การแก้ปัญหา ขาดแคลนน้ำ ระยะสั้น

ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อการเกษตรกรรม โดยเป็นภัยแล้งที่เกิดจากขาดฝนหรือ ฝนแล้ง ในช่วงฤดูฝน และเกิด ฝนทิ้งช่วง ในเดือนมิถุนายนต่อเนื่องเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านในแนวดังกล่าวแล้วจะก่อให้เกิดภัยแล้งรุนแรงมากขึ้น นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้ว ยังมีพื้นที่อื่น ๆ ที่มักจะประสบปัญหาฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง เป็นประจำอีกดังตารางข้างล่าง

ภาค/เดือนเหนือตะวันออกเฉียงเหนือกลางตะวันออกใต้ฝั่งตะวันออกฝั่งตะวันตกม.ค.ฝนแล้งก.พ.ฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งมี.ค.ฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งเม.ย.ฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งฝนแล้งพ.ค.ฝนแล้งมิ.ย.ฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วงก.ค.ฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วงฝนทิ้งช่วง

ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71)

วิธีการแก้ปัญหาภัยแล้ง

  • แก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น แจกน้ำให้ประชาชน ขุดเจาะน้ำบาดาล สร้างศูนย์จ่ายน้ำ จัดทำฝนเทียม
  • การแก้ปัญหาระยะยาว อันได้แก่ การพัฒนาลุ่มน้ำ การสร้างฝาย การสร้างเขื่อน ขุดลอกแหล่งน้ำ การให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมมือในการจัดทำและพัฒนาชลประทาน การรักษาป่าและปลูกป่า เช่น การปลูกป่า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น

ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71)

ที่มา : http://www.greencoun.com/3forest_4benefits.php

ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดภัยแล้ง

  • เตรียมกักเก็บน้ำสะอาดเพื่อการบริโภคให้เพียงพอ โดยเริ่มดำเนินการก่อนช่วงเกิดภัยแล้ง อย่ารีรอมิฉะนั้นจะไม่มีน้ำให้กักเก็บ
  • ขุดลอกคู คลอง ดูแลแหล่งเก็บน้ำในชุมชนให้มีศักยภาพเพื่อเพิ่มปริมาณกักเก็บน้ำ
  • วางแผนใช้น้ำอย่างประหยัด เพื่อให้มีน้ำใช้ตลอดช่วงภัยแล้ง เช่น ใช้น้ำจากฝักบัวเพื่อชำระร่างกายจะประหยัดน้ำมากกว่าการตักอาบ นำน้ำที่ใช้ชำระร่างกายหรือน้ำจากการซักผ้าไปใช้ต่อทางการเกษตร
  • การใช้น้ำเพื่อการเกษตร ควรใช้ในช่วงเช้าและเย็น เพื่อลดอัตราการระเหยน้ำ
  • กำจัดวัสดุเชื่อเพลิงรอบที่พัก เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่าและการลุกลาม
  • เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินเพื่อการขอน้ำบริโภคและการดับไฟป่า

ภัยแล้ง  คือ  ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชน
สาเหตุของการเกิดภัยแล้งมีอะไรบ้าง
         ๑. โดยธรรมชาติ   ได้แก่   การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก   การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล
3 ภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย แผ่นดินไหว
         4. โดยการกระทำของมนุษย์ ได้แก่   การทำลายชั้นโอโซน   ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก                   การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม  การตัดไม้ทำลายป่า สำหรับภัยแล้งในประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดจากฝนแล้งและทิ้งช่วง ซึ่งฝนแล้งเป็นภาวะปริมาณฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล

