เฉลยแบบฝึกหัดอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม บทที่ 1-5

บริษัท วังอักษร จำกัด

69/3 อรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 ประเทศไทย

โทรศัพท์ : 0-2472-3293-5

แฟกซ์ : 0-2891-0742

โทรศัพท์มือถือ : 08-8585-1521

อีเมล์ : 

เว็บไซต์ : http://www.wangaksorn.com/

@LINE : https://line.me/R/ti/p/%40wangaksor

Copyright (c) 2019

แผนการจดั การเรยี นรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกั ธรรมาภิบาล

จติ อาสา และคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
ประจาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

วชิ า อิเลก็ ทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม รหัส 2105-2111 ทฤษฏี 2 ปฎบิ ตั ิ 3 หน่วยกติ 3

หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ า ชา่ งอุตสาหกรรม สาขาวิชา ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์

สาขางาน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

จดั ทาโดย
นายนพรตั น์ มโนรา

วิทยาลยั เทคนคิ เชียงคา
อาเภอเชียงคา จังหวดั พะเยา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใช้

แผนการจัดการเรียนร้มู ุ่งเนน้ สมรรถนะบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลกั ธรรมาภบิ าล
จติ อาสา และคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

วิชา อิเล็กทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม รหสั 2105-2111 ทฤษฏี 2 ปฎิบัติ 3 หนว่ ยกิต 3 .
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562

ประเภทวิชา ช่างอตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์
สาขางาน อิเล็กทรอนกิ ส์
ครูผู้สอน
นายนพรัตน์ มโนรา

 ควรอนุญาตใหใ้ ช้สอนได้  เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้
 ควรปรับปรุงเกี่ยวกบั  ควรปรบั ปรงุ ดังเสนอ
 อ่ืนๆ....................................................................
…………………………………...............................
……………………………………………………………. ……………………………………………..........................
ลงชอื่ ...........................................................
ลงชอื่ .................................................. (นางสาวชวาลนิ ี สิงห์คา)
(นายนพรตั น์ มโนรา) รองผูอ้ านวยการฝ่ายวิชาการ
หวั หน้าแผนกวิชา ............../..................../...............

............../............./...............

อนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
 อ่ืนๆ........................................................................................

ลงชอื่ ...........................................................
(นายสมปอง พลู เพ่ิม)

ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ เชยี งคา
............../.................../.............

หลักสูตรรายวชิ า

ชือ่ วชิ า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 2105 – 2111ทฤษฎี 2 ปฏบิ ัติ 3 หน่วยกติ 3
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ

ประเภทวิชาช่างอตุ สาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์

จุดประสงค์รายวชิ า

1. เขา้ ใจการทางานของอุปกรณ์ควบคุมในงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม
2. มที กั ษะในการวัด ทดสอบ ตรวจซ่อม และบารุงรักษาอุปกรณใ์ นงานอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรมและ

การประยุกต์ใชง้ าน
3. มีกิจนสิ ยั ในการทางานด้วยความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย มลี าดับขนั้ ต้อนในการทางานอยา่ งถกู ตอ้ งและ

ปลอดภยั

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เก่ียวกบั หลักการทางานของอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพอื่ ประยกุ ต์ใช้ในงานอตุ สาหกรรม
2. ประกอบและทดสอบอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม
3. ตรวจซ่อมและบารุงรักษาอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ในงานอุตสาหกรรม

คาอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกับอเิ ล็กทรอนกิ ส์ในงานอตุ สาหกรรม โครงสรา้ ง การทางานและคุณลักษณะ
ของอุปกรณ์ควบคุม การเปิด-ปิดวงจร อปุ กรณ์ทรานดิวเซอรแ์ ละเซนเซอรค์ วามรอ้ น อุณหภูมิ แสง เสยี ง
แรงกล ระดบั ของเหลว สนามแม่เหล็ก ความช้นื ก๊าซ ควัน แรงดนั (Pressure) อตั ราการไหล ความเร็วรอบ การ
ควบคมุ แบบตา่ ง ๆ และการประยุกต์ใชง้ าน

หน่วยการเรียนรู้

ชื่อวชิ า อิเลก็ ทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม รหสั วิชา 2105 – 2111ทฤษฎี 2 ปฏบิ ตั ิ 3 หนว่ ยกิต 3

หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ จานวน สปั ดาห์ท่ี
ช่วั โมง

1 อเิ ลก็ ทรอนิกสก์ บั งานอตุ สาหกรรม 51

2 Electrical actuation system 52

3 มอเตอร์ไฟฟ้า 10 3 – 4

4 ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอตุ สาหกรรม 15 5 – 7

สอบกลางภาค 58
5 ระบบควบคมุ ( Control System ) 15 9 - 11

6 เพาวเวอรอ์ ิเล็กทรอนิกส์ 10 12 - 13

7 การใช้งาน PLC เบ้อื งต้น 20 14 -17

สอบปลายภาค 5 18
90 ชม.
รวม

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รรายวชิ า

รหัสวิชา 2105-2111 ชือ่ วิชา อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม จานวน 3 หนว่ ยกติ 5 ช่วั โมง/สปั ดาห์

ระดับพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ การบูรณาการตาม
ปรัชญา

หน่วยที่ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ พุทธพิ สิ ยั ัทกษะพิสัย
ิจตพิสัย (12ประการ)
123456 ))พอประมาณ
ีมเห ุตผล
ูภมิ ุ้คมกัน
ความรู้
ุคณธรรม
เวลา (ชม.)

1 อิเลก็ ทรอนกิ ส์กับงานอตุ สาหกรรม             

2 Electrical actuation system      

3 มอเตอรไ์ ฟฟ้า      

4 ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงาน     

อุตสาหกรรม

5 ระบบควบคุม ( Control System )             

6 เพาวเวอร์อเิ ลก็ ทรอนิกส์     

7 การใช้งาน PLC เบือ้ งต้น     

สอบปลายภาค
ความสาคญั /สัดส่วนคะแนน(รอ้ ยละ) 30 50 20

ระดับพุทธพิ สิ ยั 1 = ความรู้ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาไปใช้
4 = การวเิ คราะห์ 5 = การสังเคราะห์ 6 = การประเมนิ คา่

หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละส

ชอื่ หน่วย ความรู้
1. อธิบายความหมายของ
หนว่ ยที่ 1. อเิ ลก็ ทรอนิกส์กับงาน
อุตสาหกรรม อิเลก็ ทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. ยกตัวอย่างการนาเอาวงจร

อเิ ล็กทรอนิกสไ์ ปใช้ในอุตสาหกรรม

หนว่ ยท่ี 2. Electrical Actuation 1. แสดงความร้เู กีย่ วกบั หลักการทางาน
System ของอปุ กรณ์ Electrical Actuation
System ประเภทตา่ งๆ

2. แสดงความรู้เก่ียวกับ การใช้งาน

เบื้องตน้ ของอุปกรณ์ Electrical

Actuation System ประเภทตา่ งๆ

สมรรถนะประจาหน่วย คณุ ลักษณะทพ่ี ่งึ ประสงค์
1. เข้าเรียนตรงเวลา
สมรรถนะ 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
ทกั ษะ
ครูผู้สอน
1. บอกลกั ษณะงาน หรอื กระบวนการ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
ทนี่ าเอาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์มาใช้ในการ
ควบคุม ระเบยี บ
4. มีความรบั ผิดชอบ และทางาน
1. ทดสอบการทางานของอุปกรณ์
Electrical Actuation System รว่ มกับผูอ้ ่นื ได้
ประเภทตา่ งๆ 5. มีความละเอียดรอบครอบ

2. ต่อใชง้ านอุปกรณ์ Electrical ถูกตอ้ งและปลอดภัย
Actuation System ประเภท 1. เขา้ เรียนตรงเวลา
ตา่ งๆ ตามวงจรทก่ี าหนด 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ

ครูผูส้ อน
3. แต่งกายเรียบร้อยถูกต้องตาม

ระเบียบ
4. มีความรับผดิ ชอบ และทางาน

ร่วมกับผู้อน่ื ได้

หนว่ ยที่ 3. มอเตอร์ไฟฟา้ 1. อธบิ ายหลกั การทางาน DC MOTOR
2. อธิบายการทางานของ AC MOTOR

แบบ 1 เฟส
3. อธบิ ายการทางานของ AC MOTOR

แบบ 3 เฟส
4. วงจรสตารท์ มอเตอร์
5. วงจรกลบั ทางหมนุ มอเตอร์

หนว่ ยท่ี 4. ทรานดวิ เซอร์ และ 1. อธบิ ายความหมายและคุณลักษณะ
เซนเซอร์ ในงานอุตสาหกรรม ของอุปกรณ์ ทรานดวิ เซอร์ ประเภท
ตา่ งๆ

