำในการใช้บทเรียน X พึงพอใจ

1 มตี วั หนังสือ ขอ้ ความ บอกชดั เจน 3.85 0.79 มาก

2 คำแนะนำในบทเรียนสะดวกตอ่ การใช้ 3.87 0.82 มาก

3 คำแนะนำในบทเรียนช่วยให้เข้าใจวิธีการเรียนเพ่ือบรรลุ 3.66 0.96 มาก

วตั ถปุ ระสงค์

4 นักเรียนเข้าใจการใช้บทเรียนได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีผู้ 3.19 0.97 ปานกลาง

แนะนำ

คา่ เฉลี่ยรวม 3.64 0.89 มาก

ด้าน 2 เน้อื หาในบทเรียน

1 เนือ้ หามีความเหมาะสมกบั นกั เรยี น 4.10 0.72 มาก

2 เนื้อหาทำให้นักเรียนสามารถเรียนได้ตามความแตกต่าง 3.56 1.00 มาก

ระหวา่ งบคุ คล เชน่ เรยี นรชู้ า้ เรียนร้เู รว็

3 ภาษาทใ่ี ชใ้ นบทเรียนเขา้ ใจงา่ ย 3.52 1.00 มาก

4 เนอ้ื หาในบทเรียนใหท้ ัง้ ความรู้และความเพลิดเพลนิ นา่ สนใจ 3.44 1.02 ปานกลาง

5 นักเรียนสามารถอ่านและทำความเข้าใจในเน้ือหาได้ด้วย 3.40 1.06 ปานกลาง

ตนเอง

6 ความเหมาะสมของจำนวนข้อสอบและความยากง่ายของ 3.52 0.94 มาก

ข้อสอบ

7 กิจกรรมในเนอื้ หามีความเหมาะสม 3.73 0.94 มาก

คา่ เฉลีย่ รวม 3.61 0.94 มาก

ตารางท่ี 4 (ตอ่ ) รายการประเมิน 24
ขอ้ ที่
ค่าเฉลี่ย S.D. ระดับความ
ดา้ น 3 การออกแบบบทเรยี น X พงึ พอใจ
1 ขนาด รปู แบบ และสขี องตวั อักษรมีความเหมาะสม
2 ภาพกราฟกิ ภาพเคลือ่ นไหว สถานการณ์จำลองและวดี ีโอ 3.94 0.94 มาก
4.08 0.98 มาก
การทดลองในบทเรยี นมีความเหมาะสม
3 บทเรยี นช่วยเพม่ิ ทักษะในการศกึ ษาคน้ ควา้ สำหรบั นักเรียน 3.79 0.94 มาก
4 นักเรยี นไดล้ งมอื ปฏิบัติจริง 4.40 0.76 ปานกลาง
5 บทเรียนชว่ ยแก้ปญั หาการเรยี นไมท่ ันเพื่อนได้ 3.48 1.13 ปานกลาง
6 บทเรียนช่วยแก้ปัญหาบางเน้ือหาทไี่ ม่สามารถมองเห็น 3.65 0.96 มาก