ภัยแล้งในประเทศไทยสามารถเกิดช่วงเวลาใดบ้าง   ภัยแล้งในประเทศไทยจะเกิดใน ๒ ช่วง ได้แก่
        1. ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึงฤดูร้อน ซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป บริเวณประเทศไทยตอนบน จะมีปริมาณฝนลดลงเป็นลำดับ จนกระทั่งเข้าสู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของ ปีถัดไป ซึ่งภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี
        2. ช่วงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทิ้งช่วงเกิดขึ้น ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะท้องถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้างเกือบทั่วประเทศ
         3. พื้นที่ใดในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อการเกษตรกรรม โดยเป็นภัยแล้งที่เกิดจากขาดฝนหรือ ฝนแล้ง ในช่วงฤดูฝน และเกิด ฝนทิ้งช่วง ในเดือนมิถุนายนต่อเนื่องเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านในแนว ดังกล่าวแล้วจะก่อให้เกิดภัยแล้งรุนแรงมากขึ้น นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้ว
          4. ภัยแล้งในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหล่งน้ำ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศ ที่ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ภัยแล้งจึงส่งผลเสียหายต่อกิจกรรมทางการเกษตร เช่น พื้นดินขาดความชุ่มชื้น พืชขาดน้ำ พืชชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพต่ำ รวมถึงปริมาณลดลง ส่วนใหญ่ภัยแล้งที่มีผลต่อการเกษตร มักเกิดในฤดูฝนที่มีฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน ผลกระทบที่เกิดขึ้นรวมถึงผลกระทบด้านต่าง ๆ ดังนี้
                  4.1 ด้านเศรษฐกิจ สิ้นเปลืองและสูญเสียผลผลิตด้านเกษตร ปศุสัตว์ ป่าไม้ การประมง เศรษฐกิจทั่วไป เช่น ราคาที่ดินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สูญเสียอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว พลังงาน อุตสาหกรรมขนส่ง เป็นต้น
                  4.2 ด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสัตว์ต่าง ๆ ทำให้ขาดแคลนน้ำ เกิดโรคกับสัตว์ สูญเสียความหลากหลายพันธุ์ รวมถึงผลกระทบด้านอุทกวิทยา ทำให้ระดับและปริมาณน้ำลดลง พื้นที่ชุ่มน้ำลดลง ความเค็มของน้ำเปลี่ยนแปลง ระดับน้ำในดินเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้ำเปลี่ยนแปลง เกิดการกัดเซาะของดิน ไฟป่าเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและสูญเสียทัศนียภาพ เป็นต้น
                  4.3 ด้านสังคม เกิดผลกระทบในด้านสุขภาพอนามัย เกิดความขัดแย้งในการใช้น้ำและการจัดการคุณภาพชีวิตลดลง
วิธีการแก้ปัญหาภัยแล้งทำได้อย่างไร
         1 แก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น แจกน้ำให้ประชาชน ขุดเจาะน้ำบาดาล สร้างศูนย์จ่ายน้ำ จัดทำฝนเทียม
         2 การแก้ปัญหาระยะยาว โดยพัฒนาลุ่มน้ำ เช่น สร้างฝาย เขื่อน ขุดลอกแหล่งน้ำ รักษาป่าและปลูกป่า ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมมือในการจัดทำและพัฒนาชลประทาน.

แก้ปัญหาความแห้งแล้งอย่างไร

วิธีการแก้ปัญหาภัยแล้ง การแก้ปัญหาระยะยาว อันได้แก่ การพัฒนาลุ่มน้ำ การสร้างฝาย การสร้างเขื่อน ขุดลอกแหล่งน้ำ การให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมมือในการจัดทำและพัฒนาชลประทาน การรักษาป่าและปลูกป่า เช่น การปลูกป่า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น

โครงการในข้อใดช่วยลดปัญหาการขาดแคลนน้ำ

๑. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก และอุปโภคบริโภคได้แก่ อ่างเก็บน้ำและฝายทดน้ำ ๒. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการรักษาต้นน้ำลำธาร ๓. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ ๔. โครงการระบายน้ำออกจากพื้นที่ลุ่ม

ปัญหาขาดแคลนน้ำ มีอะไรบ้าง

วิกฤตการณ์การขาดแคลนน้ำจากสาเหตุต่างๆ เช่น ความต้องการน้ำใช้ในกิจกรรมต่างๆ เช่น ความต้องการน้ำใช้ในกิจกรรมต่างๆ มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ความสมดุลของทรัพยากรน้ำระหว่างฤดูแล้งและฤดูฝนไม่สมดุล รวมถึงการใช้น้ำในกิจกรรมต่างๆ ที่ขาดแผนการใช้ที่รัดกุมและเหมาะสมรวมทั้งขาดองค์กรระดับชาติที่จะเข้ามาบริหารจัดการแหล่งน้ำ ตลอดจนแหล่ง ...

การแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งและที่ดอนสมัยสุโขทัยทำอย่างไร

การแก้ปัญหาเรื่องน้ำอุปโภคบริโภคที่ขาดแคลน พ่อขุนรามคำแหงใช้วิธีที่ปรากฏเป็นหลักฐาน คือ ที่เก็บน้ำขนาดใหญ่ทางด้านทิศใต้ “เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัย มีสรีดภงค์” สรีดภงค์มาจากภาษาสันสกฤต คือ สริทภงค แปลว่า “ทำนบ” แสดงว่ามีการเก็บน้ำขนาดใหญ่ไว้ในทำนบ และยังมีแหล่งเก็บน้ำตามธรรมชาติที่ค่อนข้างกว้างขวางมากเหมือนกัน ดังพรรณนา ...