2. อธบิ ายความหมายและคุณลกั ษณะ
ของอุปกรณ์ เซนเซอร์ ประเภทต่างๆ

3. ตอ่ วงจรสตารท์ มอเตอรเ์ บอ้ื งตน้ 5. มีความละเอียดรอบครอบ
โดยใช้อุปกรณ์ Electrical ถกู ต้องและปลอดภยั
Actuation System
1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
1. ตอ่ วงจรควบคมุ การทางาน DC 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
MOTOR
ครผู ู้สอน
2. ตอ่ วงจรสตาร์ท AC MOTOR แบบ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
1 เฟส
ระเบียบ
3. ต่อวงจรสตาร์ท AC MOTOR แบบ 4. มีความรับผิดชอบ และทางาน
3 เฟส
ร่วมกับผอู้ ่นื ได้
4. ตอ่ วงจรกลบั ทางหมุน AC 5. มีความละเอียดรอบครอบ
MOTOR 1 เฟส
ถูกต้องและปลอดภยั
5. ตอ่ วงจรกลบั ทางหมนุ AC
MOTOR 3 เฟส

1. ทดสอบการทางานของ 1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
ทรานดิวเซอรแ์ ละเซนเซอร์ 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
เบื้องตน้ ได้
ครผู ูส้ อน
2. ตอ่ วงจรใชง้ านทรานดิวเซอร์และ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
เซนเซอร์ ร่วมกับอปุ กรณ์อื่นได้
ระเบียบ

3. อธิบายการต่อวงจรใช้งาน เซนเซอร์
แบบ 2 สาย และ แบบ 3 สาย

4. เลือกใช้เซนเซอรไ์ ด้ถูกตอ้ งและ
เหมาะสมกบั ลักษณะงาน

หนว่ ยที่ 5. ระบบควบคุม 1. อธิบายความหมายและคุณลักษณะ
( Control System )
ของระบบควบคมุ

(Control System)
2. อธบิ ายความหมายและคุณลกั ษณะ

ของระบบควบคุมอัตโนมตั ิ

( Automatic Control )
3. บอกขอ้ ดีและข้อเสยี ของระบบ

ควบคมุ อตั โนมัติ ( Automatic
Control )
4. ยกตวั อย่างกระบวนการทาง

อตุ สาหกรรมทใ่ี ช้ ระบบระบบ

ควบคุมอัตโนมตั ิ ( Automatic
Control )

4. มคี วามรบั ผิดชอบ และทางาน
ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้

5. มีความละเอียดรอบครอบ
ถกู ต้องและปลอดภยั

1. ต่อวงจรระบบควบคุมอตั โนมัติ 1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
( Automatic Control ) ตามแบบ
ได้ ครผู ู้สอน
2. ทดสอบการทางานของระบบ 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม

ควบคมุ อตั โนมตั ิ ระเบียบ
( Automatic Control ) 4. มคี วามรบั ผดิ ชอบ และทางาน

ร่วมกบั ผู้อน่ื ได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถูกตอ้ งและปลอดภัย

หนว่ ยที่ 6. เพาวเวอร์ 1. บอกคณุ สมบัตแิ ละคณุ ลักษณะของ
อิเล็กทรอนิกส์ อปุ กรณ์กลุ่มเพาเวอรอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์

หน่วยท่ี 7. การใช้งาน PLC 2. บอกคณุ สมบัติ ของอุปกรณ์
เบ้อื งต้น อิเลก็ ทรอนกิ ส์กลมุ่ ไทรริสเตอร์

3. ยกตวั อย่างการใช้งาน อปุ กรณ์
ไทรริสเตอร์ และเพาเวอร์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

1. บอกคณุ ลักษณะและหลกั การทางาน
ของ PLC

2. บอกสว่ นประกอบและโครงสรา้ งของ
PLC

3. อธบิ ายวงจรสว่ นอนิ พตุ และเอาท์พุต
ประเภทตา่ งๆ ของ PLC

4. อธิบาย แลดเดอร์ไดอะแกรมได้
5. ยกตวั อยา่ งการนาเอา PLC มาใช้งาน

กับระบบควบคมุ อตั โนมตั ิในระบบ
อุตสาหกรรม
6. บอกขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของ PLC ได้

1. ต่อวงจรควบคมุ ท่ีใช้ อปุ กรณ์ 1. เข้าเรยี นตรงเวลา
ไทรรสิ เตอร์ และเพาเวอร์ 2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตามแบบได้
ครผู สู้ อน
2. ทดสอบการทางานของวงจร 3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตาม
ควบคมุ โดยใชอ้ ปุ กรณไ์ ทรริสเตอร์
และเพาเวอรอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ระเบยี บ
4. มคี วามรับผดิ ชอบ และทางาน
1. ตอ่ ใช้งาน PLC รว่ มกบั อุปกรณ์
ภายนอก ตามแบบได้ ร่วมกบั ผ้อู น่ื ได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ
2. ตอ่ ใชง้ าน PLC รว่ มกบั อปุ กรณ์
อินพตุ และเอาทพ์ ุต ประเภทต่างๆ ถกู ตอ้ งและปลอดภยั
ได้ 1. เข้าเรียนตรงเวลา
2. คารพ นอบน้อมให้เกียร ติ
3. เขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมการ
ทางานของ PLC ร่วมกับอปุ กรณ์ ครผู ูส้ อน
อนิ พุตและเอาท์พตุ ได้ 3. แต่งกายเรียบร้อยถูกต้องตาม

4. ประยุกต์ PLC กับระบบควบคุม ระเบยี บ
อตั โนมตั ิได้ 4. มีความรับผดิ ชอบ และทางาน

รว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้
5. มีความละเอียดรอบครอบ

ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1
ช่ือหนว่ ย อเิ ล็กทรอนกิ ส์กับงานอุตสาหกรรม สอนครง้ั ที่ 1
ช่ือเรื่อง อเิ ล็กทรอนกิ ส์กบั งานอุตสาหกรรม ช่ัวโมงรวม 5 ช.ม.
จานวนช่วั โมง 5 ชม.

1. สาระสาคญั

อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม คอื วชิ าท่วี ่าดว้ ยการนาเอาอิเล็กทรอนิกสเ์ ข้ามามีสว่ นในกระบวนการ

ผลิตของในเชงิ อตุ สาหกรรม ต้งั แต่ขบวนการผลิต การควบคมุ คุณภาพ ปริมาณ และลดตน้ ทุนการผลติ ของ

สนิ คา้ ลงโดยการใช้กระบวนการผลิตในรปู แบบอัตโนมัติมากขน้ึ ตัวอย่างกระบวนการทนี่ าอิเล็กทรอนกิ ส์

เข้ามามีดงั นี้ ตวั อย่างการนาเอาวงจรอิเล็กทรอนิกสไ์ ปใชใ้ นอุตสาหกรรม

1. อิเล็กทรอนกิ ส์กับงานระบบควบคุม
2. อิเลก็ ทรอนกิ สก์ บั งานระบบการวดั
3. อเิ ล็กทรอนิกส์กบั งานระบบจา่ ยกาลงั งาน
4. อิเลก็ ทรอนกิ สช์ ว่ ยในการประหยัดพลงั งาน
5. อเิ ลก็ ทรอนิกส์กบั งานความปลอดภัย

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

2.1. อธบิ ายความหมายของอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม
2.2. ยกตัวอยา่ งการนาเอาวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ไปใชใ้ นอุตสาหกรรม

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1 อธิบายความหมายของอิเล็กทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม
3.1.2 ยกตัวอย่างการนาเอาวงจรอเิ ล็กทรอนกิ สไ์ ปใช้ในอุตสาหกรรม
3.1. ดา้ นทักษะ
3.1.1. บอกลกั ษณะงาน หรือกระบวนการทีน่ าเอาอเิ ล็กทรอนิกส์มาใช้ในการควบคมุ
3.2. คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์
3.2.1. เข้าเรยี นตรงเวลา
3.2.2. คารพนอบน้อมให้เกียรตคิ รผู สู้ อน
3.2.3. แต่งกายเรยี บรอ้ ยถกู ตอ้ งตามระเบยี บ
3.2.4. มีความรับผดิ ชอบ และทางานรว่ มกับผูอ้ ่ืนได้

3.2.5. มคี วามละเอยี ดรอบครอบ ถูกตอ้ งและปลอดภยั

4. เนื้อหาสาระ
4.1. อิเล็กทรอนิกส์กบั งานระบบควบคมุ
4.2. อเิ ลก็ ทรอนิกส์กบั งานระบบการวดั
4.3. อเิ ล็กทรอนิกส์กบั งานระบบจ่ายกาลังงาน
4.4. อเิ ล็กทรอนิกส์ช่วยในการประหยดั พลังงาน
4.5. อิเลก็ ทรอนกิ ส์กบั งานความปลอดภัย

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ สบู่ ทเรียน
5.1.1. ผู้สอนต้ังคาถามวา่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม คืออะไร อยา่ งไรบ้างพรอ้ มอธบิ าย
เหตุผลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยที่ 1 เร่ือง อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ุตสาหกรรม

5.2. การเรียนรู้
5.2.1. ผ้สู อนเปิดสารคดี เมกะแฟคเตอรี่ ชุด โรงงานโคคาโคล่า
5.2.2. ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผเู้ รยี นถามปญั หา และขอ้ สงสยั จากเนอื้ หา โดยครูเป็นผู้ตอบ
ปญั หาที่เกิดขนึ้ ระหวา่ งการเรียนการสอน
5.2.3. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นเปิด PowerPoint หน่วยท่ี 1 เรื่อง อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม
และให้ผู้เรียนศกึ ษา PowerPoint และจดบันทึกเน้อื หาลงในสมุด
5.2.4. ผู้สอนให้ผเู้ รียนทาใบงาน 1 เร่อื ง อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ุตสาหกรรม

5.3. การสรุป
5.3.1. ผ้สู อนและผู้เรยี นร่วมกันสรปุ เนอื้ หาทีไ่ ด้เรยี นใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน
5.3.2. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 1.
5.3.3. ผูส้ อนเฉลย แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 1. และใบงานท่ี 1.