ได้จรงิ ใหส้ ามารถมองเห็นได้ชัดเจน 3.86 0.95 มาก
คา่ เฉล่ียรวม
ดา้ น 4 การเกบ็ บันทกึ ขอ้ มลู และการจัดการในบทเรียน 3.45 1.02 ปานกลาง
1 บทเรียนทำใหน้ กั เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองมากข้นึ 3.69 0.93 มาก
2 นกั เรียนสามารถเรียนรูเ้ นือ้ หาจากบทเรียนไดส้ ะดวกรวดเร็ว 3.82 1.14 มาก
3 นกั เรียนสามารถศกึ ษาบทเรยี นไดท้ ุกสถานที่ ทกุ เวลา 3.18 1.12 ปานกลาง
4 บทเรยี นช่วยใหน้ ักเรยี นมสี มาธิในการเรยี นนานข้ึน 3.60 0.97 มาก
5 กจิ กรรมในบทเรียนกระตนุ้ ความสนใจให้นกั เรยี นอยากเรยี น 3.34 1.06 ปานกลาง
6 เรยี นแล้วเกิดความเขา้ ใจในเนื้อหาไดง้ ่าย 3.32 1.11 ปานกลาง
7 นักเรียนสามารถเลือกเรียนเนอ้ื หาไดต้ ามความสนใจ 3.69 1.00 มาก
8 มีความสะดวกเมื่อต้องการเรยี นเนอื้ หาในบทเรียนซำ้ 3.95 0.97 มาก
9 สามารถยอ้ นกลับ เข้า - ออก บทเรยี นได้ง่าย 3.53 0.88 มาก
10 มกี ารออกแบบมสี อื่ การเรียนรู้ใหน้ ักเรียนค้นหาด้วยตนเอง 3.60 1.06 มาก
11 นักเรียนชอบกิจกรรมในบทเรียน 3.98 0.90 มาก
12 บทเรียนมีใบกิจกรรมทมี่ ีชีวิต มีความนา่ ตน่ื เต้น 3.79 1.01 มาก
13 นักเรยี นชอบส่ือการสอนในรูปแบบนี้ 3.55 1.10 มาก
14 นักเรยี นมีความสุข สนกุ เพลดิ เพลนิ ต่อการเรยี น 3.89 0.99 มาก
15 นักเรยี นได้ประโยชน์จากการใชบ้ ทเรยี นน้ี 3.64 0.97 มาก
คา่ เฉลี่ยรวม 3.68 0.97 มาก
คา่ เฉลีย่ รวมท้งั หมด

25

จากตาราง 4 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google site เป็น
เคร่ืองมือช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เร่ือง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.68, S.D.= 0.97)
เม่ือแยกเป็นรายดา้ นปรากฏผลดงั น้ี

ดา้ นที่ 1 คำแนะนำในการใชบ้ ทเรียน
คะแนนเฉลยี่ สูงสุด คอื ข้อ 2 คำแนะนำในบทเรียนสะดวกตอ่ การใช้ ( X = 3.87, S.D.= 0.82)
คะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อ 4 นักเรียนเข้าใจการใช้บทเรียนได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้อง

มีผแู้ นะนำ ( X = 3.19, S.D.= 0.97)

ดา้ นที่ 2 เน้ือหาในบทเรยี น
คะแนนเฉลย่ี สูงสดุ คอื ข้อ 1 เนื้อหามคี วามเหมาะสมกบั นักเรยี น( X = 4.10, S.D.= 0.72)
คะแนนเฉล่ียต่ำสุด คอื ข้อ 5 นกั เรียนสามารถอ่านและทำความเขา้ ใจเน้อื หาไดด้ ้วยตนเอง
( X = 3.40, S.D.= 1.09)

ด้านท่ี 3 การออกแบบบทเรยี น
คะแนนเฉล่ยี สงู สุด คอื ขอ้ 4 นกั เรียนได้ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ ( X = 4.40, S.D.= 0.76)
คะแนนเฉลี่ยตำ่ สุด คอื ข้อ 5 บทเรยี นชว่ ยแกป้ ัญหาการเรยี นไม่ทนั เพ่อื นได้ ( X = 3.48,
S.D.= 1.13)

ดา้ นที่ 4 การเกบ็ บนั ทกึ ขอ้ มลู และการจดั การในบทเรยี น
คะแนนเฉล่ยี สงู สดุ คือ ข้อ 12 บทเรยี นมีใบกจิ กรรมท่มี ชี วี ิต มีความนา่ ตื่นเต้น ( X = 3.98,
S.D.= 0.90)
คะแนนเฉลย่ี ต่ำสดุ คือ ข้อ 4 บทเรียนช่วยใหน้ กั เรยี นมีสมาธใิ นการเรยี นนานข้นึ ( X = 3.18,
S.D.= 1.12)

26

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผลการวิจัย และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยนี้ผู้วิจัยมุ่งที่จะศึกษาเกี่ยวกับการสร้าง Google site เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยอำนวยความ
สะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ในการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งในบทน้ีจะได้
กล่าวถงึ สาระสำคัญเกีย่ วกบั สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะดงั น้ี

