เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

หน้าเว็บไซน์นี้เป็นเพียงการให้ความรู้ ชนิดของเครื่องมือวัดเท่านั้น สินค้าบางชนิดเราไม่มีจำหน่าย กรุณาติดต่อฝ่ายขายอีกครั้ง

เครื่องมือวัด (Measuring Tool) คือ เครื่องมือสำหรับใช้ในการวัดเพื่อบ่งชี้บอกระยะหรือขนาดในการกำหนดตำแหน่ง ตรวจสอบระยะหรือขนาดความกว้าง ความยาว ความสูงหรือความหนาของวัสดุชิ้นงาน ฯลฯ เครื่องมือวัดมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ รูปร่างที่แตกต่างกันตามประโยชน์ใช้งาน

1. ฟุตเหล็ก หรือบรรทัดเหล็ก (Stainless Steel Ruler) ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม ทนต่อการสึกหรอ และคราบน้ำมัน ใช้วัดขนาดที่ไม่ต้องการความละเอียดมากนัก

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

2. เวอร์เนียคาลิเปอร์( Vernier Caliper) ใช้วัดงานละเอียดได้ถึง 0.01 ม.ม. หรือ 0.001 นิ้ว วัดได้ทั้ง วัดนอก วัดใน และวัดความลึก ระยะกว้างสุดวัดได้ถึง 6 นิ้ว หรือ 120 ม.ม.

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

3. ไมโครมิเตอร์คาลิเปอร์ (Micrometer Caliper) วัดได้ละเอียดกว่าเวอร์เนีย ฯ ใช้หลักการเคลื่อนที่ของเกลียวในการวัดระยะ เมื่อหมุนไมโคร ฯ 1 รอบ จะได้ระยะเคลื่อนที่เท่ากับระยะ พิช (Pitch) ของเกลียว

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

4.ฟีลเลอร์เกจ (Feeler gauge) ใช้สำหรับการตั้งระยะห่างของวาล์วไอดี และวาล์วไอเสียเพื่อการปรับแต่งเครื่องยนต์

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

5. บรรทัดฉาก (เหล็ก) ใช้สำหรับวัดมุมของชิ้นส่วนเพื่อให้ได้ฉาก 90 องศา จะไม่ค่อยนำมาใช้ในงานช่างยนต์มากนัก

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

6. มิเตอร์วัดไฟ (Meter) เป็นทั้งมิเตอร์วัดแรงเคลื่อน และกระแสไฟ และความต้านทาน สามารถปรับค่าการวัดได้ตามต้องการ ใช้ตรวจเช็คอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

7. ไขควงวัดไฟ ใช้กับการวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าในอุปกรณ์ไฟฟ้าในรถยนต์ จักรยานยนต์โดยเฉพาะ โดยมีหลอดไฟเป็นสัญาณบอกสถานะด้านใน

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

8. ตลับเมตร (Measurement tape) ใช้สำหรับวัดขนาดหรือกำหนดขนาดอย่างคร่าว ๆ เช่น การวัดขนาดความยาว ความกว้างของเครื่องยนต์ วัดฐานของเครื่องยนต์ เป็นต้น

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

9. ไดอัลเกจ ( Dial Gauge) ใช้วัดระยะห่างการเคลื่อนที่ โดยยึดฐานของเกจ ไว้กับแท่นที่มั่นคง ปลายไดอัลเกจจะวัดระยะรุน (End Play) หรือระยะหลวมคลอนต่าง ๆ ของชิ้นส่วนเครื่องยนต์

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

10. เครื่องทดสอบหัวฉีด ( Injection nozzle tester ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการทำงานของหัวฉีดน้ำมัน

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

11. เกจความลึก ( Depth gage ) เป็นเครื่องวัดที่ใช้สำหรับวัดค่าความลึกของชิ้นส่วน เช่น กระบอกสูบ เป็นต้น

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

12. ไฮโดรมิเตอร์ (Hydrometer ) เป็นเครื่องมือวัดความถ่วงจำเพาะของของเหลว เช่น ความถ่วงจำเพาะ ( ถ.พ. ) ของสารละลายในแบตเตอรี่

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

13. เกจวัดความดัน (Pressure plate ) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของก๊าซหรือของเหลว เช่น ความดันลมหรือความดันน้ำมันหล่อลื่น

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

14. เครื่องทดสอบหม้อน้ำและฝาหม้อน้ำ ( Rediator and Cap tester ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อทดสอบหม้อน้ำและฝาหม้อน้ำว่ามีการรั่วไหลหรือไม่ และการเปิดปิดของวาล์วบนฝาหม้อน้ำทำงานถูกต้องหรือไม่