5.4. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.4.1. ผสู้ อนบันทึกคะแนน แบบฝกึ หัดทา้ ยบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมนิ พฤตกิ รรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

5.4.3. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์

6. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1. พันธศ์ ักดิ์ พฒุ มานติ พงศ์ . อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม . นนทบุรี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ล็กทรอนิกส์ในงานอตุ สาหกรรม . ซเี อด็ ยเู คชั่น . กรงุ เทพ . 2542
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 1 เรอื่ ง อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ุตสาหกรรม

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยที่ 1. เร่อื ง อเิ ล็กทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม
7.2. ใบงานท่ี 1. เรอื่ ง อิเล็กทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม

8. บรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กับวชิ าอน่ื
มเี น้อื หารายวิชาสอดคลอ้ งกบั วชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อุปกรณ์และวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 ก่อนเรยี น แบบประเมนิ ผลก่อนการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป
9.3 หลงั เรียน แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้ึนไป

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 2
ชื่อหนว่ ย Electrical Actuation System สอนครงั้ ท่ี 2
ชือ่ เรื่อง Electrical Actuation System ช่วั โมงรวม 5 ช.ม.
จานวนช่ัวโมง 5 ชม.

1. สาระสาคญั

Electrical actuation system : หมายถึงการแปลงระบบไฟฟ้าให้เปน็ ระบบเชิงกล

อุปกรณ์ actuator เช่น สวติ ช์ โซลินอยด์ มอเตอรไ์ ฟฟา้ อนั ประกอบไปด้วยอุปกรณ์สาคญั ดงั ต่อไปนี้

1. Actuator ประเภท สวิตช์
2. Actuator ประเภท Relay
3. Solid State Relay

2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. มีความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกับอุปกรณค์ วบคุมการ เปิด-ปดิ วงจรไฟฟ้า
2.2. เลอื กใช้งาน อุปกรณ์ควบคมุ การ เปดิ -ปดิ วงจรไฟฟา้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.3. ใชง้ าน อุปกรณ์ควบคุมการ เปิด-ปดิ วงจรไฟฟา้ ได้อย่างถูกต้อง

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกบั หลักการทางานของอุปกรณ์ Electrical Actuation System ประเภท
ตา่ งๆ
3.1.2. แสดงความรู้เกย่ี วกับ การใชง้ านเบอ้ื งต้นของอปุ กรณ์ Electrical Actuation System
ประเภทต่างๆ
3.2. ด้านทักษะ
3.2.1. บอทดสอบการทางานของอปุ กรณ์ Electrical Actuation System ประเภทตา่ งๆ

3.2.2. ตอ่ ใช้งานอปุ กรณ์ Electrical Actuation System ประเภทตา่ งๆ ตามวงจรทกี่ าหนด

3.2.3. ตอ่ วงจรสตาร์ทมอเตอร์เบ้ืองตน้ โดยใช้อุปกรณ์ Electrical Actuation System
3.3. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบน้อมให้เกยี รติครผู ู้สอน

3.3.3. แตง่ กายเรยี บรอ้ ยถกู ต้องตามระเบยี บ

3.3.4. มคี วามรับผิดชอบ และทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถูกตอ้ งและปลอดภยั

4. เนือ้ หาสาระ
4.1. โครงสร้างและการทางานของอปุ กรณ์ควบคุมการ Electrical actuation system
4.2. Actuator ประเภท สวติ ช์
4.3. Actuator ประเภท Relay
4.4. Solid State Relay

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1. การนาเข้าสบู่ ทเรยี น
5.1.1. ผ้สู อนต้งั คาถามว่า Electrical actuation system คอื อะไร มหี ลักการทางาน
อย่างไรบ้างพรอ้ มอธบิ าย เหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 2 เร่อื ง Electrical actuation
system

5.2. การเรยี นรู้
5.1.3. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นเปดิ PowerPoint หน่วยท่ี 2. เร่ือง Electrical actuation
systemและให้ผู้เรยี นศกึ ษา PowerPoint และจดบันทึกเน้ือหาลงในสมุด
5.2.1. ผู้สอนเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสยั จากเนอื้ หา โดยครูเป็นผ้ตู อบ
ปญั หาทีเ่ กิดขึ้นระหว่างการเรยี นการสอน
5.2.2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาใบงาน 2 เรือ่ ง Electrical actuation system

5.3. การสรุป
5.3.1. ผูส้ อนและผ้เู รยี นร่วมกนั สรปุ เนอื้ หาทไ่ี ดเ้ รยี นให้มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน
5.3.2. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 2.
5.3.3. ผู้สอนเฉลย แบบฝึกหดั หน่วยที่ 2. และใบงานที่ 2.

5.4. การวดั ผลและการประเมินผล
5.4.1. ผู้สอนบันทึกคะแนน แบบฝึกหัดทา้ ยบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

5.4.3. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์

6. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1. พันธศ์ ักดิ์ พฒุ มานติ พงศ์ . อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม . นนทบรุ ี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ นงานอตุ สาหกรรม . ซเี อ็ดยเู คชนั่ . กรุงเทพ . 2542
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 2 เร่ือง Electrical actuation system

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยท่ี 2. เร่ือง Electrical actuation system
7.2. ใบงานท่ี 2. เรอ่ื ง Electrical actuation system

8. บรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กับวิชาอ่นื
มเี น้อื หารายวิชาสอดคลอ้ งกับวชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อปุ กรณ์และวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 ก่อนเรยี น แบบประเมินผลก่อนการเรยี นรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป
9.3 หลงั เรียน แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ขึน้ ไป

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 3
ชอ่ื หนว่ ย มอเตอรไ์ ฟฟ้า สอนครง้ั ท่ี 3 - 4
ชื่อเร่อื ง มอเตอรไ์ ฟฟา้ ชัว่ โมงรวม 10 ช.ม.
จานวนชว่ั โมง 10 ชม.

1. สาระสาคัญ

มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงงานต่างเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ควบคุม
เครื่องจักรกลต่างๆในงานอุตสาหกรรมมอเตอร์มีหลายแบบหลายชนิดท่ีใช้ให้เหมาะสมกับงานดังนั้นเราจึง
ต้องทราบถึงความหมายและชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้าตลอดคุณสมบตั ิการใช้งานของมอเตอร์แตล่ ะชนิดเพื่อให้
เกิดประสิทธภิ าพสงู สุดในการใชง้ านของมอเตอรน์ ัน้ ๆ

1.1. ความหมายของมอเตอรแ์ ละการจาแนกชนดิ ของมอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้า (MOTOR) หมายถึงเป็นเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เปลยี่ นแปลงพลังงานไฟฟ้ามาเป็น
พลังงานกล มอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเปล่ียนเป็นพลังงานกลมีทั้งพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับและ
พลงั งานไฟฟา้ กระแสตรง
1.2. ชนดิ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้า
มอเตอร์ไฟฟา้ แบ่งออกตามการใชข้ องกระแสไฟฟา้ ได้ 2 ชนิดดังน้ี

1.2.1. มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ (Alternating Current Motor) หรือเรียกว่าเอ.ซี
มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับแบง่ ออกเปน็ 3 ชนดิ ได้แก่
1.2.1.1. มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับชนิด 1 เฟส หรอื เรียกว่าซิงเกิลเฟสมอเตอร์
(A.C. Sing Phase)
1.2.1.1.1. สปลทิ เฟส มอเตอร(์ Split-Phase motor)
1.2.1.1.2. คาปาซิเตอร ์มอเตอร์ (Capacitor motor)
1.2.1.1.3. รีพัลชัน่ มอเตอร์ (Repulsion-type motor)
1.2.1.1.4. ยนู เิ วอรแ์ วซลมอเตอร์ (Universal motor)
1.2.1.1.5. เชด็ เดดโพล มอเตอร์ (Shaded-pole motor)
1.2.1.2. มอเตอร์ไฟฟ้าสลับชนิด 2 เฟสหรือเรียกว่าทูเฟสมอเตอร์ (A.C.Two
phas Motor)
1.2.1.3. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 3 เฟสหรือเรยี กวา่ ทีเฟสมอเตอร์ (A.C.
Three phase Motor)

