Supervisory switch ทำหน้าที่

      7.7  Isolator Module จะเป็นโมดูลระบุตำแหน่ง แบบป้องกันการลัดวงจร เพื่อใช้ป้องกันการลัดวงจรภายในลูปที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ทั้งหมดให้ทำงานร่วมกัน ใช้            สำหรับป้องกันการลัดวงจรของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อใยลูปเดียวกัน จากอุปกรณ์ตรงบริเวณที่เกิดการลัดวงจร โดยระบบและอุปกรณ์อื่นๆ ในลูปเดียวกัน ก็ยัง              คงทำงานได้ตามปกติ (Short Circuit Isolator)

การสลายตัวเนื่องจากความร้อนของวัสดุที่ไหม้ไฟได้ จะเกิดอนุภาคเล็ก ๆ จำนวนมาก ซึ่งอนุภาคเหล่านี้มีทั้งอนุภาคของแข็งและอนุภาคของเหลว ซึ่งประกอบด้วย คาร์บอนซึ่งยังไม่ไหม้ไฟ ไอน้ำ และก๊าซต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นด้วยการสลายตัวเนื่องจากความร้อนอนุภาคที่ไหม้ไฟเหล่านี้ ในระยะเริ่มต้นจะมีขนาดเล็กมาก น้อยกว่า 1 ไมครอน (หนึ่งในล้านของเมตร) ซึ่งตาของมนุษย์โดยทั่วไปไม่อาจมองเห็นอนุภาคที่เล็กกว่า 5 ไมครอนได้ดังนั้นการเกิดการเผาไหม้ในระยะเริ่มต้นนี้จึงยังมองไม่เห็น

2. ระยะเกิดเป็นควัน

Supervisory switch ทำหน้าที่

ถ้าเพลิงที่เกิดในเชื้อเพลิงที่เป็นของแข่งยังคงดำเนินต่อไป มันจะถึงระยะที่เกิดเป็นควันขึ้น การเผาไหม้จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดซึ่งทั้งปริมาณและมวลสารของอนุภาครวมตัวกันเพิ่มขึ้นจนเกิดเป็นควันที่มองเห็นได้ ความร้อนที่ออกมาจะเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยให้การลุกไหม้ดำเนินติดต่อไปได้เอง

3. ระยะเกิดเปลวไฟ

Supervisory switch ทำหน้าที่

ระยะนี้ปริมาณความร้อนมากพอที่จะจุดก๊าซ และอนุภาคที่ยังไม่ไหม้ไฟซึ่งเกิดจากการสลายตัวเนื่องจากความร้อนให้ลุกไหม้ขึ้น เมื่อไฟเข้ามาถึงระยะเกิดเปลวไฟแล้ว มันจะเกิดพลังงานพอเพียงที่จะทำให้เกิดการลุกไหม้ต่อไปได้ด้วยตัวของมันเอง และความร้อนจะสูงขึ้นตราบใดที่ยังมีเชื้อเพลิง ออกซิเจน และอุณภูมิสูงกว่าจุดติดไฟของเชื้อเพลิงนั้นอยู่

4. ระยะเกิดความร้อนสูง

Supervisory switch ทำหน้าที่

ระยะนี้เป็นระยะสุดท้ายของเพลิง เป็นช่วงที่เกิดความร้อนสูงตามมาอย่างรวดเร็วถ้าเพลิงลุกลามขึ้นมาถึงขั้นนี้จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมาย และอยากที่จะดับลงได้

ส่วนประกอบหลัก ๆ ของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย

ส่วนประกอบหลัก ๆ ของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย

1. ตู้ควบคุม (Control Panel)

    • ชุดจ่ายไฟ (Power Supply Unit)
    • ชุดสำรองไฟ (Batterry Unit)

2. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices)

3. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ (Notification Appliance Devices, NAC)

4. อุปกรณ์แยกแจ้งสัญญาณ (Graphic Annunciator)

5. อุปกรณ์เสริม (Auxiliary Devices)

Supervisory switch ทำหน้าที่

1. ตู้ควบคุม (Control Panel)

• ระบบการแจ้งเหตุเป็นโซน (Conventional System)
• ระบบการแจ้งเหตุเป็นจุด (Addressable System)

ส่วนประกอบที่สำคัญ

• CPU
• ชุดอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices)
• ชุดอุปกรณ์แจ้งสัญญาณ (Notification Appliance Devices, NAC)