สรปุ ผลการวจิ ยั
การสร้าง Google site เพื่อเป็นเคร่ืองมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชา

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/3 ในการจดั การเรียนร้รู ปู แบบออนไลน์ ในชว่ งการแพร่
ระบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 35 คน ผลการวิจยั พบว่า

1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3

กอ่ นการจัดการเรยี นรู้ ( =5.23) และหลงั การจัดการเรียนรู้ ( =15.03) ซ่ึงผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั ไดร้ ับ
การจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ
สมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้

2. ผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ Google site เพื่อเป็น
เครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่
4/3 ในการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงอยู่ใน

ระดับมาก ( = 4.40, S.D.= 0.76) รองลงมาคือ เนื้อหามีความเหมาะสมกับนักเรียน อยู่ในระดับมาก

( = 4.10, S.D.= 0.72) และบทเรียนมีใบกิจกรรมที่มีชีวิต มีความน่าตื่นเต้น อยู่ในระดับมาก ( = 3.98,
S.D.= 0.90)

อภิปรายผลการวิจัย
การสร้าง Google site เพ่ือเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิ ชา

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/3 ในการจดั การเรยี นรรู้ ูปแบบออนไลน์ ในชว่ งการแพร่
ระบาดของโรคตดิ ต่อเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อภปิ รายผลการวจิ ัยได้ดังน้ี

ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในรายวชิ า วิทยาศาสตร์

ชีวภาพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การดำรงชีวิตของพืช ก่อนการจัดการเรียนรู้ ( =5.23) และหลังการ

จัดการเรียนรู้ ( =15.03) ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการ

27

เรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ เพชราวลัย ถิระวณัฐพงค์ (2556)
ได้พัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การใช้นวัตกรรม Google Apps. For Education มาเป็นตัวช่วยใน
การเรียนการสอนคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบก่อนเรียนอย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 น่ันคือ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์มีผลทำให้คะแนนเฉล่ียจากการทดสอบหลัง
เรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการสอบกอ่ นเรียน ซงึ่ จะเห็นได้ว่าเม่ือนำบทเรยี นท่ีผา่ นส่ือออนไลน์มาใช้จะทำให้
มผี ลการเรียนทีเ่ พม่ิ สงู ข้ึนอยา่ งเห็นไดช้ ัด

ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ Google site
เพ่ือเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ในการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียนไดล้ งมือปฏิบัติ
จริง อยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D.= 0.76) รองลงมาคือ เน้ือหามีความเหมาะสมกับนักเรียน อยู่ในระดับ
มาก ( = 4.10, S.D.= 0.72) และบทเรียนมีใบกิจกรรมที่มีชีวิต มีความน่าต่ืนเต้น อยู่ในระดับมาก
( = 3.98, S.D.= 0.90) เน่ืองจากการใช้ Google site เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการ
เรยี นรู้ทำให้นักเรียนเรยี นร้เู นื้อหาได้อย่างมีความสขุ สนุกสนาน นา่ สนใจศกึ ษาเรียนรู้ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัย
ของ ปริญญา อินทรา. (2556) ได้สร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง วงจร
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีมี
รปู แบบน่าสนใจ มีความชัดเจน มีรูปแบบดึงดูดใจผู้เรียน จะสามารถดึงดูดผู้เรียนให้เกิดความสนใจที่จะศึกษา
และทำความเข้าใจในเน้ือหาได้ดีย่ิงขึ้น ส่งผลทำให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
อยู่ในระดับมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมื่อมีการนำสื่อที่มีรูปแบบที่สามารถดึงดูดความสนใจผู้เรียนมาใช้ประกอบการ
จดั การเรยี นการสอนจะทำให้ผู้เรยี นมคี วามสุข และสนกุ กบั การเรียนร้อู ย่างไม่เบอื่ หนา่ ย

ข้อเสนอแนะ
การสร้าง Google site เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้รายวิชา