1.2.2. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor ) หรือเรียกว่าดี.ซี มอเอตร์
(D.C. MOTOR) การแบ่งชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกได้ดังน้ี
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกเปน็ 3 ชนิดได้แก่

 มอเตอร์แบบอนุกรมหรือเรยี กวา่ ซรี ีสม์ อเตอร์ (Series Motor)
 มอเตอร์แบบอนขุ นานหรือเรยี กวา่ ชันท์มอเตอร์ (Shunt Motor
 มอเตอร์ไฟฟ้าแบบผสมหรือคอมเปาวด์มอเตอร์ (Compound

Motor)

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
2.1. มคี วามรพู้ ืน้ ฐานเกย่ี วกบั มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง และกระแสสลับ ประเภทต่างๆ
2.2. ต่อวงจรเพ่อื ควบคุมการทางานของมอเตอร์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. อธิบายหลกั การทางาน DC MOTOR
3.1.2. อธบิ ายการทางานของ AC MOTOR แบบ 1 เฟส
3.1.3. อธิบายการทางานของ AC MOTOR แบบ 3 เฟ
3.1.4. วงจรสตารท์ มอเตอร์
3.1.5. วงจรกลับทางหมุนมอเตอร์

3.2. ด้านทักษะ
3.2.1. ต่อวงจรควบคมุ การทางาน DC MOTOR
3.2.2. ตอ่ วงจรสตารท์ AC MOTOR แบบ1 เฟส
3.2.3. ตอ่ วงจรสตาร์ท AC MOTOR แบบ 3 เฟส
3.2.4. ตอ่ วงจรกลับทางหมุน AC MOTOR 1 เฟส
3.2.5. ต่อวงจรกลับทางหมุน AC MOTOR 3 เฟส
3.3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
3.3.1. เข้าเรยี นตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบนอ้ มให้เกยี รตคิ รผู สู้ อน
3.3.3. แต่งกายเรียบรอ้ ยถูกต้องตามระเบียบ
3.3.4. มคี วามรับผดิ ชอบ และทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้
3.3.5. มีความละเอยี ดรอบครอบ ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

4. เนื้อหาสาระ
4.1. หลกั การทางานของ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง
4.2. หลกั การทางานของ มอเตอร์ไฟฟา้ กระสลบั แบบ 1 เฟส
4.3. หลกั การทางานของ มอเตอร์ไฟฟา้ กระสลบั แบบ 3 เฟส
4.4. การสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้า
4.5. การกลบั ทางหุมนของมอเตอร์ไฟฟ้า
4.6. การควบคมุ ความเรว็ รอบ ของมอเตอร์ไฟฟา้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
5.1.1. ผสู้ อนต้งั คาถามเกยี่ วกบั มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง และ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั
คืออะไร มีหลกั การทางาน อย่างไรบา้ งพรอ้ มอธิบาย เหตุผลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยที่ 3 เรอ่ื ง มอเตอร์ไฟฟา้

5.2. การเรยี นรู้
5.1.3. ผู้สอนให้ผู้เรยี นเปิด PowerPoint หนว่ ยที่ 3. เร่อื ง มอเตอร์ไฟฟา้ และให้ผู้เรยี น
ศึกษา PowerPoint และจดบันทกึ เน้อื หาลงในสมดุ
5.2.1. ผสู้ อนเปิดโอกาส ให้ผเู้ รียนถามปญั หา และข้อสงสัยจากเน้อื หา โดยครเู ปน็ ผู้ตอบ
ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ ระหว่างการเรยี นการสอน
5.2.2. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นทาใบงาน 3 เร่ือง การสตารท์ มอเตอร์ไฟฟ้า ( สัปดาหท์ ่ี 3 )
5.2.3. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาใบงาน 4 เร่อื ง การคมุ การกลับทางหมนุ ( สปั ดาห์ที่ 4 )

5.3. การสรุป
5.3.1. ผู้สอนและผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ เน้ือหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั
5.3.2. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3.
5.3.3. ผู้สอนเฉลย แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 3. ใบงานท่ี 3. และใบงานท่ี 4.

5.4. การวดั ผลและการประเมินผล
5.4.1. ผูส้ อนบนั ทึกคะแนน แบบฝกึ หัดทา้ ยบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมนิ พฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
5.4.3. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์

6. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1. พนั ธศ์ กั ดิ์ พฒุ มานิตพงศ์ . อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม . นนทบรุ ี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อิเล็กทรอนกิ สใ์ นงานอุตสาหกรรม . ซเี อ็ดยูเคชนั่ . กรุงเทพ . 2542
6.3. PowerPoint หนว่ ยที่ 3 เร่อื ง มอเตอร์ไฟฟ้า

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยที่ 3. เรอ่ื ง มอเตอร์ไฟฟา้
7.2. ใบงานที่ 3 เร่ือง การสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟา้ ( สปั ดาหท์ ี่ 3 )
7.3. ใบงานที่ 4 เรอ่ื ง การคมุ การกลับทางหมุน ( สปั ดาห์ท่ี 4 )

8. บูรณาการ/ความสัมพันธก์ ับวชิ าอ่นื
มเี นื้อหารายวิชาสอดคลอ้ งกบั วชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อุปกรณ์และวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 กอ่ นเรยี น แบบประเมินผลก่อนการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝึกหดั ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลังการเรยี นรู้ ผ่านเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป

แผนการจัดการเรยี นรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 4

ช่อื หนว่ ย ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอุตสาหกรรม สอนคร้งั ที่ 5 – 7

ช่อื เรื่อง ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอุตสาหกรรม ชัว่ โมงรวม 15 ช.ม.

จานวนช่วั โมง 15 ชม.

1. สาระสาคญั

ทรานสดวิ เซอร์ (Transducer) คอื อุปกรณ์ทเ่ี ปลยี่ นพลังงานจากรปู แบบหนึง่ ไปเป็นรปู แบบหนง่ึ
เชน่ พลังงานกล เปน็ พลงั งานไฟฟ้า หรือพลงั งานแสง เป็นพลังงานไฟฟ้า เป็นตน้ โดยอาจจะรวมถงึ อปุ กรณ์
ตา่ งๆทีเ่ กยี่ วขอ้ งดว้ ย เชน่ ขยายสญั ญาณ หรือปรับแตง่ สญั ญาณ

ชนดิ ของทรานสดิวเซอร์ทรานดิวสเซอร์สามารถแบ่งไดด้ งั นี้
1. แบง่ ตามความต้องการใช้พลงั งาน

1.1. แบบแอคทฟี (Active sensors) คือเซ็นเซอร์ที่จาเป็นต้องใช้พลงั งานเพอ่ื จา่ ยใหต้ ัวมนั
สามารถทางานได้

1.2. แบบพาสซีพ (Passive sensors) คือเซน็ เซอรท์ ี่ไม่ตอ้ งใชแ้ หลง่ จ่ายในการทางาน
สามารถทางานไดด้ ้วยตัวของมนั เอง เชน่ LDR Thermistor เป็นต้น

2.แบง่ ตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่า
2.1. การเปลี่ยนแปลงค่าความจุ
2.2. การเปล่ียนแปลงค่าความเหนี่ยวนา เชน่ เซน็ เซอรต์ รวจจับโลหะ
2.3. การเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน เช่น LDR Thermistor

3. แบง่ ตามชนดิ การเปล่ยี นพลงั งาน
3.1. เปลี่ยนพลงั งานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า เช่น ไดนาโม
3.2. เปลี่ยนพลังงานไฟฟา้ เปน็ พลังงานกล เชน่ มอเตอร์
3.3. เปล่ยี นพลังงานพลงั งานแสงเป็นพลังงานไฟฟา้ เช่น โซล่าเซลล์
3.4. เปลย่ี นพลงั งานความร้อนเป็นพลงั งานไฟฟา้ เช่น Thermoelectric

4.แบง่ ตามชนิดของสัญญาณ
4.1. แบบอนาล็อก คือการปลอ่ ยสัญญาณออกมาอยา่ งต่อเน่อื ง
4.2. แบบดิจิตอล คือการปลอ่ ยสัญญาณออกมาในรปู คล่นื พลั ส์

เซนเซอร์ คืออุปกรณท์ ี่ใช้ในการตรวจจับค่าทางฟิสกิ ส์ เคมี และกายภาพ ต่าง ๆ แล้วเปลีย่ นเป็น