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

Supervisory switch ทำหน้าที่

Supervisory switch ทำหน้าที่

• ปุ่มการควบคุมการทำงานต่าง ๆ เบื้องต้น เช่น

   - ปุ่มรับทราบเหตุการณ์ (Acknowledge)
   - ปุ่มหยุดเสียงการแจ้งเหตุ (Silence)
   - ปุ่มเคลียร์เหตุการณ์ต่างๆ (Reset)
   - ฯลฯ

• ชุดสำรองไฟ (Battery Unit)

   - สามารถจ่ายไฟให้ระบบในสถาวะปกติได้ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง และในสถาวะแจ้งเหตุได้ไม่น้อยกว่า 15 นาที

2. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices)

2.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณแบบมือดึงจากบุคคล (Manual Pull Station)

• แบบทุบกระจก (Break Glass)

Supervisory switch ทำหน้าที่

• แบบมือดึงจากบุคคล (Manual Pull Station)

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

- Single Action
- Double Action

การต่อวงจร การใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

2.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติ (Detectors)

• อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)

Supervisory switch ทำหน้าที่
 

1. ชนิดจำกัดอุณหภูมิ (Fixed Temperature)

- อุณหภูมิจำกัดอยู่ที่ 135’ F และ 200’ F
- สถานที่ติดตั้ง เช่น ในห้องครัวหรือห้องเครื่อง ห้องหม้อไอน้ำ (Boiler Room) เป็นต้น

Supervisory switch ทำหน้าที่

2. ชนิดคอมบิเนชั่น (Combination)

- ทำงานเมื่อตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่มี อัตราการเปลี่ยนแปลงเกินที่กำหนด & ทำงานที่อุณหภูมิ จำกัด (Rate of Rise & Fixed Temperature) อุปกรณ์จะทำงานที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปในอัตรา 15 ํF (8 ํC) ต่อนาที
- อุณหภูมิอยู่ที่ 135 ํF และ 200 ํF

ระยะการติดตั้ง

- ระยะห่างไม่เกิน 7 เมตร และ 9 เมตร ในบริเวณทางเดินทีมีความกว้างไม่เกิน 3.6 เมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 4 เมตร
- ระยะห่างการติดตั้งระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)กับเพดานหรือหลังคา ต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 15 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 100 มิลลิเมตร

บริเวณใต้เพดาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

บริเวณใต้หลังคา

Supervisory switch ทำหน้าที่

บริเวณหลังคาที่การระบายอากาศ

Supervisory switch ทำหน้าที่

การต่อวงจรการใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector)

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

1. อุปกรณ์ตรวจจับควันแบบ Photoelectric

"สามารถตรวจจับควันที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ที่เกิดจากการลุกไหม้ของวัถตุที่คุตัวก่อนก่อนลุกเป็นไฟได้ช้า" เช่น การเผาไหม้สายไฟ พีวีซี เป็นต้น

ชนิดทีมีการทำงานด้วยการบังของแสง

Supervisory switch ทำหน้าที่

รูปที่ 1 แสดงแหล่งของแสง ชนิดการบังแสง

Supervisory switch ทำหน้าที่

รูปที่ 2 แสดงการบังของแสง

ชนิดทีมีการทำงานด้วยการการหักเหของแสง

Supervisory switch ทำหน้าที่

รูปที่ 3 แสดงแหล่งของแสง ชนิดการหักเหของแสง

Supervisory switch ทำหน้าที่

รูปที่ 4 แสดงการหักเหของแสง

ระยะการติดตั้ง

- ระยะห่างไม่เกิน 9 เมตร
- และระยะห่าง 12 เมตร ในบริเวณทางเดินทีมีความกว้างไม่ เกิน 3.6 เมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 4 เมตร
- เพดานหรือหลังคา ต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 4 เมตร
- ระยะห่างการติดตั้งระหว่างอุปกรณ์กับเพดานหรือหลังคา ต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 4 เมตร
- ถ้าเกิน 4 เมตรต้องดูมาตรฐาน แต่ระยะห่างจะไม่เกิน 2.70 เมตร ที่ความสูง 10.50 เมตร

บริเวณใต้เพดาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

บริเวณใต้หลังคา

Supervisory switch ทำหน้าที่

บริเวณหลังคาที่การระบายอากาศ

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

การต่อวงจร การใช้งาน

ชนิดการเดินสายวงจรของอุปกรณ์ตรวจจับควันจะมีอยู่ 2 ชนิด

   • ชนิด 2 สาย (2-wire Smoke Detector) จำนวน Smoke จะขึ้นกับพิกัดกระแสภายในโซน

   • ชนิด 4 สาย (4-wire Smoke Detector) จำนวน Smoke จะขึ้นกับพิกัดกระแสของ power supply