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล


ขอขอบคุณบทความดีๆจาก 
http://www.sumipol.com/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94/
มีหลายประเภทซึ่งได้แก่ไมโครมิเตอร์ดิจิตอลและอนาล็อก และสามารถแบ่งตามออกแบบเพื่อวัดวัตถุหรือช่องว่างประเภทต่างๆ ควรเลือกใช้งานให้ถูกต้องโดยแบ่งชนิดตามการออกแบบใช้งานได้ดังต่อไปนี้แบบวัดภายนอก แบบวัดภายในและแบบวัดลึกซึ่งมีรายละเอียดดังบทความด้านล่าง

สำหรับการวัดภายนอก: 

หากคุณต้องการวัดความหนาหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของชิ้นส่วนเล็กๆ หรือข้อต่อคุณจะต้องใช้ชนิดMicrometerภายนอกให้ความแม่นยำสูงสุดสำหรับการวัดประเภทนี้ ความสม่ำเสมอการออกแบบที่ตรงไปตรงมาและใช้งานง่ายทำให้เป็นเครื่องมือวัดมาตรฐานอุตสาหกรรม

 

มีการออกแบบที่แตกต่างกันซึ่งทำให้ง่ายต่อการวัด มีให้เลือกทั้งในรูปแบบดิจิทัลและแบบอนาล็อก โดยทั่วไปใช้ในการวัดขนาดเส้นฝ่านศูนย์กลางภายนอกของวัตถุเช่นสายไฟ ท่อทรงกลม เพลาและบล็อก

 

เครื่องวัดชนิดนี้ออกแบบมาสำหรับการวัดด้านนอกของวัตถุได้แก่เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก (OD) วัดขนาดภายนอกของท่อ โลหะหรือวัตดุอื่นๆ ที่เป็นการวัดขนาดจากภายนอกและเมื่อดูจากลักษณะดูคล้ายกับ C-clamp มีทั้งแบบอนาล็อกและแบบดิจิตอล

รูปภาพของไมโครคาลิปเปอร์วัดภายนอกแบบดิจิตอล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

ชนิดสำหรับการวัดภายนอกคุณภาพสูง สามารถออกใบรับรอง (Certificate of Calibration) ซึ่งแบ่งตามขนาดเช่น 0-25 mm และ 25-50 mm และ 50-75 mm และ 75-100 mm ซึ่งผู้ใช้งานควรเลือกขนาดให้เหมาะสมสำหรับการวัด คลิ๊กเพื่อดูรายละเอียด

ไมโครมิเตอร์สำหรับวัดภายนอก

สำหรับการวัดภายใน

เครื่องมือวัดละเอียดสำหรับวัดภายในออกแบบมาใช้เพื่อวัดขนาดภายในหรือเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inside Dimeter) ออกแบบมาให้มีลักษณะเหมือนปากกา มีโครงสร้างและส่วนประกอบเหมือนกับชนิดวัดภายอก ตัวอย่างการใช้งานวัดขนาดท่อภายใน วัดขนาดความกว้างยาวสูงของรูภายในเป็นต้น

รูปภาพของไมโครคาลิปเปอร์สำหรับวัดภายในแบบดิจิตอล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

ชนิดสำหรับวัดภายในคุณภาพสูงราคาถูก สามารถออกใบรับรอง (Certificate of Calibration) ซึ่งแบ่งตามขนาดเช่น 3-25 mm และ 25-50 mm และ 50-75 mm ซึ่งผู้ใช้งานควรเลือกขนาดให้เหมาะสมสำหรับการวัด คลิ๊กเพื่อดูรายละเอียด

ไมโครมิเตอร์สำหรับวัดภายใน

สำหรับวัดลึก

เครื่องมือวัดละเอียดสำหรับวัดลึกใช้สำหรับการวัดความลึกของรู ร่องหรือช่องอุปกรณ์ชนิดนี้มีฐานสำหรับวางบนช่องที่ต้องการวัด เมื่อหมุนไปมาก้านวัดจะลงมาจากฐานแล้วเมื่อหมุนต่อไปจนกว่าแกนจะกระทบกับพื้นผิวด้านล่างของรูที่วัดทำให้รู้ถึงความลึกของวัสดุที่ต้องการมีทั้งแบบอนาล็อคและแบบดิจิตอลที่แสดงผลการวัดเป็นตัวเลข ให้ผลการวัดที่แน่นอนแม่นยำสำหรับความลึกของหลุม ช่องและระยะห่างระหว่างพื้นผิวและพื้นที่ปิด

รูปภาพของไมโครคาลิปเปอร์สำหรับวัดลึกแบบดิจิตอล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

ชนิดสำหรับการวัดความลึกคุณภาพสูงราคาถูก สามารถออกใบรับรอง (Certificate of Calibration) ซึ่งแบ่งตามขนาดเช่น 3-25 mm และ 25-50 mm และ 50-75 mm ซึ่งผู้ใช้งานควรเลือกขนาดให้เหมาะสมสำหรับการวัด คลิ๊กเพื่อดูรายละเอียด