ค่าสัญญาณไฟฟ้า เพื่อนาไปใช้งานวัดและควบคุมต่อไป ทรานสดิวเซอร์ ถือว่าเป็นส่วนหน่ึง ของ

เซนเซอร์ การแบง่ ชนดิ หรือประเภทของ เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์

1. ประเภทท่ใี ช้ตรวจวัดแรงดนั และนา้ หนกั

2. ประเภทที่ใช้ตรวจวดั ตาแหน่งและการเคลือ่ นที่
3. ประเภททใ่ี ชต้ รวจวดั การไหล
4. ประเภทท่ใี ช้ตรวจวดั ความดัน
5. ประเภททใี่ ชต้ รวจวดั ระดับ
6. ประเภททใ่ี ช้ตรวจวดั อุณหภมู ิ
2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. อธบิ ายการทางานของทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์
2.2. ต่อทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ ร่วมกบั อปุ กรณ์อืน่ ๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. อธบิ ายความหมายและคุณลกั ษณะของอปุ กรณ์ ทรานดิวเซอร์ ประเภทตา่ งๆ
3.1.2. อธบิ ายความหมายและคุณลักษณะของอปุ กรณ์ เซนเซอร์ ประเภทต่างๆ
3.1.3. อธิบายการตอ่ วงจรใช้งาน เซนเซอร์แบบ 2 สาย และ แบบ 3 สาย
3.1.4. เลอื กใช้เซนเซอรไ์ ด้ถกู ต้องและเหมาะสมกับลักษณะงาน
3.2. ด้านทกั ษะ
3.2.1. ต่อทดสอบการทางานของ ทรานดวิ เซอร์และเซนเซอร์ เบ้ืองตน้ ได้
3.2.2. ต่อวงจรใช้งานทรานดวิ เซอร์และเซนเซอร์ รว่ มกบั อุปกรณ์อื่นได้
3.3. คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รติครผู ู้สอน
3.3.3. แตง่ กายเรียบร้อยถูกตอ้ งตามระเบยี บ
3.3.4. มีความรับผดิ ชอบ และทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้
3.3.5. มคี วามละเอยี ดรอบครอบ ถูกตอ้ งและปลอดภัย

4. เนอ้ื หาสาระ
4.1. หลักกอุปกรณ์ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอตุ สาหกรรม
4.2. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ อณุ หภมู ิ
4.3. ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ แสง
4.4. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ เสียง
4.5. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ แรงกล
4.6. ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ ระดับของเหลว
4.7. ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ สนามแมเ่ หล็ก

4.8. ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ ความชนื้
4.9. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ก๊าซ
4.10. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ความดนั
4.1. ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ความเร็วรอบ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1. การนาเขา้ ส่บู ทเรียน
5.1.1. ผู้สอนตง้ั คาถามเกีย่ วกับ ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอตุ สาหกรรมคอื อะไร
มหี ลักการทางาน อย่างไรบ้างพร้อมอธิบาย เหตผุ ลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นของหนว่ ยท่ี 4 เรื่อง ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์
ในงานอตุ สาหกรรม
5.2. การเรียนรู้
5.1.3. ผ้สู อนให้ผเู้ รยี นเปิด PowerPoint หนว่ ยท่ี 4. เรอื่ ง ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์
ในงานอตุ สาหกรรม และให้ผู้เรียนศึกษา PowerPoint และจดบนั ทึกเน้ือหาลงใน
สมุด
5.2.1. ผสู้ อนเปดิ โอกาส ใหผ้ ู้เรียนถามปัญหา และขอ้ สงสัยจากเนื้อหา โดยครเู ป็นผตู้ อบ
ปัญหาที่เกดิ ขึ้นระหว่างการเรียนการสอน
5.2.2. ผู้สอนให้ผ้เู รยี นทาใบงาน 5 เรื่อง ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ในงานอุตสาหกรรม

5.3. การสรุป
5.3.1. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรปุ เน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั
5.3.2. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 4.
5.3.3. ผสู้ อนเฉลย แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 4. ใบงานที่ 5.

5.4. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.4.1. ผู้สอนบันทกึ คะแนน แบบฝึกหัดท้ายบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
5.4.3. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์

6. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
6.1. พันธ์ศักด์ิ พุฒมานิตพงศ์ . อิเล็กทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม . นนทบุรี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ล็กทรอนกิ ส์ในงานอตุ สาหกรรม . ซีเอด็ ยูเคชนั่ . กรุงเทพ . 2542

6.3. PowerPoint หนว่ ยที่ 4 เร่อื ง ทรานดิวเซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอตุ สาหกรรม

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หนว่ ยที่ 3. เร่ือง ทรานดวิ เซอร์ และเซนเซอร์ ในงานอตุ สาหกรรม
7.2. ใบงานที่ 5 เรอ่ื ง ทรานดวิ เซอร์ และ เซนเซอร์ในงานอตุ สาหกรรม

8. บรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอ่ืน
มเี นอ้ื หารายวิชาสอดคล้องกับวชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อปุ กรณแ์ ละวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 กอ่ นเรียน แบบประเมินผลกอ่ นการเรียนรู้
9.2 ขณะเรียน แบบฝกึ หดั ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลังการเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 5
ชือ่ หน่วย ระบบควบคมุ ( Control System ) สอนครง้ั ท่ี 9 -11
ช่ือเรอื่ ง ระบบควบคมุ ( Control System ) ช่วั โมงรวม 15 ช.ม.
จานวนชว่ั โมง 15 ชม.

1. สาระสาคญั

การควบคมุ ( Control )
คอื การกระทาเพ่ือจดุ ประสงค์ที่จะใหไ้ ด้ผลการทางาน หรอื ระบบต่าง ๆ ให้มีคา่ ใกล้เคยี งหรือเท่ากับ

ค่าทกี่ าหนดให้มากที่สุดแม้นว่าสภาวะการทางาน หรือสภาพแวดล้อมจะเปลีย่ นแปลงไปกต็ าม ทั้งน้ี เพื่อให้
ไดผ้ ลผลติ ทม่ี ีคุณภาพดี
การควบคมุ ดว้ ยมือ (Manual Control)

เปน็ วธิ กี ารควบคุมที่ตอ้ งใช้มนุษย์เปน็ ผู้ตรวจสอบผลที่ปรากฏ (ทางด้านเอาทพ์ ตุ ) แล้วพิจารณา
เปรยี บเทียบกบั คา่ ทีก่ าหนด หรอื ไมแ่ ล้วจงึ ตัดสนิ ใจ ปรบั แตง่ ระบบหรือกระบวนการเพ่อื ใหไ้ ดค้ ่าสุดทา้ ยตามท่ี
กาหนดไว้

รปู ที่ 51.. การควบคุมดว้ ยมอื (Manual Control)

การควบคมุ อตั โนมัติ (Automatic Control)
เป็นวธิ กี ารควบคมุ ที่ตอ้ งไม่ใช้มนุษย์คอยควบคมุ ระบบ แตจ่ ะใหร้ ะบบทางานได้เองตามเง่ือนไขท่ี

กาหนดโดยอตั โนมตั ิและผล การทางานสดุ ท้ายจะไดค้ า่ ตามที่ตอ้ งการ แบง่ ได้ 2 ประเภทใหญ่ๆคอื
1. การควบคมุ แบบลปู เปดิ (Open Loop Control)
2. การควบคมุ แบบลปู ปิด ( Close Loop Control) หรือ การควบคุมแบบปอ้ นกลับ ( Feed Back
Control )

การแบง่ ประเภทของการควบคมุ อตั โนมัติ

รูปที่ 5.2. ประเภทของการควบคมุ อตั โนมตั ิ
2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. อธิบายการความหมายของระบบควบคุม
2.2. ความหมายของระบบควบคุมดว้ ยมอื
2.3. ความหมายของระบบควบคุมอัตโนมัติ
2.4. ตอ่ วงจรระบบควบคุมอตั โนมัติ
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. อธบิ ายความหมายและคณุ ลักษณะของระบบควบคุม (Control System)
3.1.2. อธิบายความหมายและคณุ ลักษณะของระบบควบคมุ อัตโนมตั ิ ( Automatic Control )
3.1.3. บอกขอ้ ดีและขอ้ เสีย ของระบบควบคุมอัตโนมตั ิ ( Automatic Control )
3.1.4. ยกตวั อยา่ งกระบวนการทางอุตสาหกรรมทใี่ ช้ ระบบระบบควบคุมอัตโนมัติ ( Automatic

Control )
3.2. ด้านทกั ษะ
3.2.1. ต่อตอ่ ตอ่ วงจรระบบควบคมุ อัตโนมัติ ( Automatic Control ) ตามแบบได้
3.2.2. ทดสอบการทางานของระบบควบคุมอตั โนมตั ิ ( Automatic Control )