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4/3 ในการจดั การเรียนรรู้ ปู แบบออนไลน์ ในชว่ งการแพร่
ระบาดของโรคติดตอ่ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 มีข้อเสนอแนะดังน้ี

1. การสร้าง Google site เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ สามารถนำไป
ปรบั เนื้อหาเพือ่ ประยุกต์ใชใ้ นรายวิชาอน่ื ๆ ได้ เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจของผู้เรียน

2. ระบบอินเทอร์ควรมีความเร็ว 1.1 Mbps เป็นขั้นต่ำ เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาเวลานักเรียนเข้าสู่
Google site เครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรยี นรู้

3. ตอ่ ยอดและเพ่มิ กจิ กรรมใหม้ ากขึ้น ใหน้ กั เรียนไดม้ ีพื้นทีก่ ารทำกิจกรรมบทโลกออนไลน์
4. ศึกษาและเพ่ิมเติมชอ่ งทางติดต่อระหว่างครผู สู้ อนกบั ผเู้ รยี น

28

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
(พมิ พค์ รั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารรบั ส่งสนิ ค้าและพสั ดุภณั ฑ์.

กาญจนา อรณุ สุขรจุ .ี (2546). ความพึงพอใจของสมาชกิ สหกรณ์ต่อการดำเนินงานของสหกรณ์.
จักรกฤษ ณ์ จัน ท ระคุณ และคณ ะ. ก ารพั ฒ น าขุ ด กิจกรรมส่ งเสริม การอ่าน คิ ดวิเค ราะห์

และเขียนสำหรับนักเรียนขั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 5. การศึกษาค้นคว้าด้วยตน เอง กศ.ม.
(หลกั สูตรการสอน). มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. พิษณโุ ลก.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2537). ชดุ การสอนระดับประถมศึกษา. เอกสารการสอนวชิ าสือ่ การ
สอนระดบั ประถมศึกษา หนว่ ยที่ 8-15. มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
ถาวร สายสืบ. (2535). นวกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก.
พิษณุโลก.
ธีระชยั ปรู ณโชต.ิ (2542). การสอนแบบบูรณาการ ใน ประมวลบทความการเรยี นการ
สอนและการวจิ ยั ระดบั มธั ยมศึกษา. จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . กรุงเทพฯ.
นั น ทิ ม า น า ค า พ งศ์ . (2 5 5 9 ) . ก า ร วิ จั ย เพ่ื อ พั ต น า ก า ร เรี ย น รู้ . วิ ท ย า ลั ย ก า ร ศึ ก ษ า
มหาวิทยาลัยพะเยา. พะเยา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2537). พัฒนาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
มหาสารคาม. (2545). การวจิ ยั เบอ้ื งตน้ . พมิ พค์ รงั้ ท่ี7. กรงเทพฯ.
วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก. ราชบัณฑิตสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราช
บณั ฑติ สถาน พ.ศ. 2542 (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า
: http://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2526), การวัดและประเมินผลการศึกษา: แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ. งาน
ตำราและคำสอน มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ ค.ม., สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏราช
นครินทร์. ฉะเชงิ เทรา.
ภัทรา นคิ มานนท.์ (2538). การประเมนิ ผลการเรยี น.กรงุ เทพฯ :อกั ษราพพิ ัฒน์.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2530). การสร้างและพัฒนาแบบทกสอบวัดผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ : สำนักทดสอบทาง
การศกึ ษาและจติ วิทยา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา :
http://lib.vu.ac.th/ULIB/dublin.php?ID=10797.
ศิริลักษณ์ หนองเส. (2545). สรุปรายงานวิจัยการศึกษาความสามารถทางการพ่ึงพาตนเอง ด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม

29

ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิทยานิพนธ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท). (ออนไลน์). http://www.ipst.ac.th.
สถาพร พลราชม. (2554). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน
เพ่ือเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วารสารบัณฑติ ศึกษา. 10(49).
สมหญิง กลั่นศริ ิ. (2535). เทคโนโลยีทางการศกึ ษาเบื้องต้น. ภาควิชาหลกั สูตรและวิธีสอน คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศิลปากร. กรุงเทพฯ.
องอาจ นัยพัฒน์ และนันท์นภัส พลเตมา. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและใช้นวัตกรรมทาง
การศึกษาผ่านเครือข่ายการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาวิชาชีพครูในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. วารสาร
พฤติกรรมศาสตร์,

30

ภาคผนวก

31

ตารางท่ี 5 การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรียน

คนที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรยี น ผลตา่ ง (ผลตา่ ง)2
(X1) (X2) (D = X2-X1) D2
81
15 14 9 81
49
25 14 9 144
81
33 10 7 81
121
47 19 12 121
121
54 13 9 100
100
65 14 9 169
64
76 17 11 100
81
87 18 11 49
169
96 17 11 64
169
10 6 16 10 169
49
11 5 15 10 144
121
12 5 18 13 25
64
13 7 15 8 289
49
14 4 14 10 49
196
15 5 14 9

16 5 12 7

17 4 17 13

18 6 14 8

19 5 18 13

20 7 20 13

21 8 15 7

22 4 16 12

23 6 17 11

24 6 11 5

25 3 11 8

26 3 20 17

27 8 15 7

28 5 12 7

29 4 18 14

32

คนท่ี คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนหลังเรยี น ผลตา่ ง (ผลต่าง)2
(X1) (X2) (D=X2-X1) D2
18 121
30 7 14 11 49
13 7 64
31 7 15 8 169
16 13 121
32 5 13 11 100
526 10 3724
33 2 15.03 350 -
2.25 - -
34 5 -

35 3

รวม 183

เฉลี่ย 5.23

S.D. 1.56

สมมติฐานในการวิจัยคือ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มีขั้นตอนใน
การวิเคราะห์ t-test ดังนี้

ขัน้ ที1่ การตง้ั สมมตฐิ านหลักและสมมตฐิ านรอง
H0 :
H1 : >

โดย คือ คะแนนสอบก่อนเรียน
คือ คะแนนสอบหลังเรียน

จากสมการ

33

ขนั้ ท่ี 2 เปิดตารางหาค่าวกิ ฤตของ t (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554)

เมือ่ df = n-1 (n คือจำนวนนักเรยี นเท่ากบั 35 คน)

จะไดว้ ่า df = 35 – 1

ดงั นน้ั df = 34

ระดับนัยสำคัญที่ .05 และเป็นกรณี Dependent Sample พบว่าค่าวิกฤติของ t จากตาราง
เท่ากบั 1.6909

ข้ันที่ 3 เปรียบเทียบค่า t ที่คำนวณได้จากข้ันที่ 1 คือ 23.06 กับค่าวิกฤตของ t จากตาราง คือ 1.6909

ค่า t ท่ีคำนวณได้มีค่ามากกว่าค่าวิกฤตของ t จึงปฏิเสธสมมติฐานหลักท่ีว่า H0 : และยอมรับ

สมมตฐิ านตรงขา้ มท่ีว่า H1: > นน่ั คอื ค่าเฉลี่ยหลงั เรียนมีคา่ มากกว่าค่าเฉล่ยี ก่อนเรียน

สรปุ ได้วา่ ผลการสอนโดยใช้ Google site เพื่อเป็นเครอ่ื งมือช่วยอำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้
รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
4/3 ในการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ทำใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู ข้ึน อยา่ งมนี ยั สำคญั ทีร่ ะดบั .05 เม่อื เทียบกบั กอ่ นการเรยี น

34

ตารางแจกแจงค่า t

35

ตัวอยา่ งการสร้าง Google site เพอ่ื เปน็ เครอื่ งมือชว่ ยอำนวยความสะดวกต่อการเรยี นร้รู ายวชิ าวิทยาศาสตร์
ชีวภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การดำรงชวี ติ ของพชื ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 ในการจัด
การเรยี นรรู้ ปู แบบออนไลน์ ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

36