ไมโครมิเตอร์สำหรับวัดความลึก

ข้อดีและข้อเสีย

  • 1.ข้อดี: ให้การวัดที่แม่นยำมากสามารถวัดได้ละเอียดมากถึง 0.001 มม (1ไมครอน). หรือ 0.0001 นิ้ว
  • 2.ข้อเสีย: มีช่วงการวัดที่จำกัด ส่วนใหญ่มีช่วงการวัดเพียง 1 นิ้วหรือ 25 มม. ซึ่งหมายความว่าจำเป็นต้องใช้Micrometerรุ่นที่แตกต่างกันสำหรับการวัดวัตถุที่มีขนาดแตกต่างกัน

การบำรุงรักษาและดูแล

เช็ดเส้นรอบวงของแกนหมุนอย่างสม่ำเสมอและทั้งสองหน้าวัดด้วยผ้าแห้งที่ไม่มีขุย ระวังอย่าทำตก หากคุณทำให้ของคุณเสียหายโดยไม่ได้ตั้งใจให้ตรวจสอบความถูกต้องก่อนทำการวัด คุณอาจต้องปรับเทียบใหม่เพื่อตรวจสอบความแม่นยำ

  • 1.การปรับเทียบใหม่หรือหลังจากเก็บไว้ไม่ใช้งานเป็นระยะเวลานานๆ
  • 2.ใช้น้ำมันอเนกประสงค์จำนวนเล็กน้อยกับบริเวณภายนอกเพื่อป้องกันการกัดกร่อนและสนิม
  • 3.ใส่สารดูดความชื้นในกล่องเพื่อลดความชื้น

 

นอกจากนี้ยังควรระมัดระวังในการหล่อลื่นเกลียวภายใน หากใช้งานเป็นครั้งคราวหรือไม่ใช้งานเป็นเวลาหลายเดือน ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเก็บไว้ในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกและมีความชื้นต่ำส่วนใหญ่มาพร้อมกับกล่องเก็บและมีสารดูดความชื้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสนิมและเพื่อให้ปลอดภัยเมื่อไม่ใช้งาน

บทความที่เกี่ยวข้อง

วิธีการอ่านค่าไมโครมิเตอร์

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

คู่มือฉบับย่อเกี่ยวกับวิธีการอ่าน Micrometer ซึ่งคล้ายกับวิธีที่อ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ มีสองส่วนดังนี้ ส่วนแรกให้ดูแกนหลักแล้วนำค่าที่ได้ไปบวกกับส่วนแกนรอง ภาพแสดงวิธีการอ่านค่าเป็นขั้นตอนดังนี้

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

แนะนำรู้จักไมโครมิเตอร์ดิจิตอล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล

เทคโนโลยีล่าสุดใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อช่วยให้ผลการวัดอ่านค่าได้ง่ายและมีความแม่นยำ เครื่องมือวัดความแม่นยำนี้ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำการวัดได้ทั้งในหน่วยเมตริกและอิมพีเรียล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบมีสเกลมีอะไรบ้าง

เครื่องมือวัดละเอียด มีอะไรบ้าง?.
คาลิเปอร์ (CALIPERS).
ไมโครมิเตอร์ (MICROMETERS).
ไมโครมิเตอร์เฮด (MICROMETER HEADS).
เครื่องมือวัดความสูง (HEIGHT MEASURING TOOLS).
เครื่องมือวัดความลึก (DEPTH MEASURING TOOLS).
เครื่องมือวัดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านใน (INSIDER DIAMETER MEASURING TOOLS).
เกจบล็อก (GUAGE BLOCK).

เครื่องมือวัดแบบไม่มีขีดมาตรา มีอะไรบ้าง

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีขีดมาตรา เช่น คาลิปเปอร์วัดนอก, คาลิปเปอร์วัดในวงเวียน, เกจวัดรัศมี, เกจวัดเกลียว, เกจก้ามปู ฯลฯ

เครื่องมือวัดใดที่ต้องใช้ในการวัดละเอียดมาก

ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความละเอียดที่สามารถวัดได้ทั้งความกว้าง ยาว หรือความหนาของวัตถุที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียดสูง โดยพื้นฐานการทำงานของไมโครมิเตอร์อาศัยหลักการเคลื่อนที่ตามเส้นรอบวงของเกลียว แล้วแสดงผลจากระยะที่เคลื่อนไปได้ออกมาเป็นตัวเลขของขนาดวัตถุที่ทำการวัด

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดมีอะไรบ้าง

แนะนำ 10 เครื่องมือวัด ที่จำเป็นในโรงงาน มีอะไรบ้าง ?.
1. เวอร์เนีย คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper) ... .
2. ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) ... .
3. ไฮเกจ (Height Gage) ... .
4. ไดอัลเกจ (Dial Indicator) ... .
5. ไดอัลเทสอินดิเคเตอร์ (Dial Test Indicator) ... .
6. บอร์เกจ (Bore Gage) ... .
7. เกจวัดความลึก (Depth Gage) ... .
8. เครื่องวัดความแข็ง (Hardness Tester).