3.3. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรียนตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบน้อมให้เกยี รติครผู สู้ อน
3.3.3. แตง่ กายเรียบร้อยถูกตอ้ งตามระเบียบ
3.3.4. มคี วามรบั ผิดชอบ และทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้
3.3.5. มีความละเอยี ดรอบครอบ ถกู ต้องและปลอดภยั

4. เนื้อหาสาระ
4.1. การควบคุม ( Control )
4.2. ระบบควบคมุ ด้วยมือ (Manual Control )
4.3. ระบบควบคมุ อตั โนมตั ิ ( Automatic Control )
4.4. ประเภทของการควบคมุ อัตโนมตั ิ
4.5. การควบคมุ แบบเรียงลาดบั
4.6. ตวั ควบคมุ และแบบการควบคุม ( Controller and Control Action )
4.7. ระบบควบคมุ กระบวนการ ( Process Control System)
4.8. ตวั อยา่ งวงจรประยกุ ตใ์ ช้งาน ระบบการควบคมุ แบบอัตโนมัตแิ บบต่าง ๆ

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเข้าส่บู ทเรียน
5.1.1. ผู้สอนต้ังคาถามเก่ยี วกบั ระบบควบคุม ( Control System )
คืออะไร มหี ลกั การทางาน อย่างไรบา้ งพร้อมอธิบาย เหตุผลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 5 เร่อื ง ระบบควบคุม
(Control System )
5.2. การเรียนรู้
5.1.3. ผู้สอนให้ผเู้ รียนเปิด PowerPoint หนว่ ยท่ี 5. เรือ่ ง ระบบควบคมุ และใหผ้ ู้เรียน
ศึกษา PowerPoint และจดบันทกึ เนอ้ื หาลงในสมุด
5.2.1. ผ้สู อนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเน้ือหา โดยครเู ป็นผตู้ อบ
ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นระหว่างการเรียนการสอน
5.2.2. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทาใบงาน 5 เรือ่ ง ระบบควบคุม

5.3. การสรปุ
5.3.1. ผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกันสรุปเน้อื หาทไ่ี ดเ้ รยี นใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
5.3.2. ผสู้ อนให้ผู้เรียนทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 5.

5.3.3. ผู้สอนเฉลย แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 5. ใบงานที่ 6.

5.4. การวัดผลและการประเมนิ ผล
5.4.1. ผสู้ อนบนั ทกึ คะแนน แบบฝกึ หัดทา้ ยบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
5.4.3. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์

6. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
6.1. พนั ธศ์ กั ด์ิ พุฒมานติ พงศ์ . อเิ ล็กทรอนิกสอ์ ุตสาหกรรม . นนทบรุ ี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ล็กทรอนิกส์ในงานอตุ สาหกรรม . ซีเอ็ดยูเคชั่น . กรงุ เทพ . 2542
6.3. PowerPoint หน่วยที่ 5 เรือ่ ง ระบบควบคมุ

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หน่วยท่ี 5. เรอื่ ง ระบบควบคมุ
7.2. ใบงานที่ 6 เร่อื ง ระบบควบคมุ

8. บูรณาการ/ความสมั พันธ์กับวิชาอื่น
มีเนื้อหารายวิชาสอดคลอ้ งกบั วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อปุ กรณ์และวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 ก่อนเรียน แบบประเมินผลก่อนการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงานการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขึ้นไป
9.3 หลงั เรยี น แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 6
ชื่อหนว่ ย เพาวเวอรอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ที่ 12 - 13
ชอื่ เรือ่ ง เพาวเวอรอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ช่วั โมงรวม 10 ช.ม.
จานวนชั่วโมง 10 ชม.

1. สาระสาคญั

ในระยะแรกน้นั วงจรอิเลก็ ทรอนกิ สก์ ำลังมีลักษณะกำรใช้งำนทสี่ ำคัญทำงดำ้ นกำรสื่อสำรด้วย
สญั ญำณควำมถ่ีสูงและทำงด้ำนกำรขยำยสญั ญำณ ตอ่ มำปี พ.ศ. 2490 จึงเรม่ิ มีกำรนำอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ไปใชใ้ นทำงอุตสำหกรรม โดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ ทำงด้ำนกำรควบคุมเคร่อื งจักรกลไฟฟ้ำ กำรคน้ พบสง่ิ ประดิษฐ์
สำรก่ึงตวั นำ เช่นทรำนซิสเตอร์และไทรสิ เตอร์ ซง่ึ มขี นำดเลก็ และมีควำมเชื่อถือที่สูงได้ทำให้วงกำรทำงดำ้ น
อิเลก็ ทรอนิกส์อตุ สำหกรรมได้พฒั นำไปอย่ำงรวดเร็ว และสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของอตุ สำหกรรม
ดำ้ นกำรควบคุมกระบวนกำรผลิตโดยอัตโนมัตไิ ดอ้ ย่ำงดี

นอกจำกจะใชใ้ นกำรสอ่ื สำรและกำรควบคุมแล้ว ประโยชน์ทสี่ ำคญั ของไฟฟำ้ กค็ อื กำรนำมำใชเ้ ปน็
พลังงำนวธิ ีกำรหน่ึงในกำรแปลงผันพลงั งำนไฟฟำ้ คือกำรใช้สวติ ซ์ กำรแปลงผันเช่นนีจ้ ะมปี ระสิทธภิ ำพทีส่ ูง
เพรำะกำลังกำรสญู เสียในสวิตซ์มกั มคี ่ำต่ำ เรำเคยใชร้ เี ลยก์ ลไฟฟำ้ เปน็ สวิตซ์ แต่สวติ ซเ์ ชน่ นท้ี ำงำนได้ดีท่ี
ควำมถต่ี ำ่ อันท่ีจริง

ไดโอดก็ทำหนำ้ ทีเ่ ป็นสวติ ซแ์ บบหนง่ึ แต่ทรำนซิสเตอร์และไทริสเตอร์สำมำรถทำหน้ำท่ีเปน็ สวติ ซ์ได้ดีกว่ำ
เพรำะสำมำรถควบคมุ ได้ดว้ ยวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ เรำเรียกสวิตซ์เช่นน้ีวำ่ สวติ ซส์ ถิต (Static Switch) และเรียก
วงจรแปลงผันพลังงำนท่ใี ช้สวิตซเ์ ชน่ นี้ว่ำวงจรแปลงผนั สถติ (Static Converter) ทง้ั น้ีโดยกำรเปรยี บเทยี บ
ควำมแตกต่ำงกบั รีเลยซ์ ึ่งเป็นสวติ ซท์ ่มี ีกำรเคลอ่ื นไหวของหนำ้ สัมผัสเม่อื เรำใช้วงจรอิเล็กทรอนกิ ส์เพอ่ื ควบคมุ
และขบั นำสวิตซ์ และวงจรทัง้ หมดสำมำรถแปลงผันพลังงำนไฟฟำ้

จำนวนมำก เรำจึงเรียกวงจรเชน่ นีว้ ่ำ “วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์กำลัง” อนึ่ง กำรใช้วงจรอิเล็กทรอนกิ สท์ ำใหม้ ี
ควำมสะดวกในกำรควบคุมพลังงำนไฟฟำ้ ทง้ั กำรควบคุมแบบวงรอบเปดิ (Open Loop) และ วงรอบปดิ
(Closed Loop)ดังน้นั จงึ กลำ่ วได้วำ่ อเิ ล็กทรอนิกสก์ ำลงั เกี่ยวข้องกบั อิเล็กทรอนกิ ส์ ไฟฟำ้ กำลงั และระบบ
ควบคุม

ดังรปู ท่ี 6.1.แสดงแผนภำพของระบบอิเล็กทรอนิกสก์ ำลัง ซ่ึงประกอบดว้ ย วงจรกำลงั วงจร
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และวงจรควบคุม

รปู ที่ 6.1.แสดงแผนภำพของระบบอิเล็กทรอนกิ สก์ ำลงั
2. สมรรถนะประจาหน่วย

2.1. อธบิ ำยกำรควำมหมำยของระบบควบคุม
2.2. ควำมหมำยของระบบควบคมุ ดว้ ยมอื
2.3. ควำมหมำยของระบบควบคมุ อัตโนมัติ
2.4. ต่อวงจรระบบควบคุมอตั โนมัติ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้
3.1.1. บอกคุณสมบตั แิ ละคุณลักษณะของอุปกรณก์ ลุม่ เพำเวอรอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์
3.1.2. บอกคณุ สมบตั ิ ของอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์กลุม่ ไทรรสิ เตอร์
3.1.3. ยกตัวอย่ำงกำรใชง้ ำน อุปกรณ์ ไทรริสเตอร์ และเพำเวอรอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์
3.2. ด้านทักษะ
3.2.1. ต่อวงจรควบคุมทใี่ ช้ อุปกรณ์ ไทรริสเตอร์ และเพำเวอรอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ตำมแบบได้
3.2.2. ทดสอบกำรทำงำนของวงจรควบคุมโดยใช้อุปกรณ์ไทรริสเตอร์ และเพำเวอร์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
3.3. คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
3.3.1. เขำ้ เรียนตรงเวลำ
3.3.2. คำรพนอบนอ้ มใหเ้ กยี รติครูผูส้ อน
3.3.3. แตง่ กำยเรียบรอ้ ยถูกตอ้ งตำมระเบียบ
3.3.4. มคี วำมรบั ผิดชอบ และทำงำนรว่ มกบั ผ้อู ่ืนได้
3.3.5. มคี วำมละเอยี ดรอบครอบ ถกู ต้องและปลอดภัย