"สามารถเดินสายวงจรของระบบได้ทั้งแบบ 2 สาย (Class B) และแบบ 4 สาย (Class A)"

ชนิด 2 สาย (2-wire Smoke Detector)
แบบ Class B

Supervisory switch ทำหน้าที่

ชนิด 2 สาย (2-wire Smoke Detector)
แบบ Class A

Supervisory switch ทำหน้าที่

ชนิด 4 สาย (4-wire Smoke Detector)
แบบ Class B

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจจับควัน แบบลำแสง (Projected Beam Detector)

Supervisory switch ทำหน้าที่

• เป็นอุปกรณ์ตรวจจับควัน ชนิดการบังแสง ประกอบไปด้วย
   - อุปกรณ์ที่เป็นตัวรับ (Receiver)
   - และอุปกรณ์ที่เป็นตัวส่ง (Transmitter)

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

ระยะการติดตั้ง

- ระยะห่างการติดตั้งระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับควันแบบลำแสงแต่ละตัว ต้องมีระยะห่างไม่เกิน 10-14 เมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 8 เมตร
- ระยะห่างการติดตั้งระหว่างอุปกรณ์ กับเพดานหรือหลังคา ต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 8 เมตร
- แต่ถ้าความสูงเกิน 8 เมตรต้องดูระยะห่างของเพดานจากมาตรฐานการติดตั้ง แต่ระยะห่างจะไม่เกิน 7.50 เมตร ที่ความสูง 25 เมตร

Supervisory switch ทำหน้าที่

Supervisory switch ทำหน้าที่

การต่อวงจร การใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจจับควัน แบบใช้ในท่อลม (Duct Smoke Detector)

Supervisory switch ทำหน้าที่

อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดนี้จะเป็นชนิด Photoelectric

ระยะการติดตั้ง

Supervisory switch ทำหน้าที่
Supervisory switch ทำหน้าที่

การต่อวงจร การใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector)

เป็นอุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟในขณะทีเกิดเหตุเพลิงไหม้ มักจะเอาไว้ป้องกันในบริเวณที่มีเชื้อเพลิงชนิดที่เกิดการ ลุกไหม้อย่างรวดเร็วและไม่เกิดควัน แต่จะเกิดเปลวไฟขึ้นทันที

Supervisory switch ทำหน้าที่

"โดยทั่วไปในการเกิดเพลิงไหม้จะมีเปลวไฟเกิดขึ้นส่วนมากเปลวไฟ ที่เกิดขึ้นจะมีการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าทีมีรังสีอุลตราไวโอเลต (Ultraviolet) และรังสีอินฟาเรด (Infrared) ออกมา" จึงสามารถแบ่งอุปกรณ์ตรวจจับเป็น 2 ชนิด คือ

1. ชนิดตรวจจับแสงที่เป็นแสงอินฟาเรด (Infrared)

Supervisory switch ทำหน้าที่

เชื่อเพลิงที่แผ่แสงที่เป็นแสงอินฟาเรด (Infrared) มาก เช่น การลุกไหม้ของน้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น

2. ชนิดตรวจจับแสงที่เป็นแสงอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet)

Supervisory switch ทำหน้าที่

เชื่อเพลิงที่แผ่แสงที่เป็นแสงอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) มาก เช่น การลุกไหม้ของก๊าซ น้ำมันก๊าด สารทำละลาย หรือการเชื่อมโลหะ เป็นต้น

ระยะการติดตั้ง

ระยะห่างระหว่างจุดกำเนิดไฟถึงอุปกรณ์ตรวจจับ มีผลต่อความเข็มของการแผ่รังสี โดย ความเข็มของรังสีจะลดลงในปริมาณที่ผกผันของระยะห่างยกกำลังสองโดยประมาณ นั้นคือถ้าระยะห่างเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ความเข็มของการแผ่รังสีจากจุดกำเนิดไฟที่สามารถทำให้อุปกรณ์ตรวจจับทำงานได้ จะต้องมีความเข็มมากขึ้นถึง 4 เท่าจากเดิม

การต่อวงจร การใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจสอบน้ำไหล (Water Flow switch) และ ตรวจสอบสถานะของวาล์วน้ำ (Supervisory Switch)

Supervisory switch ทำหน้าที่

อุปกรณ์ตรวจสอบน้ำไหล (Water Flow switch)

จะติดตั้งอยู่ที่ท่อ ดับเพลิงของแต่ละชั้นตรวจสอบการไหลของน้ำในขณะที่ระบบสปริงเกลอร์ ทำงาน น้ำจะไหลผ่านอุปกรณ์ ทำให้ใบพัดเคลื่อนที่ หน้าคอนเทค (NO, N) ที่อยู่ด้านบนอุปกรณ์จะเปลี่ยนสถานะ ซึ่งจะไปต่อวงจรไปยังระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภัย

Supervisory switch ทำหน้าที่

อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะของวาล์วน้ำ (Supervisory Switch)

จะติดตั้งที่อยู่ที่ตัววาล์ว ทำหน้าที่ตรวจสอบสถานะของวาล์วน้ำว่า เปิด หรือ ปิด อยู่ ขึ้นอยู่กับความต้องการว่าจะตรวจสอบในสถานะใด

การต่อวงจร การใช้งาน

Water Flow switch

Supervisory switch ทำหน้าที่

Supervisory Switch

Supervisory switch ทำหน้าที่

• อุปกรณ์ตรวจจับชนิดป้องกันการระเบิด ( Explosion-proof )

Supervisory switch ทำหน้าที่

Smoke detector

Supervisory switch ทำหน้าที่

Manual pull station

Supervisory switch ทำหน้าที่

Heat detector

Supervisory switch ทำหน้าที่

Alarm Bell

3. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ (Notification Appliance Devices)

Supervisory switch ทำหน้าที่

เป็นอุปกรณ์เพื่อส่งเสียงแจ้งเหตุ มีการแจ้งเป็นเสียงกระดิ่ง (Bell), เสียงและแสง (Horn & Strobe)

ส่วนการแจ้งเป็นเสียงประกาศด้วยลำโพง (Speaker) จะต้องมีระบบขยายเสียงแยกออกไปอีกระบบหนึ่ง แต่ต้องทำงานสัมพันธ์กับระบบการตรวจจับด้วย

ระยะการติดตั้ง

- ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์แจ้งเหตุต้องไม่เกิน 30 เมตร
- ต้องมีระดับความดังของเสียงอย่างน้อย 85 Db.

การต่อวงจร การใช้งาน

Supervisory switch ทำหน้าที่

4. อุปกรณ์แยกแจ้งสัญญาณ (Graphic Annunciator)

Supervisory switch ทำหน้าที่

เป็นอุปกรณ์ทีมีไว้เพื่อดูจุดเกิดเหตุภายในอาคาร เพื่อบอกตำแหน่ง หรือจุดเกิดเหตุได้อย่างรวดเร็ว

ถ้าระบบเป็นระบบการแจ้งเหตุเป็นจุด ( Addressable System) อาจจะแสดงเป็น Graphic Software บน คอมพิวเตอร์ก็ได้

อุปกรณ์เริ่มสัญญาณมีอะไรบ้าง

3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อัตโนมัติที่มีปฎิกิริยาไวต่อสภาวะตามระยะต่างๆ ของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน(Smoke Detector) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน(Heat Detector) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ(Flame Detector) อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส (Gas Detector)

Fire Alarm ทำงานยังไง

ระบบ Fire Alarm ประกอบด้วยอุปกรณ์อะไรบ้าง ระบบการทำงานของอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ โดยเริ่มที่อุปกรณ์ตรวจจับที่มีทั้งตรวจจับควันไฟ และตรวจจับความร้อน ก่อนที่จะส่งสัญญาณต่อไปยังอุปกรณ์ควบคุมการทำงานหลักเพื่อเปิดการทำงานของสัญญาณแจ้งเตือนภัยให้ผู้ที่อยู่ในอาคารรับรู้ถึงเหตุเพลิงไหม้และอพยพหนีไฟออกมาได้อย่างรวดเร็ว

ระบบ Fire Alarm ใช้สายอะไร

ใช้สายอะไรในการเดินสายระบบ Fire Alarm สายทองแดงหุ้มฉนวนเอ็กซ์แอลพีอี (XLPE) หรือฉนวนด้านเปลวเพลิงอื่น ๆ สายทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซีตาม มอก.11-2531. สายทนไฟตามาตรฐาน IEC 331. สายทนไฟตามมาตรฐาน ฺBS6387.

Alarm Valve คืออะไร

ชุดวาล์วสัญญาณ (Alarm Valve, Alarm Check Valve) จะทำหน้าที่ครอบคลุมการแจ้งสัญญาณทางกลตามพื้นที่ครอบครอง ดังนี้ สำหรับ พื้นที่ครอบครองประเภทอันตรายน้อย และอันตรายปานกลาง วาล์สัญญาณ (Alarm Valve) จะครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4,831 ตรม. สำหรับ พื้นที่ครอบครองประเภทอันตรายมาก วาล์วสัญญาณ จะครอบคลุมพื้นที่ไม่เกิน 3,716 ตรม.