4. เนอื้ หาสาระ
4.1. วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์กำลัง
4.2. ลักษณะและหน้ำท่ขี องวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์กำลงั
4.3. อปุ กรณ์สำรกงึ่ ตวั นำสำหรบั ไฟฟ้ำกำลั
4.4. วงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ - วงจรแปลงผันไฟตรง – ไฟตรง มชี ่ือเรยี กวำ่ วงจรชอปเปอร์
(Choppers)
4.5. วงจรแปลงผันไฟสลับ – ไฟตรง มชี ื่อเรยี กว่ำ วงจรเรยี งกระแส (Rectifiers)
4.6. วงจรเรียงกระแสควบคมุ (Controller Rectifiers) ฯลฯ
4.7. วงจรแปลงผันไฟตรง – ไฟสลับ มีชื่อเรียกว่ำ วงจรอินเวอร์เตอร์ (Inverter)
4.8. วงจรแปลงผนั ไฟสลับ – ไฟสลบั มีชอ่ื เรยี กว่ำ วงจรควบคุมแรงดนั ไฟสลบั (AC voltage
control)
4.9. วงจรควบคมุ คำ่ ไฟสลับไซโคลคอนเวอร์เตอร์ (Cycloconverters)

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเขา้ ส่บู ทเรยี น
5.1.1. ผูส้ อนตัง้ คำถำมเกย่ี วกบั เพาวเวอรอ์ ิเล็กทรอนิกส์
คืออะไร มีหลักกำรทำงำน อยำ่ งไรบ้ำงพร้อมอธิบำย เหตุผลประกอบ
5.1.2. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงค์กำรเรียนของหน่วยที่ 6 เรื่อง เพาวเวอร์อิเลก็ ทรอนิกส์
5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผู้สอนให้ผู้เรยี นเปิด PowerPoint หนว่ ยท่ี 6. เรือ่ ง เพาวเวอรอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ และ
ให้ผเู้ รยี นศึกษำ PowerPoint และจดบนั ทกึ เนอื้ หำลงในสมดุ
5.2.1. ผู้สอนเปิดโอกำส ให้ผูเ้ รียนถำมปญั หำ และขอ้ สงสัยจำกเนื้อหำ โดยครเู ป็นผ้ตู อบ
ปัญหำที่เกดิ ข้นึ ระหวำ่ งกำรเรยี นกำรสอน
5.2.2. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนทำใบงำน 7 เร่ือง เพาวเวอรอ์ ิเล็กทรอนิกส์

5.3. การสรปุ
5.3.1. ผูส้ อนและผู้เรียนรว่ มกันสรปุ เนื้อหำทีไ่ ด้เรียนให้มีควำมเข้ำใจในทิศทำงเดยี วกัน
5.3.2. ผูส้ อนให้ผ้เู รียนทำแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 6.
5.3.3. ผสู้ อนเฉลย แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6. ใบงำนท่ี 7.

5.4. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
5.4.1. ผูส้ อนบันทกึ คะแนน แบบฝึกหัดทำ้ ยบท และ ใบงำนกำรทดลอง
5.4.2. ประเมินพฤตกิ รรม โดยกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
5.4.3. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์

6. ส่ือการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
6.1. พันธศ์ กั ด์ิ พฒุ มำนิตพงศ์ . อิเล็กทรอนกิ สอ์ ตุ สำหกรรม . นนทบุรี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ล็กทรอนกิ สใ์ นงำนอตุ สำหกรรม . ซีเอ็ดยเู คชัน่ . กรงุ เทพ . 2542
6.3. PowerPoint หนว่ ยที่ 6 เรอื่ ง เพาวเวอร์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบควำมรู้หนว่ ยที่ 6. เรอ่ื ง เพาวเวอรอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์
7.2. ใบงำนท่ี 7 เร่อื ง เพาวเวอร์อเิ ลก็ ทรอนิกส์

8. บรู ณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับวิชาอนื่
มเี นือ้ หำรำยวชิ ำสอดคลอ้ งกับวชิ ำ ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อุปกรณแ์ ละวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

9. การวดั และประเมินผล
9.1 ก่อนเรยี น แบบประเมินผลก่อนกำรเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝกึ หดั ใบงำนกำรทดลอง ผ่ำนเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป
9.3 หลังเรียน แบบประเมนิ ผลหลังกำรเรยี นรู้ ผ่ำนเกณฑ์ 60 % ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรียนร้มู ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 7
ชื่อหนว่ ย การใชง้ าน PLC เบื้องต้น สอนครัง้ ท่ี 14 - 17
ชอื่ เร่ือง การใชง้ าน PLC เบอ้ื งตน้ ชวั่ โมงรวม 20 ช.ม.
จานวนชว่ั โมง 20 ชม.

1. สาระสาคัญ
PLC ยอ่ มาจากคาวา่ Programmable Logic Controllers ซ่ึงเป็นคอมพวิ เตอร์อุตสาหกรรมทใ่ี ช้ใน

การตรวจสอบสญั ญาณอินพตุ ตา่ งๆและสั่งการอยู่บนพนื้ ฐานของโปรแกรมหรอื ตรรกะเพอ่ื ใชใ้ นการควบคุม
(เปิด / ปดิ ) เอาท์พุทใหเ้ ครื่องจกั รทางานไดอ้ ยา่ งอตั โนมัติ ขา้ งลา่ งนี้ คือ ข้อดีและขอ้ เสียของการใช้ PLC
สาหรบั งานควบคุมอัตโนมัติ

1.1. ข้อดีของการควบคุมด้วย PLC
1.1.1. มีความยืดหยนุ่ สูง ใชใ้ นการควบคมุ ระบบต่าง ๆ ได้รวดเรว็ และง่าย
1.1.2. มคี วามสามารถดา้ นคานวณจึงใช้กบั งานที่ซับซ้อนได้
1.1.3. อปุ กรณม์ คี วามนา่ เชอ่ื ถอื สงู และมีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน
1.1.4. เปลย่ี นแปลงเงือ่ นไขการทางานไดง้ ่าย
1.1.5. ต้นทนุ ต่าสาหรบั ระบบที่ซบั ซ้อน
1.2. ข้อเสียของการควบคมุ ด้วย PLC
1.2.1. ต้องใช้เวลามากเกนิ ในการตอ่ สายไฟ
1.2.2. ยากในการทดแทนดว้ ยระบบใหม่
1.2.3. เมอื่ มปี ญั หาเกิดขนึ้ อาจใช้เวลาในการแก้ไขปญั หานาน และต้องใช้ผ้ทู ม่ี ีความ

เชย่ี วชาญ

1.2. ลอจกิ แลดเดอร์
ลอจกิ แลดเดอร์ คือ วิธีการสร้างโปรแกรมของ PLC ซ่งึ พฒั นามาจากวงจรรเี ลยแ์ บบดั้งเดิม ปจั ุ

บนั ระบบควบคมุ สมัยใหมย่ ังคงมรี เี ลยใ์ ช้งานอยู่ แต่ไม่ได้ใชส้ าหรับทาหน้าท่ีควบคมุ การทางานของ
เครื่องจกั รรีเลยเ์ ปน็ อุปกรณท์ ี่ใชส้ นามแม่เหลก็ เพ่ือควบคมุ การสับเปลยี่ นหรือตัดต่อวงจร ดงั แสดงในรูปที่
1.2 เมอ่ื จา่ ยแรงดันไฟเข้าที่คอล์ย กระแสไฟฟ้าท่ไี หลผ่านคอลย์ จะสร้างสนามแม่เหล็กซ่ึงมันจะดดู คาน
โลหะให้เคลื่อนที่และหน้าสัมผัสจะตอ่ กัน ถา้ หน้าสัมผัสต่อกนั ขณะจ่ายไฟเราเรยี กวา่ ปกตเิ ปดิ
(Normally Open) ถ้าหน้าสัมผัสต่อกนั ขณะยังไม่จ่ายไฟเราเรียกวา่ ปกตปิ ิด (Normally Closed) รีเลย์
มักจะวาดดว้ ยวงกลมเพ่ือแทนคอลย์ ส่วนหนา้ สัมผัสปกติเปิด (N.O.) จะใช้เส้นขนาน 2 เสน้ และ
หน้าสมั ผสั ปกติปิด (N.C.) จะใช้เสน้ ขนาน 2 เส้น พรอ้ มเส้นทะแยง 1 เสน้

1.3. การเขยี นโปรแกรม
PLC ยคุ แรกๆ จะเขียนโปรแกรมโดยอาศยั พื้นฐานของวงจรรเี ลย์ ซ่งึ วิธีการนที้ าใหไ้ ม่ต้องสอนช่าง
ไฟฟ้า ชา่ งเทคนคิ และวิศวกรในการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพวิ เตอร์ แต่ในปัจบุ ันวิธีการนก้ี ย็ ังคงใช้
กันอยู่ รูปที่ 1.6 แสดงตวั อยา่ งของลอจิกแลดเดอร์เมื่อเราต้องการแปลความหมายของไดอะแกรมนี้
ให้จินตนาการวา่ แหล่งจา่ ยไฟคือเส้นแนวต้งั ดา้ นซา้ ยมือ เรียกว่า ไลน์(line) สว่ นดา้ นขวา เรยี กว่า
นวิ ตรอน(Neutral) ในรปู จะมี 2 วงจร(Rung) และแต่ละวงจรประกอบดว้ ยอินพุต(เสน้ ต้ัง 2 เส้น) และ
เอาท์พตุ (วงกลม)ถ้าอนิ พุตเปดิ หรือปิดวงจร ไฟจะสามารถไหลจาก Line ผ่านอินพุตและจ่ายไฟให้กบั
เอาทพ์ ุตและครบวงจรท่ีนวิ ตรอน อนิ พุตอาจมาจากเซ็นเซอร์ สวิทซ์ เป็นต้น เอาทพ์ ุตจะเป็นอุปกรณ์
ภายนอก PLC ท่ตี อ้ งการสง่ั ให้เปดิ หรือปดิ เชน่ หลอดไฟ หรอื มอเตอร์
ในวงจรที่ 1 มีหน้าสมั ผสั A (NO) และ B (NC) ตามลาดับถ้าอนิ พตุ A ทางาน (ON) และอินพุต B ไม่
ทางาน (OFF) จะทาให้ไฟสามารถไหลผา่ นไปทเี่ อาท์พุตและส่งั ให้อุปกรณ์ที่ต่อกบั เอาทพ์ ุตทางาน แต่
ถ้าเงือ่ นไขเปลยี่ นเปน็ อย่างอื่น เอาท์พตุ X จะไม่ทางาน (OFF)

รปู 7.1. ไดอะแกรมแลดเดอรอ์ ยา่ งงา่ ย

วงจรที่ 2 ในรูปที่ 7.1. จะดซู ับซ้อนกวา่ ซ่งึ จะมอี นิ พตุ หลายตัวท่ตี ้องทางานรว่ มกนั แล้วจึงทาให้
กระแสไฟไหลไปยงั เอาทพ์ ุต Y ได้ ทีด่ ้านซา้ ยมอื สุดไฟจะไหลผ่านวงจร C และ D ไดถ้ า้ C ไมท่ างาน(OFF) และ
D ทางาน(ON) นอกจากนนั้ ไฟยังสามารถไหลผ่านวงจร E กบั F ได้ถ้าอินพตุ ทง้ั สองทางาน ซงึ่ จะทาให้ไฟไหล
ผ่านได้คร่งึ วงจร และถา้ G หรอื H ทางาน(ON) ไฟจะไหลไปท่ีเอาทพ์ ุต Y ได้

2. สมรรถนะประจาหน่วย
2.1. อธบิ ายการทางานของ PLC
2.2. เขยี นโปรแกรมแลดเดอรข์ อง PLC
2.3. ตอ่ ใช้งาน PLC ร่วมกบั อุปกรณ์ อินพุตและเอาท์พุตได้
2.4. ทดสอบการทางานของ PLC

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1. บอกคณุ ลกั ษณะและหลกั การทางาน ของ PLC
3.1.2. บอกสว่ นประกอบและโครงสรา้ งของ PLC
3.1.3. อธิบายวงจรสว่ นอนิ พตุ และเอาทพ์ ุต ประเภทตา่ งๆ ของ PLC
3.1.4. อธบิ าย แลดเดอร์ไดอะแกรมได้
3.1.5. ยกตัวอย่างการนาเอา PLC มาใชง้ านกบั ระบบควบคุมอัตโนมตั ิในระบบอตุ สาหกรรม
3.1.6. บอกขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของ PLC ได้
3.2. ดา้ นทกั ษะ
3.2.1. ต่อใชง้ าน PLC รว่ มกับอปุ กรณ์ภายนอก ตามแบบได้
3.2.2. ต่อใชง้ าน PLC ร่วมกับอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พุต ประเภทต่างๆ ได้
3.2.3. เขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมการทางานของ PLC รว่ มกับอปุ กรณอ์ ินพตุ และเอาทพ์ ุตได้
3.2.4. ประยกุ ต์ PLC กับระบบควบคมุ อัตโนมตั ิได้
3.3. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
3.3.1. เขา้ เรยี นตรงเวลา
3.3.2. คารพนอบน้อมใหเ้ กียรติครูผูส้ อน
3.3.3. แตง่ กายเรยี บร้อยถูกตอ้ งตามระเบยี บ
3.3.4. มีความรบั ผิดชอบ และทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้
3.3.5. มคี วามละเอียดรอบครอบ ถกู ต้องและปลอดภัย

4. เนือ้ หาสาระ
4.1. ความหมายของ PLC
4.2. ความแตกต่างระหว่าง PLC กับ Relay
4.3. PLC แบบ Compact Type
4.4. PLC แบบ Block Type
4.5. ส่วนประกอบหลักของ PLC
4.6. อุปกรณอ์ นิ พตุ (Input Unit)
4.7. อปุ กรณ์เอาต์พุต (OUTPUT UNIT)
4.8. อุปกรณ์สาหรบั การโปรแกรม
4.9. การเขียนคาส่ังใหก้ ับ PLC

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1. การนาเข้าสู่บทเรยี น
5.1.1. ผสู้ อนตง้ั คาถามเกีย่ วกับ PLCคืออะไร มหี ลกั การทางาน อย่างไรบา้ งพร้อมอธบิ าย
เหตุผลประกอบ
5.1.2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นของหนว่ ยที่ 7 เรื่องการใชง้ าน PLC เบือ้ งต้น
5.2. การเรยี นรู้
5.2.1. ผู้สอนให้ผ้เู รียนเปดิ PowerPoint หน่วยท่ี 7. เร่ือง เร่ืองการใช้งาน PLC เบือ้ งต้น
และใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษา PowerPoint และจดบนั ทึกเนอ้ื หาลงในสมุด
5.2.1. ผู้สอนเปดิ โอกาส ใหผ้ ู้เรยี นถามปญั หา และขอ้ สงสัยจากเน้อื หา โดยครเู ปน็ ผู้ตอบ
ปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ระหวา่ งการเรียนการสอน
5.2.2. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทาใบงาน 8 เรอื่ ง เรอื่ งการใชง้ าน PLC เบื้องต้น

5.3. การสรุป
5.3.1. ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกันสรุปเนื้อหาทไี่ ด้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน
5.3.2. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 7.
5.3.3. ผสู้ อนเฉลย แบบฝึกหดั หน่วยที่ 7. ใบงานท่ี 8.

5.4. การวดั ผลและการประเมินผล
5.4.1. ผู้สอนบนั ทกึ คะแนน แบบฝึกหัดทา้ ยบท และ ใบงานการทดลอง
5.4.2. ประเมินพฤติกรรม โดยการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
5.4.3. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์

6. ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
6.1. พนั ธศ์ กั ดิ์ พฒุ มานิตพงศ์ . อเิ ลก็ ทรอนิกส์อตุ สาหกรรม . นนทบุรี . 2538
6.2. Stephen L.Herman . อเิ ล็กทรอนิกสใ์ นงานอตุ สาหกรรม . ซีเอ็ดยเู คชั่น . กรงุ เทพ . 2542
6.3. PowerPoint หน่วยท่ี 7 เรอื่ ง การใช้งาน PLC เบอื้ งต้น

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)
7.1. ใบความรู้หน่วยท่ี 7. เร่ืองการใช้งาน PLC เบือ้ งต้น
7.2. ใบงานที่ 8 เรอื่ งการใชง้ าน PLC เบ้อื งต้น

8. บรู ณาการ/ความสมั พันธก์ ับวิชาอ่ืน
มเี น้อื หารายวิชาสอดคล้องกบั วชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ , อุปกรณแ์ ละวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์

9. การวัดและประเมินผล
9.1 กอ่ นเรียน แบบประเมนิ ผลกอ่ นการเรียนรู้
9.2 ขณะเรยี น แบบฝึกหัด ใบงานการทดลอง ผ่านเกณฑ์ 60 % ข้ึนไป
9.3 หลังเรยี น แบบประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ผา่ นเกณฑ์ 60 % ข้นึ ไป